DioxiN Laboratoryสถาบนั ไดออกซนิ แหง ชาติ
Welcome จัดทำ� โดย : กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสิ่งแวดล้อม สถาบันไดออกซินแห่งชาติ พิมพ์ครง้ั ท่ี 2 : กรกฎาคม 2557 จำ� นวน 4,000 เล่ม กรมส่งเสริมคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม สถาบันไดออกซนิ แหง่ ชาติ เทคโนธานี ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท:์ 02-5778400 ต่อ 5115, 5203, 02-5774182-4 ตอ่ 1224 National Institute of dioxins (Thailand), Technopolis, Tambon Klong-5, Amphoe Klong Luang, Pathumthani 12120 Tel: 02-5778400 Ext. 5115, 5203, 02-5774182-4 Ext. 1224
ถาม-ตอบปัญหาไดออกซนิ Q : ไดออกซินคอื อะไรและมคี วามสำ� คญั อยา่ งไร? A : ไดออกซิน คือ สารอันตรายที่ได้รับพิจารณาเป็นสารอันตรายช้ันที่ 1 ซึ่งหมายถึงเป็นสาร ที่มีความเป็นพิษสูงที่สุด และเป็นสารก่อมะเร็ง สารไดออกซินมีผลต่อสุขภาพและพันธุกรรม มนุษย์และเป็นสารที่สลายตัวยากมีความคงทนยาวนานในสิ่งแวดล้อม สามารถปนเปื้อน สู่บรรยากาศได้ สารนี้สามารถเคล่ือนย้ายไปได้ระยะทางไกลมาก จากอากาศสู่ดิน จากดิน สนู่ ำ�้ โดยการชะล้าง หรอื จากดนิ สู่พชื และเข้าสู่ร่างกายมนษุ ย์และสตั ว์ในทส่ี ดุ Q : ไดออกซินมาจากไหน? A : ไดออกซนิ มาจากแหลง่ ก�ำเนดิ หลัก ดงั นี้ 1. เกดิ จากการเผาไหม้ • จากการเผาไหม้ตา่ งๆ ทมี่ ขี ยะพลาสติกปนอยู่ • จากเตาเผาทอี่ ุณหภูมิ ต�ำ่ กวา่ 800 องศาเซลเซยี ส • จากเตาเผาขยะชมุ ชน ขยะติดเชอ้ื หรือเตาเผา ทใี่ ช้ขยะมาเปน็ เชือ้ เพลงิ • การเผาในที่โล่ง ซึง่ เปน็ พืน้ ที่ ท่เี คยใชส้ ารกำ� จัดศัตรูพืชท่ีมีคลอรนี ปนอยู่ 2. เกิดจากการระเบดิ ของภูเขาไฟ 3. เกิดจากไฟไหม้ปา่ 4. เกดิ จากโรงงานหลอมโลหะ 5. เกดิ จากกระบวนการผลิตสารเคมี 6. เกิดจากกระบวนการทางชีวภาพ เช่น การย่อยสลายสาร chlorinated phenolic compounds ของไมโครออร์แกนิซึม และจากปฏิกิริยาโฟโตไลซีสของสารกลุ่ม chlorinated phenolic compounds 7. ปลดปล่อยมาจากดิน ตะกอนดนิ และพืชผักตา่ งๆ ทีป่ นเปื้อนสารไดออกซิน 2
Q : ไดออกซนิ เข้าสรู่ ่างกายมนษุ ยไ์ ด้อยา่ งไร? A : ไดออกซนิ เปน็ สารทพ่ี บได้ในส่งิ แวดล้อมทัว่ ไป (ดิน น้�ำ อากาศ ตะกอนดิน ฯลฯ) และละลาย ได้ดีในไขมันจึงสะสมได้ในสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะอย่างย่ิงในสัตว์ซ่ึงมีไขมันเป็นส่วนประกอบ มากกว่าพืช เมื่อมนุษย์บริโภคพืชและสัตว์ก็จะได้รับสารน้ีด้วย ปริมาณของสารท่ีมนุษย์ได้รับ แต่ละวันจึงข้ึนอยู่กับชนิดของอาหารท่ีแต่ละคนบริโภคและปริมาณของสารไดออกซิน ท่ีปะปน อยูใ่ นอาหารแต่ละชนดิ อาหารทีม่ ีการปนเป้ือนมากคอื เนอื้ ผลิตภัณฑ์นม ปลา ไข่ ผักและผลไม้ ตามลำ� ดบั นอกจากนม้ี นุษย์ยงั สามารถรับสารนี้จากอากาศและนำ้� ไดอ้ ีกทางหน่งึ ดว้ ย Q : ความเป็นพิษของสารไดออกซินคืออะไร? A : ไดออกซิน ไม่ท�ำให้เกิดอาการพิษหรือตายอย่างทันทีแต่อาการจะค่อยๆ เกิดและเพ่ิม ความรุนแรงจนถึงตายได้ อาการเฉียบพลันที่ปรากฏ คือ ท�ำให้เกิดโรคผิวหนังท่ีเรียกว่า “Chloracne” คือมีผิวหนังขึ้นเป็นสิวหัวด�ำ มีถุงสีน้�ำตาลอมเหลืองของผิวหนังบริเวณ หลังใบหู ขอบตา หลัง ไหล่ และบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ อาจมีขนข้ึนในบริเวณที่ปกติ จะไม่มีข้ึน ผิวหนังมีสีเข้มขึ้น สีของเล็บเปลี่ยนเป็นสีน้�ำตาล เยื่อบุตาอักเสบและมีข้ีตา มรี ายงานการเกิดอาการ “Chloracne” นใี้ นคนท่ีอยูใ่ นบรเิ วณทีไ่ ด้รบั การปนเปอื้ น ไดออกซิน ที่อิตาลี ไต้หวนั และญี่ปุ่น โดยทว่ั ไปแลว้ เราสามารถแบง่ ความเปน็ พษิ ของสารไดออกซนิ ได้ ดงั น้ี • พิษเรอื้ รัง ท�ำให้น้�ำหนักตัวลดลง เกิดความผิดปกติที่ตับ เซลล์ตับ ตาย และเกิดอาการโรคผวิ หนงั อักเสบ • การเปน็ สารกอ่ มะเร็ง สถาบันวิจัยมะเร็งระหว่างชาติจัดให้ สารไดออกซินเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ จากข้อมูลด้านกลไกของการเกิดมะเร็ง พบว่าสารไดออกซิน ไม่ใช่สารก่อเซลล์มะเร็ง โดยตรง (tumor initiator) หรือถ้าเป็นกม็ ีฤทธ์เิ พียง เล็กน้อยเท่านั้น แต่เป็นสารสนับสนุนการเกิดมะเร็ง (tumor promotor) ทมี่ คี วามรุนแรงมากทสี่ ดุ 3
ถาม-ตอบปัญหาไดออกซนิ • ความเป็นพษิ ต่อระบบประสาท มีรายงานว่าเกิดโรคระบบประสาทในคนงานที่ได้รับสารนี้จากการหกรดหรือปนเปื้อนใน อตุ สาหกรรม โดยมอี าการกลา้ มเน้อื มอื เส่อื มและมอี าการทางระบบประสาท เช่น การสญู เสีย ความรับร้บู นเส้นประสาท ปลายมอื และปลายเท้าออ่ นเปล้ยี เปน็ ตน้ • ความเป็นพิษตอ่ ภูมิคุ้มกัน การศึกษาทางระบาดวิทยาของคนพบว่ามีการเปล่ียนแปลงของระดับภูมิคุ้มกันบางชนิด ในบางกลุ่มคนที่ ได้รับสารไดออกซินจากอุบัติการณ์การปนเปื้อน เช่น ที่อิตาลีและท่ีรัฐมิสซูร่ี สหรัฐอเมริกา • ความผิดปกตติ อ่ การสบื พันธุ์ เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนในกระแสเลือดและเกิดความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์ ของสัตว์เพศผู้และเพศเมีย เช่น การผสมติดของสัตว์ลดลงหรือไม่สามารต้ังท้องได้จนครบ ก�ำหนด จ�ำนวนลูกต่อครอกลดลง การท�ำงานของรังไข่ผิดปกติหรือไม่ท�ำงาน วงจรของระดู หรือการเป็นสัดผิดปกติ เน้ือเยื่อบุมดลูกเจริญเติบโตภายนอกมดลูก น�้ำหนักของอัณฑะ และอวัยวะอ่ืนๆ ที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ลดลง อัณฑะมีรูปร่างผิดปกติ การสร้างเช้ืออสุจิ ลดลง และการผสมตดิ ลดลง เปน็ ตน้ • ความผดิ ปกติในทารก จาก การศกึ ษาสตั วท์ ดลองตวั เมยี และผลการศกึ ษาทางระบาดวทิ ยาของคนทปี่ ระเทศญปี่ นุ่ และ ไตห้ วนั พบวา่ สารนม้ี คี วามเปน็ พษิ ตอ่ การพฒั นาตวั ออ่ นหรอื ทารกซงึ่ มผี ลกระทบ 3 รปู แบบคอื 1) ท�ำให้ตัวอ่อน/ทารกผดิ ปกติและตายก่อนครบกำ� หนด 2) ท�ำให้ทารกมโี ครงสร้างผดิ ปกติ 3) ทำ� ใหก้ ารท�ำงานของอวยั วะและเน้อื เยอื่ บางชนิดผิดปกติ จากการ ศึกษาในมารดาพบว่าการได้รับสารไดออกซิน/ฟิวแรนที่ปนเปื้อนในน้�ำมันร�ำข้าว ท่ีประเทศจีนท�ำให้มีอัตราการตายของทารกในช่วงต้ังครรภ์สูง ทารกมีน้�ำหนักแรกเกิดต�่ำกว่า เกณฑ์ปกติซึ่งแสดงถึงการเจริญเติบโตที่ช้ากว่าปกติของทารก ทารกบางรายเกิดมามีรูปร่าง ผิดปกติ มอี าการผดิ ปกติของระบบประสาท มกี ารพัฒนาทางสตปิ ญั ญาช้า ลักษณะผิดปกติ ที่เด่นชัดของทารกในครรภ์คือผิวหนังและเย่ือบุมีสีเข้มกว่าปกติ เล็บมือและเท้ามีสีเข้มและ ผิดรูปผิดร่าง ขับสารออกมากกวา่ ปกติ เย่อื บุตาอักเสบ เหงือกมีการบวมขยายใหญ่ 4
Q : ประเทศไทยมกี ฎหมายหรอื มาตรการทเี่ กย่ี วกบั สาร ไดออกซนิ หรือไม่? A : ปจั จบุ นั มกี ฎกระทรวงกำ� หนดคา่ มาตรฐานการปลดปลอ่ ยสารไดออกซนิ ออกมาแลว้ ถงึ 4 ฉบบั คอื (1). ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เรื่องก�ำหนดมาตรฐานควบคุม การปล่อยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ อากาศเสียที่ปล่อยท้ิงจากเตาเผา มูลฝอยติดเช้ือต้องมีค่าไม่เกินมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผา มูลฝอยติดเช้ือของสารประกอบไดออกซินซึ่งค�ำนวณผลในรูปของหน่วยความเข้มข้น เทยี บเคยี งความเปน็ พิษตอ่ มนุษย์ ( PCDD/Fs as International Toxic Equivalent : I-TEQ) ไม่เกิน 0.5 นาโนกรมั ต่อลกู บาศกเ์ มตร (2). ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ืองก�ำหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศท่ีระบาย ออกจากปล่องเตาเผาส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายจากอุตสาหกรรม พ.ศ. 2545 ก�ำหนดปริมาณสารไดออกซิน/ฟิวแรนที่ระบาย ออกจากเตา ต้องไม่เกนิ 0.5 นาโนกรัมตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร (3). ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่องก�ำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสีย จากเตาเผามูลฝอย ต้องมีค่าการปล่อยท้ิงสารประกอบ ไดออกซนิ (Dioxin as Total Chlorinated PCDD plus PCDF) ไม่เกนิ 30 นาโนกรัมตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร (4). ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องก�ำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยท้ิงอากาศเสีย จากโรงงานปูนซีเมนต์ที่ใช้ของเสียเป็นเชื้อเพลิงหรือเป็น วัตถุดิบในการผลิต ก�ำหนดอากาศเสียที่ปล่อยท้ิงจาก หม้อเผาปูนของโรงงานต้องมีสารประกอบไดออกซิน ไมเ่ กนิ 0.5 นาโนกรมั ต่อลกู บาศก์เมตร I-TEQ แต่ท่ีผ่านมาก็ยังไม่มีห้องปฏิบัติการในประเทศไทย ท่ีสามารถจะวิเคราะห์ได้ แต่ต้องส่งตัวอย่างไป วิเคราะห์ยังต่างประเทศซ่ึงมีค่าใช้จ่ายสูงมาก จนในปี พ.ศ. 2551 จึงมีมติคณะรัฐมนตรี เหน็ ชอบใหจ้ ดั ตง้ั อาคารหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารไดออกซนิ ขึน้ ในประเทศไทย 5
จากอนสุ ัญญาสตอกโฮลม์ ว่าด้วยสารพษิ ตกคา้ งยาวนานส่สู ถาบนั ไดออกซินแห่งชาติ อนุสญั ญาสตอกโฮล์มคอื อะไร อนุสัญญาสตอกโฮล์มว่าด้วยสารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน (Stockholm Convention on Persistent Organic Pollutants: POPs) มีวัตถุประสงค์เพ่ือปกป้องสุขภาพอนามัยของมนุษย์ และสงิ่ แวดลอ้ มจากสารพษิ ทต่ี กคา้ งยาวนาน (สาร POPs) โดยโครงการสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP) ร่วมกับคณะกรรมการรัฐบาลว่าด้วย ความปลอดภัยของสารเคมี โดยมีประเทศที่ร่วมลงนาม 152 ประเทศ ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน ในอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2548 และปัจจุบันประเทศที่ให้สัตยาบันแล้ว 179 ประเทศ 6
อนุสญั ญาสตอกโฮลม์ กำ� หนดใหเ้ ราทำ� อะไรบ้าง? ประเทศสมาชิกต้องก�ำหนดเป้าหมายในการลดและเลิกการปลดปล่อยและการใช้สาร POPs ทันที ที่อนุสัญญาน้ีมีผลบังคับใช้ การผลิตและสารเคมีป้องกันและก�ำจัดศัตรูพืชตามประเภทที่ก�ำหนดน้ัน ประเทศท่ีให้สัตยาบันในอนุสัญญาแล้วจะต้องถูกห้ามใช้ ผลิต โดยทันที มีการจ�ำกัดการผลิตและ การใช้สารกลุ่มดังกล่าวและเรียกร้องให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ ด�ำเนินการเพื่อลดการปลดปล่อย สารมลพิษในกลุ่ม POPs เช่น สารฆ่าแมลง ไดออกซิน ฟิวแรน เฮกซะคลอโรเบนซีน และสารพีซีบี จากกระบวนการเผาไหม้ก�ำหนดให้มีแผนปฏิบัติการระดับชาติเพ่ือปฏิบัติตามอนุสัญญาสตอกโฮล์ม และจ�ำกัดการน�ำเข้า การส่งออกสาร POPs และจัดต้ังศูนย์ประสานงานเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร เปน็ ต้น ยาDฆ.Dา แ.Tมลง 7
จากอนุสัญญาสตอกโฮลม์ วา่ ด้วยสารพษิ ตกคา้ งยาวนานสสู่ ถาบันไดออกซินแห่งชาติ ประเทศไทยในฐานะภาคีสมาชิกของอนสุ ญั ญา สตอกโฮล์มฯ ไดด้ ำ� เนนิ การอะไรบ้าง? ประเทศไทยได้จัดท�ำแผนจัดการระดับชาติเพื่อปฏิบัติตามอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ขึ้น (National Implementation Plan : NIP) โดยมีหน่วยงานท่ีร่วมจัดท�ำแผนและเป็นคณะท�ำงานมากกว่า 10 หน่วยงาน เช่น กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กรมโรงงานอุตสาหกรรม กองวัตถุมีพิษ ส�ำนักกรุงเทพมหานคร สภาอุตสาหกรรม กรมศุลกากร กระทรวงการต่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งกรมควบคุมมลพิษเป็นฝ่ายเลขาฯ แผนจัดการดังกล่าวได้ก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ แผนงาน และกิจกรรมเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของประเทศ เช่น จัดต้ังกลไกในการปกป้องสุขภาพ อนามัยของมนุษย์และส่ิงแวดล้อมจากผลกระทบของสาร POPs มีการพัฒนาแผนกลยุทธ์และ แผนการด�ำเนินการทางเลือกในการจัดการสาร POPs ด�ำเนินการจัดท�ำท�ำเนียบการปลดปล่อย สารมลพิษ เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามตรวจสอบและเผยแพร่สู่สาธารณะ การพัฒนา ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์สาร POPs และ ส่งเสริมการใช้สารทดแทน เทคนิคที่ดีท่ีสุด (Best Available Technique : BAT & Best Environment Practices : BEP) จากการด�ำเนินงาน ทีผ่ า่ นมานั้น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ได้ดำ� เนนิ การแลว้ ตง้ั แต่ พ.ศ. 2548 8
ถาม-ตอบปัญหาไดออกซิน Q : โครงการจัดตั้งอาคารห้องปฏิบัติการไดออกซิน มีความเป็นมาอย่างไร? A : กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม โดยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อมมีภารกิจด้าน งานวิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยีเพ่ือการควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของมลพษิ ทจ่ี ะเปน็ ประเดน็ ปญั หาทส่ี ำ� คญั สำ� หรบั ประเทศไทยในอนาคต ประกอบกับต้องการพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยีในองค์กรให้ทัดเทียมกับประเทศท่ี พัฒนาแล้ว จึงส่งเจ้าหน้าที่เข้ารับการอบรมและดูงานเร่ืองการวิเคราะห์และแนวทางงานวิจัย ท่ีเกี่ยวกับสารไดออกซิน ณ ประเทศญี่ปุ่น ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2542 โดยมีจุดประสงค์เพ่ือจัดตั้ง ห้องปฏิบัติการไดออกซินแห่งแรกในประเทศไทย จึงน�ำเรื่องเสนอต่อคณะรัฐมนตรี และเมื่อปี พ.ศ. 2551 คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบให้จัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจสอบสารไดออกซิน ณ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม ต. คลอง 5 อ.คลองหลวงจ.ปทุมธานี นับว่า เป็นห้องปฏิบัติการที่สามารถตรวจสอบสารไดออกซินและฟิวแรน ที่ใช้งบประมาณของ รัฐบาลไทยเปน็ แหง่ แรกของประเทศไทย 9
ถาม-ตอบปัญหาไดออกซนิ Q : วตั ถุประสงคแ์ ละภารกจิ ของโครงการจดั ตั้งอาคาร หอ้ งปฏิบัติการไดออกซนิ ในประเทศไทย คอื อะไร? A : 1. เพอ่ื จดั ต้งั ห้องปฏิบตั ิการกลางไดออกซินทไ่ี ดม้ าตรฐานสากล 2. เพือ่ ให้มขี ้อมลู สนับสนุนสำ� หรบั การบังคบั ใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพมากขึน้ 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถและรับบริการในการวิเคราะห์สารพิษ ได้ท่ัวประเทศ 4. เพ่ือฝึกอบรมใหค้ วามรู้กับภาครฐั และเอกชน และด้านเทคนคิ ทเ่ี กี่ยวกับสารไดออกซิน 10
Q : อาคารห้องปฏิบตั ิการไดออกซนิ ที่ จดั ตัง้ ข้นึ มีความพเิ ศษอย่างไร? A : อาคารหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารไดออกซนิ ไดร้ บั การออกแบบมาส�ำหรบั การวิเคราะห์สารไดออกซินโดยเฉพาะ มีการค�ำนึงถึง ความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อมโดยรอบ มรี ะบบกลอ้ งวงจรปดิ ภายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ความปลอดภยั ของ ผู้ปฏิบัติงาน และระบบดับเพลิงเคมีพิเศษ HFC 125 ซึ่งเป็นสารเคมี ท่ีได้รับการรับรองจาก NFPA (National Fire Protection Association) รับรองจากอเมริกาว่าไม่เป็นพิษ ไม่เป็นอันตราย ต่อมนุษย์ และไม่ท�ำให้อุปกรณ์/เครื่องมือได้รับความเสียหาย ห้อง ปฏิบัติการจะถูกแบ่งออกตามประเภทของตัวอย่าง ได้แก่ ตัวอย่าง ท่ีมีความเข้มข้นต่�ำ (ตัวอย่างส่ิงแวดล้อมทั่วไป) และตัวอย่างที่มี ความเขม้ ขน้ สงู (ตวั อยา่ งทม่ี าจากแหลง่ กำ� เนดิ โดยตรง) มกี ารควบคมุ ความดันภายในห้องต่างๆ ตามการปฏิบัติงานโดยใช้ระบบความดัน ติดลบ (negative pressure) เพือ่ ใหเ้ กดิ ระบบหมุนเวยี นของอากาศ ภายในห้องอย่างเหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน มีระบบฟอก อากาศเข้า-ออก เพ่ือให้แน่ใจว่าไม่มีการปนเปื้อนสารไดออกซิน ในอากาศท่ีปล่อยออกสู่ภายนอกอาคารและฟอกอากาศที่เข้าสู่ ห้องปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน และยังมีระบบ บ�ำบัดน้�ำเสียเพื่อก�ำจัดน�้ำเสียที่เกิดขึ้นจากห้องปฏิบัติการเพื่อ ปอ้ งกนั การปนเป้ือนไดออกซินในน�้ำท้งิ จากอาคารหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 11
ถาม-ตอบปัญหาไดออกซนิ Q : แนวทางการใช้ประโยชน์จากอาคารหอ้ งปฏบิ ัติการ ไดออกซิน คอื อะไร? A : เราสามารถไดร้ บั ประโยชนจ์ ากอาคารหอ้ งปฏบิ ตั ิการไดออกซินในดา้ นต่างๆ ดังนี้ 1. งานการติดตามตรวจสอบสารตกค้างประเภทสารพิษในสิ่งแวดล้อม คือกลุ่มไดออกซิน ฟิวแรน พซี ีบี และสารกลุ่มใหม่ตามพนั ธะกรณขี องประเทศไทยในอนสุ ญั ญาสตอกโฮล์ม 2. การผลติ ขอ้ มลู เพอ่ื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั กิ ารตามอนสุ ญั ญาสตอกโฮลม์ นำ� ไปสมู่ าตรการ ในการควบคมุ และมาตรการทางกฎหมายให้บงั คับใช้อยา่ งมีประสิทธิภาพต่อไป 3. งานบริการตรวจวิเคราะห์แก่ภาคเอกชน ซ่ึงปัจจุบันการส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์ ยงั ต่างประเทศนนั้ ต้องใช้เวลาประมาณ 2 เดือนและมีราคาแพงมาก 4. งานวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาขบวนการผลิตให้สามารถปรับลดการปลดปล่อยสารไดออกซนิ 5. งานถ่ายทอดองค์ความรู้แก่หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและสถาบันการศึกษาท่ีสนใจหรือ การท�ำงานวจิ ัยรว่ มกนั 6. เตรียมความพรอ้ มเข้าสู่ประชาคมอาเซยี นดา้ นการบรกิ ารการวเิ คราะห์ในอนาคต 7. สรา้ งความรว่ มมอื ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ กบั ตา่ งประเทศในอนาคต และเปน็ ภาพพจนท์ ด่ี แี กป่ ระเทศไทย ในการรกั ษส์ ุขภาพอนามัยของประชาชน 12
ของเสียจากหอ้ งปฏบิ ตั ิการ 13
ของเสียจากห้องปฏิบัตกิ าร การจัดการของเสยี จากห้องปฏบิ ตั ิการ การก�ำจดั สารไดออกซินโดยเตาอุณหภูมสิ ูง เงือ่ นไขทว่ั ไปท่ีท�ำให้เกิดสารไดออกซนิ คือ การเผาไหมท้ อี่ ณุ หภมู ิต่�ำกวา่ 800 องศาเซลเซยี ส โดยมี ออกซิเจนนอ้ ยกว่า 6% และมรี ะยะการหนว่ งเวลานอ้ ยกวา่ 2 วนิ าที กรณอี ่ืนอาจท�ำใหส้ ารไดออกซนิ แตกตวั เปน็ โมเลกลุ เลก็ ลงได้ แตโ่ มเลกลุ ทแี่ ตกตวั ไปแลว้ นนั้ กอ็ าจเกดิ เปน็ สารไดออกซนิ ไดอ้ กี โดยเฉพาะ อย่างย่ิงเมือ่ มีโลหะหนกั ซ่งึ จะทำ� หน้าทีเ่ ปน็ ตัวเรง่ ปฏกิ ริ ิยาในขบวนการทเี่ รียกวา่ denovo ดังน้นั การ กำ� จัดสารไดออกซนิ ท�ำได้โดยใชเ้ ตาอุณหภมู ิสงู ดว้ ยเทคนิค rotary kiln ท่ีอณุ หภมู ิ 1100 – 1200 องศาเซลเซยี ส และหนว่ ง เวลา (retain) นานไมน่ อ้ ยกวา่ 3 วนิ าที และทอ่ี ณุ หภมู ิ 1100 องศาเซลเซยี ส มกี ารเตมิ ออกซเิ จนอยา่ งตอ่ เนอ่ื งไมน่ อ้ ยกวา่ 14%เพอื่ ใหเ้ กดิ การเผาไหมท้ ส่ี มบรู ณซ์ ง่ึ สามารถปอ้ งกนั การเกิดไดออกซินได้ เถ้าท่ีเกิดขึ้นเฉล่ียไม่น้อยกว่า 0.5% และเกิดคาร์บอนมอนนอกไซด์น้อยกว่า 20 มลิ ลกิ รมั /ลกู บาศกเ์ มตร ทอ่ี ณุ หภมู ิ 25 องศาเซลเซยี ส (ตามมาตรฐานควรตำ�่ กวา่ 100 มลิ ลกิ รมั / ลูกบาศกเ์ มตร ท่ีอุณหภมู ิ 25 องศาเซลเซียส แสดงถึงการเผาไหมท้ สี่ มบูรณ)์ P2O2 CO2 HCl O2 N2 H2O SO2 Cl2 1,800 t0 2,200 ํ F AIR,Gas,Oil WC,aHs,tOe,NCh,CeLm,Pic,Sal AIR AIR,Solvent,Wastes Waste Fuel 1,400 t0 1,800 ํ F CO2 O2 SO2 O2 Sludge HC HCL N2 HCL CO P2O2 H2O Ash AIR 14
การเผาในท่โี ลง่ หนึง่ ในแหลง่ กำ� เนดิ สารไดออกซนิ ทีส่ ำ� คญั การเผาในที่โล่ง เป็นแหล่งก�ำเนิดมลพิษท่ีส�ำคัญ โดยเฉพาะมลพิษ ทางอากาศที่มีผลกระทบต่อประชาชน ฝุ่นละออง เขม่า และหมอกควัน ท�ำให้ เหตุเดือดร้อนร�ำคาญ บดบังทัศนวิสัย หมอกควันและมลพิษที่เกิดขึ้นสามารถ ปลิวไปได้ระยะทางไกลข้ามจังหวัดและข้ามประเทศ มลพิษที่เกิดขึ้นน้ีมีสารเคมี ท่ีเกิดข้ึนโดยไม่จงใจที่มีความเป็นพิษสูงเป็นระดับที่ 1 ตามองค์กรอนามัยโลก ก�ำหนด นั่นคือ สารไดออกซินและฟิวแรน ซ่ึงมักจะเรียกโดยรวมว่า สารไดออกซิน สารพิษนี้จะรวมตัวอยู่ในฝุ่น เขม่า ท�ำให้เกิดอันตรายกับระบบ ทางเดนิ หายใจ โรคหอบหืด กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ กลา่ วถงึ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ ซงึ่ พบ ในหลายพ้ืนที่ของ 8 จังหวัดภาคเหนือ ส่งผลให้ยอดผู้ป่วยท่ีเข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาลพุ่งสูงข้ึน โดยระหว่างวันที่ 1-7 มีนาคม 2555 ในโรงพยาบาล 87 แห่ง มีรายงานผู้ป่วยเข้ารับการรักษาใน 4 กลุ่มโรค ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจ และหลอดเลือด 23,685 ราย กลุ่มโรคทางเดินหายใจทุกชนิด 24,837 ราย กล่มุ โรคตาอักเสบ 2,265 ราย และกลุ่มโรคผวิ หนงั อักเสบ 2,610 ราย 15
คา่ มาตรฐาน PCDDs/PCDFs ส�ำหรับพื้นทีท่ ี่ใช้เปน็ ที่อยอู่ าศยั ของประเทศตา่ งๆ มาตรฐานกำ� หนดคา่ ทยี่ อมรบั ไดส้ ำ� หรบั พนื้ ทท่ี ใี่ ชเ้ ปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั ของประเทศตา่ งๆ เชน่ ประเทศแคนาดา ก�ำหนดปริมาณสารไดออกซินที่ปนเปื้อนต้องน้อยกว่า 4 นาโนกรัม I-TEQ ต่อ กิโลกรัม ประเทศเยอรมนั ประเทศญปี่ นุ่ และสหรฐั อเมรกิ ากำ� หนดเทา่ กนั คอื 1000 นาโนกรมั I-TEQ ตอ่ กโิ ลกรมั ประเทศนวิ ซีแลนดก์ �ำหนด 1,500 นาโนกรมั I-TEQ ต่อ กโิ ลกรมั ปรมิ าณสารไดออกซนิ ทีร่ ่างกายสามารถรับได้ ของประเทศตา่ งๆ และองคก์ ารอนามัยโลก ประเทศและองคก์ รอนามยั โลก (WHO) ระดับของสารไดออกซนิ / น้�ำหนักตวั (body weight) / วนั ออสเตรีย แคนาดา 2.33 pg/TEQ/kg bw/day อังกฤษ 10 pg/TEQ/kg bw/day ฝรง่ั เศส 10 pg/TEQ/kg bw/day เยอรมนี 1 pg/TEQ/kg bw/day สหรัฐอเมรกิ า 1 pg/TEQ/kg bw/day ญี่ปุน่ 0.006 pg/TEQ/kg bw/day องคก์ รอนามยั โลก 4 pg/TEQ-kg bw/day 1-4 pgTEQ/kg bw/day 16
ค่ามาตรฐาน PCDDs/PCDFs จากเตาเผาอุณหภมู ิสูง ของประเทศต่างๆ ประเทศ คา่ มาตรฐาน หมายเหตุ ออสเตรีย 0.1 ng.I-TEQ/Nm 3 เตาเผาทกุ ขนาด แคนาดา 0.1 ng.I-TEQ/Nm 3 เตาเผาทุกขนาด สหภาพยโุ รป 0.1 ng.I-TEQ/Nm 3 เตาเผาทกุ ขนาด เยอรมนี 0.1 ng.I-TEQ/Nm 3 เตาเผาทกุ ขนาด องั กฤษ 0.1 ng.I-TEQ/Nm 3 เตาเผาทุกขนาด ญี่ปนุ่ 0.5 ng.I-TEQ/Nm 3 เตาเผาขนาดใหญ่ (มาตรฐานเกา่ ) ญปี่ นุ่ 0.1 ng.I-TEQ/Nm 3 เตาเผาขนาดใหญ่ (มาตรฐานใหม่) สหรัฐอเมรกิ า 30 ng.total/Nm 3 เตาเผาขนาดใหญ่ (มาตรฐานเก่า) สหรัฐอเมรกิ า 13 ng.total/Nm 3 เตาเผาขนาดใหญ่ (มาตรฐานใหม่) ประเทศไทย 30 ng.total/Nm 3 เตาเผาขยะชุมชนขนาดตงั้ แต่ 1 ตัน/วันขน้ึ ไป ประเทศไทย 0.5 ng.I-TEQ/Nm 3 เตาเผาขยะมลู ฝอยทมี่ กี �ำลงั ประเทศไทย 0.5 ng.I-TEQ/Nm 3 การเผาไหม้ในการก�ำจัดมูลฝอย ประเทศไทย 0.5 ng.I-TEQ/Nm 3 เกินกว่า 50 ตัน ประเทศไทย 0.5 ng.I-TEQ/Nm 3 เตาเผามลู ฝอยตดิ เชอื้ เตาเผาอุตสาหกรรม กรณีการใช้ น้ำ� มันใช้แล้วท่ผี า่ นกระบวนการปรบั คณุ ภาพและเชอื้ เพลงิ สงั เคราะห์ เปน็ เชอ้ื เพลิงในเตาอตุ สาหกรรม โรงงานปนู ซมิ นต์ท่ใี ชข้ องเสีย เป็นเช้ือเพลงิ หรอื วัตถุดิบในการผลติ หมายเหตุ 30 ng.total/Nm3 เท่ากบั ประมาณ 0.5 ng.I-TEQ/Nm3 13 ng.total/Nm3 เทา่ กับประมาณ 0.2 ng. I-TEQ/Nm3 เตาขนาดใหญ่ของสหรฐั อเมรกิ า หมายถงึ เตาเผาขนาดตั้งแต่ 250 ตัน/วนั (มหันตภัยไดออกซิน กรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อม) 17
มาช่วยกนั ...ลดการเผาในทโ่ี ลง่ กันเถอะ... มารจู้ กั ...แนวทางในการลดการเผาในทโ่ี ลง่ 1. การปลูกพืชแบบที่ไมต่ ้องการไถหรอื ไมเ่ ผา เหมาะกบั พื้นท่ลี าดชนั โดยปลูกพชื ชนดิ อนื่ สลับ เช่น พืชตระกูลถวั่ เพ่ือเพ่ิมราย ไดแ้ ละเพ่ิมธาตอุ าหาร 2. การไถกลบตอซัง/ขดุ หลมุ ฝัง ไถกลบเศษวสั ดเุ หลอื ทง้ิ การเกษตรทมี่ ปี รมิ าณมากๆ ในพนื้ ทเี่ พาะปลกู หรอื พน้ื ท่ี โลง่ เชน่ ฟางขา้ ว เศษซากขา้ วโพด ตอ้ งอาศยั เครอ่ื งจกั รกลเกษตรซง่ึ จะสามารถทำ� งาน ในพน้ื ทรี่ าบ 18
มาช่วยกัน...ลดการเผาในที่โลง่ กันเถอะ... มารูจ้ กั ...แนวทางในการลดการเผาในท่ีโลง่ 3. การผลติ ปุย๋ หมักจากขยะอนิ ทรีย์ • การผลติ ปยุ๋ ระดับครัวเรือนหรอื ชุมชนขนาดเล็ก ในไร่นาตวั เอง • การผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี ร์ ะดบั อตุ สาหกรรม เปน็ การผลติ ปยุ๋ หมกั ในปรมิ าณมาก จดั ตั้งโรงงานรบั ซือ้ ขยะทีเ่ หลอื ทิ้งจากการเกษตร หรือเศษวัชพืช • การใชเ้ ครอื่ งบดยอ่ ยกงิ่ ไมเ้ ศษวสั ดทุ เี่ หลอื ทงิ้ จากการเกษตรเพอื่ นำ� ไปโรยคลมุ ดนิ หรือทำ� ปยุ๋ หมกั และปุ๋ยอินทรยี ์ • การน�ำวัสดุสดเหลอื ทง้ิ ไปท�ำปุ๋ยอนิ ทรยี ์โดยไส้เดือนดนิ 4. พลงั งานทางเลือก เป็นเช้ือเพลิงเขียวในครัวเรือนหรือจ�ำหน่าย เชน่ การอัดถ่านจากเศษซังข้าวโพด กากออ้ ย ฟางข้าว ข้เี ลอื่ ยและวชั พืชต่างๆ น�ำมาอัดแท่ง เป็นเชื้อเพลงิ ใชเ้ อง 19
มาช่วยกนั ...ลดการเผาในที่โล่งกันเถอะ... มาร้จู ัก...แนวทางในการลดการเผาในทีโ่ ล่ง 5. ขยะทีเ่ หลือทงิ้ จากการเกษตร น�ำมาผสมท�ำก้อนอาหารเพาะเห็ดต่างๆ เฟอร์นิเจอร์ ทอผ้าด้วนเส้นใยจาก ธรรมชาติ เชน่ เปลอื กข้าวโพด ไม้ไผ่ เป็นต้น 6. การคดั แยกขยะในครัวเรือน • น�ำกลบั มาใช้ใหม่ เช่น วสั ดทุ �ำด้วยพลาสตกิ โลหะ เปน็ ตน้ • ทำ� น�ำ้ หมกั จลุ ินทรีย์ เพือ่ ใชเ้ ป็นน้�ำยาอเนกประสงค์ • ขายเปน็ รายได้เชน่ กลอ่ งกระดาษหนงั สอื พมิ พ์ขวดประเภทตา่ งๆแกว้ พลาสตกิ โลหะต่างๆ อลมู เิ นยี ม เปน็ ตน้ 20
คณุ รู้ไหม?....ขยะมีคา่ ... ตารางประมาณราคาสนิ คา้ ประเภทตา่ งๆ ราคา ณ วนั ที่ 25 เมษายน 2557 ชนดิ สนิ คา้ ราคา/หน่วย ชนิดสนิ ค้า ราคา/หนว่ ย (บาท/กก) (บาท/กก) ขวดประเภทต่างๆ เช่น พลาสตกิ เชน่ 12.50 ขวดซอสเด็กสมบูรณ์ 4.00 ขวดน�้ำ PET ใส 6.00 ขวดนำ้� ปลา 0.70 ขวดน้�ำขาวขุน่ 6.50 ขวดลโิ พ คาราบาวแดง 1.50 รองเทา้ ยาง PVC 3.40 ขวดน�ำ้ อดั ลมใหญ่ 2.00 เสือ่ น้ำ� มนั 7.50 ขวดน�ำ้ อัดลมเลก็ 0.50 สายยางออ่ น 3.00 เศษแกว้ ขาว 1.50 โฟมสะอาด ประเภทเศษโลหะ โลหะมีค่าสูง 37.00 เหลก็ ตะปู 8.20 กระปอ๋ งโค๊ก 21.00 กระป๋อง 5.80 อลูมเิ นยี มมงุ้ ลวด 30.00 สังกะสี 4.40 อลมู เิ นยี มกะทะไฟฟา้ 22.00 เหล็กเส้นยงุ่ ๆ 7.40 แบตเตอร่ขี าว กระดาษประเภทตา่ งๆ ประเภทอนื่ ๆ 5.00 กระดาษกล่องสนี ้�ำตาล 3.50 ทนี่ อนนุ่น 3.00 กระดาษหนงั สือพิมพ์ 3.80 ยางในรถยนต์ 200.00 กระดาษสมุด 6.30 นำ้� มนั พืชเก่า (ปป๊ี ) 13.00 กระดาษกลอ่ งนม 0.40 นำ�้ มนั พชื เกา่ (ขวด) 5.00 กระดาษถุงปนู 1.50 เทียนไขแทง่ ใหญ่ ขยะร�ไซเคลิ ขยะเปยก ขยะแหง ขยะมพี �ษ 21
คุณรู้จัก...การแยกประเภทขยะมูลฝอยหรือยงั ? เราแยกขยะเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. ขยะเปยี กหรือขยะย่อยสลาย คือ ขยะที่เนา่ เสยี และสลายได้เร็ว สามารถนำ� มาหมักทำ� ป๋ยุ ได้ เชน่ เศษอาหาร ตา่ งๆ แตไ่ มร่ วมซากพชื หรือซากสตั วท์ ดลอง เปน็ ต้น 2. ขยะอันตราย เช่น มูลฝอยท่ีเปื้อนด้วยวัสดุท่ีระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุท่ีออกซิไดซ์ได้ วัตถุ มีพิษ วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุกัดกร่อน วัตถุท่ีก่อให้เกิดการระคายเคือง เช่น หลอดไฟฟ้า ถ่านไฟฉาย กระป๋องสเปรย์ แบตตอร่ี ภาชนะบรรจุสารฆา่ แมลง เป็นต้น 3. ขยะรีไซเคิล หรือมูลฝอยที่ยังใช้ได้ คือ บรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้ ที่สามารถน�ำกลับ มาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เช่น ขวดแก้วประเภทต่างๆ เศษแก้วแตก กระดาษ พลาสติก ท่อ PVC เปลอื กสายไฟฟา้ กลอ่ ง CD ยางรถยนต์ กล่องนม UHT เปน็ ตน้ 4. ขยะแห้งท่ัวไป คือ ขยะท่ีนอกเหนือจากขยะทั้ง 3 ประเภทที่กล่าวมาแล้ว มีลักษณะที่ย่อย สลายยาก และไม่คุ้มค่าส�ำหรับการน�ำกลับมาใช้ใหม่ เช่น ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก พลาสติกใส่ขนม พลาสติกฉลากสินค้า ซองบะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป โฟมเปื้อนอาหาร รองเท้า ฟองนำ้� ถงุ มือ เป็นตน้ 22
กจิ กรรม กรมสง่ เสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม สถาบนั ไดออกซินแหง่ ชาติ 23
กจิ กรรม กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสิง่ แวดล้อม สถาบันไดออกซินแหง่ ชาติ 24
DioxiN Laboratory อาคารหอ งปฎิบตั กิ ารไดออกซนิ Dioxin Laboratory สถาบันไดออกซินแหงชาติ เทคโนธานี ต.คลองหา อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท : 02-5778400 ตอ 5115, 5203, 02-5774182-4 ตอ 1224 National Institute of dioxins, Technopolis, Tambon Klong-5, Amphoe Klong Luang, Pathumthani 12120 Tel: 02-5778400 Ext. 5115, 5203, 02-5774182-4 Ext.1224
Search
Read the Text Version
- 1 - 42
Pages: