Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบทส-ทสม-2562

ระเบียบทส-ทสม-2562

Published by konmanbong_k3, 2022-10-26 04:25:24

Description: 25.ระเบียบทส-ทสม-2562

Search

Read the Text Version

-52-

ระเบยี บกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ว่าดว้ ยอาสาสมคั รพทิ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ มหมู่บา้ น พ.ศ. ๒๕๖๒ และกฎหมายอืน่ ท่ีเกีย่ วข้อง

ชอื่ หนังสอื : ระเบยี บกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ว่าด้วยอาสาสมคั รพทิ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๖๒ และกฎหมายอืน่ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๓๑๖-๒๒๘-๑ พิมพ์เมือ่ : กันยายน ๒๕๖๒ จำ� นวน : ๘,๐๐๐ เลม่ ผ้จู ดั พิมพ์ : กองอาสาสมคั รพิทกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม กรมส่งเสริมคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม เลขที่ ๔๙ พระราม ๖ ซอย ๓๐ ถนนพระรามท่ี ๖ เขตพญาไท กรงุ เทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๒๙๘ ๕๖๔๙ โทรสาร : ๐ ๒๒๙๘ ๕๖๔๗ พิมพ์ท่ี : บริษัท เอ็กต้า ซที ีพี จ�ำกดั ๕๙๕/๕๙๗ ถนนบางขุนเทยี น-ชายทะเล แขวงแสมดำ� เขตบางขุนเทยี น กรงุ เทพมหานคร ๑๐๑๕๐ โทรศัพท์ : ๐-๒๔๖๔-๕๕๓๙ โทรสาร : ๐-๒๔๖๔-๕๕๔

“อาสาสมัคร จะตองระลึกอยเู สมอวา ศรทั ธาในการอาสาสมคั รเพ่ือชว ยเหลือผอู ่ืนน้นั เกิดขนึ้ ดว ยตนเอง มคี วามรสู ึกเห็นชอบในงานอาสาสมัคร มีศรทั ธาทจ่ี ะทาํ งาน มีเวลาท่ีจะปฏบิ ตั ิงาน และพรอมที่จะเปน อาสาสมคั ร.....” พระราชดาํ รสั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

ปัญหาตา่ ง ๆ เก่ยี วกบั สภาวะแวดลอ้ ม อันเนื่องมาจากมลพษิ หรอื ความเสอ่ื มโทรม ของที่ใดกต็ าม ยอ่ มส่งผลกระทบต่อเนือ่ ง ไปถงึ ทอ่ี นื่ ๆ ดว้ ยเหตุน้ี ทุกคน ทุกประเทศในโลก จึงยอ่ มมสี ว่ นรบั ผิดชอบอยู่ดว้ ยกัน ทั้งในการ แกไ้ ขลดปญั หา และปรบั ปรุงสรา้ งเสรมิ สภาวะแวดล้อมให้กลับคนื มาสู่สภาพ อนั จะเออื้ ตอ่ การมชี ีวติ อยู่อยา่ งเปน็ สขุ ของตนเองและเพื่อนมนษุ ย์ พระราชด�ำรสั พระราชทานเพื่ออญั เชิญลงพิมพ์ ในหนงั สือทีร่ ะลกึ ในพธิ รี บั มอบเรอื ขจดั คราบนำ�้ มนั ซ่ึงรัฐบาลเดนมาร์กน้อมเกลา้ ฯ ถวาย วันพุธ ๒๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๙

อาสาสมคั รพิทกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ มหมบู่ า้ น หมวดท่ี 4 สทิ ธปิ ระโยชน์ของอาสาสมคั รพิทกั ษ์ 18 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มหมู่บ้าน หมวดที่ 5 การประชมุ สารบัญ20 หมวดที่ 6 การเงนิ 22 บทเฉรกพะฎาเะมบกหยีาาลบยอกนื่ รทะ่เี ทกยี่ รววขงอ้ ทงรัพยากรธรรมชาตแิ ล1256ะสิ่งแวดลอ้ ม ว่าด้วยอาสาสมคั ร บสแพง่ิตั แลริทวป-ะดปักรกลระษฎอ้ะจกมําห์ทาตเมศวัรรกอ่ืาทัพรงยสะกอยมทา.รนื่ารวสทกงมทเี่รัคกรรธพั ่ียเยปรวาน็รขกมรท้อธสชงรมรา.มแตชลาิแะตกิแลาละระอสอ่ิงกแว1ด7ล้อมหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๖๒ ทหรพัม-ยวสาิทดกธรทปิธ่ีรร๑ระมโยอชชาานตสิแข์ าลอสะงมอสาิ่งัคสแราวพสดมลทิ ัค้อกัรมพษหทิมท์ ัก่บู รษา้ พัน์  ยากรธรรม3ช1าตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มหมบู่ า้ น ......๙ หมวดที่ ๒ คณะกรรมการเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมหมบู่ า้ น..................................................................................๑๓ หมวดท่ี ๓ การส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมหมบู่ ้าน..................................................................................๑๗ หมวดที่ ๔ สิทธิประโยชน์ของอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มหมู่บา้ น..................................................................................๒๒ หมวดท่ี ๕ การประชมุ .....................................................................................๒๔ หมวดท่ี ๖ การเงนิ .........................................................................................๒๖ บทเฉพาะกาล.................................................................................................๒๙ กฎหมายอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง.............................................................................๓๑ - ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง รายช่ือกลุ่มหรือกิจกรรมที่ผู้น�ำหรือ ผู้แทนกล่มุ เปน็ กรรมการหมู่บา้ นโดยต�ำแหน่ง - การจัดตั้งคณะกรรมการจัดการส่งิ ปฏิกูลและมลู ฝอยจงั หวดั - สิทธิประโยชน์ของอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หมูบ่ ้าน

ระเบยี บกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม วา่ ดว้ ยอาสาสมคั รพทิ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมหมู่บา้ น พ.ศ. ๒๕๖๒ *********************** เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและย่ังยืนและสร้างสรรค์ ส่ิงที่เป็นประโยชน์ในด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนท้องถ่ิน ตามแนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐ จึงเห็นสมควรให้มีอาสาสมัครพิทักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมหมู่บา้ นขนึ้ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ ซงึ่ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดย พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บ บรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ ม จึงออกระเบยี บไว้ ดังตอ่ ไปนี ้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ว่าด้วยอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หมู่บา้ น พ.ศ. ๒๕๖๒” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นเุ บกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วา่ ดว้ ยอาสาสมคั รพทิ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มหมบู่ า้ น พ.ศ. ๒๕๕๘

-7- ข้อ ๔ ในระเบียบน้ี “อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหมู่บ้าน” หมายความว่าบุคคลที่มีความสนใจ มีความเสียสละ และอุทิศตนในการท�ำงาน ด้านการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่น ของตนเอง ใช้ช่ือย่อว่า “ทสม.” มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า “Natural Resources and Environmental Protection Volunteer” และใช้ช่ือย่อ ภาษาองั กฤษวา่ “NEV” “เครอื ขา ยอาสาสมคั รพทิ กั ษท รพั ยากร ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มหมบ ู า น” หมายความวา การเชอื่ มโยงกนั ของ ทสม. เพอื่ การเรยี นรู แลกเปลย่ี นข่าวสาร หรือท�ำกิจกรรมร่วมกัน ในการอนุรักษ์และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ด้วยความเป็นอิสระและเท่าเทียมกันของบุคคล ภายใต้พื้นฐาน ของความเคารพสทิ ธิ เชอ่ื ถอื เอื้ออาทร ซึง่ กนั และกัน และใชห ลกั ธรรมาภบิ าล ในการทํางานร่วมกัน โดยใช ชื่อยอวา “เครือขาย ทสม.” และเรียกช่ือภาษา องั กฤษวา “Natural Resources and Environmental Protection Volunteer Network” ใชช ่ือยอ วา “NEV-Net” “กรรมการเครอื ขา่ ยอาสาสมคั รพทิ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม หมู่บ้าน” หมายความว่า ผู้แทนอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมหมู่บ้านท่ีได้รับคัดเลือกจากอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน เพ่ือให้ปฏิบัติงานในฐานะกรรมการเครือข่ายใน ระดับต่าง ๆ “หม่บู า้ น” หมายความว่า หมู่บ้านตามนยิ ามในกฎหมายวา่ ดว้ ยลกั ษณะ ปกครองท้องท่ีและหมายรวมถึงชุมชนท่ีมาจากการจัดต้ังชุมชนตามกฎหมาย ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

-8- “เขต” หมายความวา่ การแบ่งพน้ื ที่การบรหิ ารราชการกรงุ เทพมหานคร ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบรหิ ารราชการกรงุ เทพมหานคร “กลุ่ม” หมายถึง การแบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานของส�ำนักงานเขต เพื่อให้ การปฏิบัติราชการมีความสอดคล้องกับสภาพพ้ืนท่ี เศรษฐกิจ สังคม วิถีการ ด�ำรงชีวิตของประชาชน โดยสามารถแบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานของส�ำนักงานเขต ที่สอดคล้องกับโครงสร้างคณะกรรมการ เครือข่าย ทสม. กรุงเทพมหานคร ซงึ่ แบ่งเปน็ ๖ กลมุ่ ดงั น้ี กลุ่มกรุงเทพกลาง กลมุ่ กรุงเทพใต้ กล่มุ กรุงเทพเหนือ กลมุ่ กรุงเทพตะวนั ออก กล่มุ กรงุ ธนเหนือ และกลุ่มกรงุ ธนใต้ “ปลัดกระทรวง” หมายความว่า ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ข้อ ๕ ให้ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นผู้รักษา การตามระเบียบน้ี และให้มีอ�ำนาจตีความวินิจฉัยปัญหา ออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และอ่ืน ๆ เก่ียวกับการปฏิบัติเพื่อด�ำเนินการให้เป็นไป ตามระเบยี บน ี้ ข้อ ๖ เคร่ืองหมายของเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน เป็นวงกลมพื้นสีน้�ำเงิน มีรูปใบไม้สีเขียวและล�ำต้น สีน้�ำตาลอยู่กลางวงกลม ด้านบนล้อมรอบด้วยท้องฟ้าและเมฆสีขาว ด้านล่าง เป็นรูปคนจับมือกันมีตัวอักษรภาษาไทย เขียนว่า เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน และภาษาอังกฤษ เขียนว่า “Natural Resources and Environmental Protection Volunteer Network”

หมวด ๑ อาสาสมคั รพิทกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมหมูบ่ า้ น

-10- ข้อ ๗ วัตถปุ ระสงค์ของการมี ทสม. และเครอื ข่าย ทสม. มีดังนี้ (๑) เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ กระบวนการเรยี นรแู้ ละพงึ่ ตนเอง ของชมุ ชนในการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอย่างยง่ั ยืน (๒) เพื่อประสานงานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อมระหว่างระดับนโยบายและระดบั ชมุ ชน (๓) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานด้าน การอนุรกั ษ์ และฟน้ื ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมในทกุ ระดบั ขอ้ ๘ ผ้ทู ่ีจะสมัครเป็น ทสม. ตอ้ งมคี ุณสมบตั ิ ดังต่อไปนี้ (๑) มีสญั ชาตไิ ทย (๒) มีอายไุ ม่ต่ำ� กวา่ ๑๕ ปีบรบิ รู ณ์ (๓) เป็นผู้เล่ือมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุขตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (๔) มีภูมลิ ำ� เนาหรือถน่ิ ทีอ่ ยูป่ ระจำ� ในจงั หวัดนน้ั (๕) มีความสมัครใจและมีจิตอาสาเข้ามาร่วมด�ำเนินกิจกรรม ด้านการอนุรกั ษแ์ ละฟ้นื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (๖) เป็นบุคคลท่ีมีความเสียสละและอุทิศตัว ในการท�ำงาน เพอ่ื สว่ นรวม (๗) เป็นบุคคลที่ตระหนักถึงการท�ำงานโดยใช้กระบวนการ มสี ว่ นร่วมเป็นสำ� คัญ (๘) เป็นบุคคลท่ีเปิดโอกาสให้กับตัวเองและผู้อื่นในการแสวงหา ความรู้ และเพ่ิมพนู ความรแู้ ละประสบการณ์

-11- ขอ้ ๙ ทสม. มบี ทบาทและหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ประสานการด�ำเนินงานในท้องถิ่น เพ่ือพัฒนาความร่วมมือ ในการทำ� งานรว่ มกับองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และหน่วยงานทกุ ภาคสว่ น (๒) สอื่ สาร เผยแพร่ และประชาสมั พนั ธ์ นโยบาย ข้อมลู ข่าวสาร และกจิ กรรม เพอ่ื เสรมิ สรา้ งจติ สำ� นกึ ดา้ นการอนรุ กั ษ์ และฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มใหป้ ระชาชนในท้องถ่นิ (๓) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มของชมุ ชน (๔) เฝ้าระวัง และรายงานข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มในท้องถน่ิ (๕) ดำ� เนนิ กจิ กรรมดา้ นการอนรุ กั ษ์ และฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มทส่ี อดคลอ้ งกบั ภูมนิ ิเวศ และบริบทของพนื้ ท่ี (๖) เสรมิ สรา้ งจติ สำ� นกึ ดา้ นการอนรุ กั ษ์และฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมให้เยาวชนและคนรุ่นใหม่เพ่ือสืบสานเจตนารมณ์ แนวคิดและ การดำ� เนินงานอย่างยง่ั ยนื (๗) สนบั สนนุ ภารกจิ ดา้ นการอนรุ กั ษ์ และฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดล้อม ขอ้ ๑๐ วธิ ีการรบั สมคั ร ทสม. มีขัน้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี (๑) กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม หนว่ ยงานในสังกดั กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ประสานและประชาสมั พนั ธ์ แจง้ ขา่ ว เพอื่ ใหป้ ระชาชนในทอ้ งถนิ่ สมคั รเปน็ ทสม.

-12- (๒) ผู้สนใจสมัครเป็น ทสม. และมีคุณสมบัติ ตามข้อ ๘ ให้ย่ืน ใบสมัครตามแบบท่กี ำ� หนดต่อหน่วยงานผู้มีอำ� นาจออกบตั รตามขอ้ ๑๑ ขอ้ ๑๑ การออกบัตรประจ�ำตัว ทสม. ตามรายละเอียดดงั นี้ (๑) ส่วนกลางให้ปลัดกระทรวง หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายมีอำ� นาจ ออกบตั ร (๒) ส่วนภูมิภาค ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย มีอ�ำนาจออกบตั ร ขอ้ ๑๒ บตั รประจ�ำตวั ทสม. มีอายุหา้ ปี เมอื่ บัตรประจ�ำตวั ช�ำรุด สูญหาย หมดอายุ หรอื มกี ารเปลย่ี นแปลงในสาระสำ� คญั เชน่ ชอ่ื สกลุ ให้ ทสม. ยน่ื คำ� รอ้ ง ตามแบบท่กี ำ� หนด เพื่อพจิ ารณาดำ� เนนิ การออกบตั รประจ�ำตวั ใหม่ให้ตอ่ ไป รูปแบบบัตรประจ�ำตัว ทสม. ข้ันตอนการออกบัตรประจ�ำตัว และการ ขอมบี ัตรประจำ� ตัวใหมใ่ หเ้ ป็นไปตามทคี่ ณะกรรมการอ�ำนวยการ ทสม. ก�ำหนด ขอ้ ๑๓ ทสม. จะพน้ สภาพการเปน็ ทสม เม่อื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เป็นคนไรค้ วามสามารถหรอื เสมอื นไร้ความสามารถ (๔) ถกู พพิ ากษาตอ้ งโทษคดเี กย่ี วกบั การทำ� ลายทรพั ยากร ธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม และคดถี ึงที่สดุ (๕) คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ระดับจังหวัด หรือ คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. กรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี มีมติให้พ้นจาก สภาพเน่ืองจากมีพฤติกรรมขัดต่อเจตนารมณก์ ารเปน็ ทสม.

หมวด ๒ คณะกรรมการเครอื ข่ายอาสาสมคั ร พิทักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดลอ้ มหมูบ่ ้าน

-14- ข้อ ๑๔ ใหม้ ีคณะกรรมการเครอื ขา่ ย ทสม. ในจงั หวัด ดังนี้ (๑) คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ระดับต�ำบล ประกอบด้วย ผู้แทน ทสม. จากหมู่บ้าน ท่ีมี ทสม. คัดเลือกกันเองให้ได้ผู้แทนหมู่บ้านละ ไม่นอ้ ยกวา่ หนง่ึ คน (๒) คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ระดับอ�ำเภอ ประกอบด้วย ผู้แทนคณะกรรมการระดับต�ำบลจากต�ำบลที่มี เครือข่าย ทสม. ต�ำบลละ ไม่น้อยกว่าหน่ึงคน (๓) คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ระดับจังหวัด ประกอบด้วย ผู้แทนคณะกรรมการระดับอ�ำเภอจากอ�ำเภอท่ีมีเครือข่าย ทสม. อ�ำเภอละ ไมน่ อ้ ยกวา่ หนงึ่ คน และผแู้ ทนเครอื ขา่ ยดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ท่ีได้รับการรับรองจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ มทมี่ ีภารกจิ ในด้านนัน้ ๆ เครือขา่ ยละหน่งึ คน คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. แต่ละระดับ ประกอบด้วย ประธาน รองประธาน และกรรมการ ฝา่ ยตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม โดยใหค้ ณะกรรมการ แต่ละระดับเปน็ ผู้คดั เลือกกันเอง คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. แต่ละระดับ สามารถแต่งต้ังท่ีปรึกษา เพื่อขอค�ำปรึกษาได้ หรือตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะท�ำงาน เพ่ือสนับสนุน ชว่ ยเหลอื ในการทำ� งานไดต้ ามความเหมาะสม ขอ้ ๑๕ ให้มคี ณะกรรมการเครอื ข่าย ทสม. กรงุ เทพมหานคร ดงั น้ี (๑) คณะกรรมการเครือข่าย ทสม.ระดับเขต ประกอบด้วย ผู้แทนเครือข่าย ทสม. ที่มาจากการคัดเลือกกันเองของสมาชิก ทสม. ในเขต ใหไ้ ดจ้ ำ� นวนไมเ่ กินสบิ ห้าคน (๒) คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ระดับกลุ่ม ประกอบด้วย ผแู้ ทนคณะกรรมการเครอื ขา่ ย ทสม. ระดบั เขตในกลมุ่ นนั้ ๆ เขตละหนง่ึ คน

-15- (๓) คณะกรรมการเครอื ขา่ ย ทสม. กรงุ เทพมหานคร ประกอบดว้ ย ผู้แทนคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ระดับเขต ๆ ละหนึ่งคน และผู้แทน คณะกรรมการเครอื ข่าย ทสม. ระดบั กล่มุ ๆ ละหนง่ึ คน คณะกรรมการเครอื ขา่ ย ทสม. กรงุ เทพมหานคร แต่ละระดับ สามารถ แต่งต้ังทปี่ รึกษา เพ่อื ขอคำ� ปรึกษาได้ หรือตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะท�ำงาน เพอื่ สนับสนนุ ช่วยเหลือในการทำ� งานได้ตามความเหมาะสม ข้อ ๑๖ คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ตามข้อ ๑๔ และข้อ ๑๕ แตล่ ะระดบั มหี นา้ ท่ปี ฏบิ ัติดงั น้ี (๑) เปน็ ผปู้ ระสานงานตอ่ หนว่ ยงานอนื่ (๒) จัดท�ำแผนปฏิบัติงาน เพ่ือเป็นกรอบการด�ำเนินงานของ เครอื ข่าย ทสม. ระดับน้ัน ๆ (๓) ดำ� เนินการตามแผนหรือนโยบายทีก่ �ำหนดไว้ (๔) จดั ท�ำบญั ชรี ายรบั -รายจ่าย เพือ่ ตรวจสอบ (๕) สรุปผลงานและแถลงต่อท่ีประชุมสามัญประจ�ำปีอย่างน้อย ปลี ะหนง่ึ คร้งั (๖) หนา้ ทอ่ี น่ื ตามมตขิ องคณะกรรมการ เครอื ขา่ ย ทสม. แตล่ ะระดบั ขอ้ ๑๗ ใหก้ รรมการแตล่ ะระดบั อยใู่ นตำ� แหนง่ คราวละสีป่ ี เม่ือพน้ วาระ ให้ดำ� เนินการคัดเลอื กกรรมการใหม่ ภายในก�ำหนดเวลาหนงึ่ ร้อยยี่สิบวนั ข้อ ๑๘ นอกจากการพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระ ประธานกรรมการ และกรรมการพน้ จากตำ� แหนง่ เมือ่ (๑) ตาย (๒) ย้ายที่อยู่ (๓) ลาออก

-16- (๔) พ้นสภาพการเปน็ ทสม. ตาม ขอ้ ๑๓ และในกรณีตอ้ งโทษคดี เกย่ี วกบั การทำ� ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ใหพ้ กั การดำ� รงตำ� แหนง่ ไว้จนกวา่ คำ� พพิ ากษาเป็นที่สิ้นสดุ (๕) คณะกรรมการในระดับน้ัน ๆ ไม่ต่�ำกว่าก่ึงหน่ึงของสมาชิก ลงมติให้พน้ จากต�ำแหน่ง เม่ือกรรมการพ้นจากต�ำแหน่งตามวรรคหน่ึง ให้มีการคัดเลือก ทสม. ผู้อื่นเป็นกรรมการแทนภายในก�ำหนดหกสิบวัน นับแต่วันท่ีต�ำแหน่งน้ันว่างลง เว้นแต่วาระของกรรมการเหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยห้าสิบวันให้ผู้ที่ได้รับการคัดเลือก เปน็ กรรมการแทนอยใู่ นต�ำแหน่งเท่ากบั วาระท่เี หลอื อยขู่ องกรรมการท่ตี นแทน

หมวด ๓ การพสทิง่ ักเสษรท์ มิรแัพลยะาสกนรับธสรนรนุมอชาาสตาิแสลมะคั ร ส่ิงแวดลอ้ มหมู่บ้าน

-18- ขอ้ ๑๙ ใหม้ ีคณะกรรมการคณะหนง่ึ เรียกว่า คณะกรรมการอำ� นวยการ ทสม. ประกอบด้วย (๑) ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป็น ประธานกรรมการ (๒) รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ี ไดร้ ับมอบหมาย เปน็ รองประธานกรรมการ (๓) เลขาธิการส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม เปน็ กรรมการ (๔) อธบิ ดกี รมควบคุมมลพษิ เปน็ กรรมการ (๕) อธิบดกี รมทรัพยากรน้ำ� เป็นกรรมการ (๖) อธิบดีกรมทรพั ยากรน้�ำบาดาล เป็นกรรมการ (๗) อธิบดีกรมทรพั ยากรธรณี เปน็ กรรมการ (๘) อธบิ ดกี รมป่าไม้ เปน็ กรรมการ (๙) อธบิ ดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ เปน็ กรรมการ (๑๐) อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช เป็น กรรมการ (๑๑) ผู้แทนกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น เป็นกรรมการ (๑๒) ผแู้ ทนกรมประชาสมั พนั ธ์ เปน็ กรรมการ (๑๓) ผู้แทนส�ำนักงานส่ิงแวดล้อมภาค จ�ำนวนหนึ่งคน เป็น กรรมการ (๑๔) ผู้แทนส�ำนักงานทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวดั จ�ำนวนหนง่ึ คน เป็นกรรมการ (๑๕) ผ้แู ทนเครอื ข่าย ทสม. จ�ำนวนไม่เกนิ หกคน เป็นกรรมการ (๑๖) ผู้ทรงคุณวุฒิให้พิจารณาแต่งต้ังจากบุคคลซ่ึงมีความรู้ ความเช่ียวชาญ มีผลงานที่เก่ียวข้องกับด้านทรัพยากรธรรมชาติและ

-19- ส่งิ แวดล้อม จ�ำนวนไม่เกินสามคน เปน็ กรรมการ (๑๗) อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม เป็นกรรมการ และเลขานุการ และผู้อ�ำนวยการหน่วยงานในกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม ทร่ี ับผดิ ชอบงาน ทสม. เป็นกรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร กรรมการตาม (๑๓) (๑๔) (๑๕) มาจากการคัดเลือกกันเองและให้ ปลัดกระทรวงเป็นผแู้ ตง่ ต้งั กรรมการตาม (๑๖) ใหป้ ลดั กระทรวงเป็นผ้แู ต่งต้งั ขอ้ ๒๐ ให้คณะกรรมการอำ� นวยการ ทสม. มอี ำ� นาจหนา้ ท่ี ดังน้ี (๑) ออกประกาศ หรอื กำ� หนดแนวทาง การดำ� เนนิ งานให้เปน็ ไป ตามระเบียบฉบับน้ี (๒) เสนอแนะนโยบายและแนวทางปฏิบัติเพื่อพัฒนาการ ด�ำเนนิ งาน ทสม. ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ (๓) อ�ำนวยการ ประสานงานและบูรณาการการด�ำเนินงาน เกี่ยวกับ ทสม. (๔) ให้ค�ำปรึกษาและสนบั สนุนการดำ� เนนิ งาน ทสม. (๕) ด�ำเนินการอ่ืน ๆ ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดล้อมกำ� หนด ข้อ ๒๑ ใหม้ ี คณะกรรมการอ�ำนวยการ ทสม. ระดบั จังหวดั ประกอบด้วย (๑) ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั เปน็ ประธานกรรมการ (๒) ผู้แทนหน่วยงานของกรมท่ีมีในสังกัดกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในพื้นทจี่ งั หวดั หนว่ ยงานละหน่งึ คน เปน็ กรรมการ (๓) ท้องถน่ิ จังหวดั เปน็ กรรมการ (๔) อุตสาหกรรมจังหวัด เป็นกรรมการ (๕) ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนกั งานสง่ิ แวดลอ้ มภาค เป็นกรรมการ (๖) ประชาสัมพนั ธจ์ ังหวดั เป็นกรรมการ

-20- (๗) ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินงานด้านทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม จำ� นวนไมเ่ กนิ หา้ คน เป็นกรรมการ (๘) ประธานเครือขา่ ย ทสม. แต่ละจงั หวดั เปน็ กรรมการ (๙) ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาจากบุคคลซ่ึงมีความรู้ ความเช่ียวชาญ มีผลงานท่ีเก่ียวข้องกับด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ�ำนวน ไม่เกนิ สามคน เป็นกรรมการ (๑๐) ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งานทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม จงั หวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ ข้อ ๒๒ ให้มีคณะกรรมการอ�ำนวยการ ทสม. กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย (๑) อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อมท่ีได้รับมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ (๓) ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั สงิ่ แวดลอ้ มกรงุ เทพมหานคร เปน็ กรรมการ (๔) ผอู้ ำ� นวยการส�ำนักอนามยั กรงุ เทพมหานคร เป็นกรรมการ (๕) ผแู้ ทนกรมประชาสัมพนั ธ์ เป็นกรรมการ (๖) ผู้แทนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการด�ำเนินงานด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม จำ� นวนไมเ่ กินห้าคน เป็นกรรมการ (๗) ประธานเครอื ข่าย ทสม. กรุงเทพมหานคร เปน็ กรรมการ (๘) ประธานเครือข่าย ทสม. ระดับกลุ่ม จ�ำนวนไม่เกินหกคน เปน็ กรรมการ (๙) ผู้แทนเครือข่าย ทสม. ในคณะกรรมการอ�ำนวยการ ทสม. กลุ่มภาคกลาง เปน็ กรรมการ (๑๐) ผทู้ รงคณุ วฒุ พิ จิ ารณาจากบคุ คลซง่ึ มคี วามรู้ ความเชยี่ วชาญ มีผลงานท่ีเก่ียวข้องกับด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จ�ำนวน ไมเ่ กินสามคน เปน็ กรรมการ

-21- (๑๑) ผู้อ�ำนวยการกองอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม เปน็ กรรมการและเลขานุการ ข้อ ๒๓ ให้คณะกรรมการอ�ำนวยการ ทสม. ระดับจังหวัดหรือ คณะกรรมการอ�ำนวยการ ทสม. กรุงเทพมหานคร มอี ำ� นาจหนา้ ที่ ดงั นี้ (๑) อ�ำนวยการและบูรณาการเพื่อพัฒนาการด�ำเนินงาน ทสม. ในจังหวดั และกรงุ เทพมหานคร แลว้ แตก่ รณี (๒) ด�ำเนินการตามนโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่าย ทสม. ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยค�ำนึงถึงนโยบาย ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้านอ่ืน ๆ ของกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม และนโยบายของพืน้ ที่ (๓) อำ� นวยการคดั เลือกคณะกรรมการเครอื ข่าย ทสม. ในจังหวัด หรอื กรุงเทพมหานคร แลว้ แต่กรณี ขอ้ ๒๔ ใหห้ น่วยงานสงั กดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดำ� เนินการ ดังนี้ (๑) ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาสาสมัครและเครือข่ายในการ ก�ำกับดแู ลของหนว่ ยงานมโี อกาสเป็น ทสม. โดยสมคั รใจ (๒) จัดปฐมนิเทศ ฝึกอบรม หรือประชุม สัมมนา ทสม. เพ่ือ เขา้ ใจบทบาทหน้าท่ีของตน และสามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ (๓) สนับสนุนแผนงานและง-บประมาณ ของเครือข่าย ทสม. ตามบทบาทภารกจิ ของหนว่ ยงาน (๔) สนับสนุนให้ ทสม. ได้รับข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับทรัพยากร ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (๕) เผยแพร่ ข่าวสารเกีย่ วกบั การดำ� เนินงานของ ทสม. ข้อ ๒๕ ให้กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานประสาน กลางในการพัฒนาเครือข่าย ทสม. รวมถึง เครือข่าย ทสม. กรุงเทพมหานคร และการด�ำเนนิ การตามระเบียบนี้

หมวด ๔ สทิ ธปิ ระโยชน์ของอาสาสมคั ร พิทักษส์ท่ิงรแพั วดยาลก้อรมธหรมรบู่ม้าชนาตแิ ละ

-23- ข้อ ๒๖ สมาชกิ ทสม. มสี ิทธดิ ังต่อไปนี้ (๑) มีสิทธิแต่งเครื่องแต่งกาย และประดับเครื่องหมาย ทสม. ตามแบบที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมก�ำหนด (๒) รบั ทราบขอ้ มลู ขา่ วสารเกย่ี วกบั การดำ� เนนิ งานดา้ นทรพั ยากร ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมจากหนว่ ยงานของรัฐอยา่ งต่อเน่ือง (๓) เข้าร่วมประชมุ เพอื่ รับรูแ้ ละแสดงความคดิ เหน็ โดยอสิ ระ (๔) มีสิทธใิ นการคดั เลอื กคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. (๕) มีสิทธิได้รับการคัดเลือกให้เป็นกรรมการเครือข่าย ทสม. ในแตล่ ะระดบั (๖) ทสม. ที่ปฏิบัติงานได้ตามหลักเกณฑ์ท่ีก�ำหนด อาจมีสิทธิ ได้รบั ใบประกาศเกียรติคณุ โล่ เขม็ และอื่น ๆ เพ่ือยกยอ่ งในฐานะเป็นตวั อยา่ ง ทด่ี ีของสังคมดา้ นการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม (๗) มีสิทธิในการตรวจสอบการท�ำงานของกรรมการเครือข่าย ทสม. เพ่ือน�ำเสนอข้อมูลและเสนอแนะข้อคิดเห็นต่อการปรับปรุงการท�ำงาน หรอื เสนอใหม้ กี ารลงชอื่ เพอื่ พจิ ารณาใหก้ รรมการเครอื ขา่ ย ทสม. พน้ จากตำ� แหนง่ (๘) มีสิทธิในการมีส่วนร่วมเสนอแนะสิทธิประโยชน์อ่ืน เพ่ือ ประกาศตามระเบยี บกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม (๙) สิทธิอ่ืนตามท่ีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ก�ำหนด

หมวด ๕ การประชุม

-25- ข้อ ๒๗ การประชมุ คณะกรรมการเครอื ขา่ ย ทสม. ทำ� ได้ดังนี้ (๑) ประธานกรรมการแต่ละระดับ แจ้งกรรมการเข้าร่วมประชุม ลว่ งหน้ากอ่ นวันประชุมไม่นอ้ ยกวา่ เจด็ วัน (๒) ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของกรรมการ ทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมคราวใดถ้ากรรมการมาประชุม น้อยกว่าก่ึงหนึ่ง ให้ประธานแจ้งให้มีการประชุมคร้ังท่ีสองภายในเวลาไม่เกิน หา้ วัน และให้ถอื ว่าเปน็ องค์ประชมุ ส�ำหรับการประชุมคราวน้ัน (๓) กรรมการแต่ละระดับ สามารถเข้าชื่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่ง ในสามของกรรมการระดับนัน้ เพอ่ื เสนอใหม้ กี ารประชมุ คณะกรรมการได้ ข้อ ๒๘ การประชมุ สามัญประจ�ำปี ท�ำได้ดงั นี้ (๑) ให้คณะกรรมการอ�ำนวยการ ทสม. หรือหน่วยงานที่ได้รับ มอบหมาย จัดประชมุ สามญั ประจ�ำปีอยา่ งนอ้ ยปีละหนง่ึ ครัง้ โดยแจง้ ให้ตวั แทน ทสม. เข้าประชมุ กอ่ นวนั ประชมุ ไม่นอ้ ยกวา่ เจด็ วัน (๒) ประธานกรรมการระดับจังหวัดสามารถเข้าชื่อกันไม่น้อย กว่าหนง่ึ ในสามของจ�ำนวนจังหวดั เพอื่ เสนอใหม้ ีการประชมุ วิสามัญได้ ขอ้ ๒๙ วธิ ีการประชมุ การด�ำเนนิ การประชมุ และกิจกรรมอืน่ ที่เก่ยี วกับ การประชุมของคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธกี ารทีค่ ณะกรรมการเครอื ข่าย ทสม. แต่ละระดบั กำ� หนด

หมวด ๖ การเงิน

-27- ขอ้ ๓๐ เงนิ รายไดข้ องเครือข่าย ทสม. แต่ละระดับ อาจมาจาก (๑) เงินอุดหนนุ จากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ หรอื จากกองทุน ต่าง ๆ (๒) งบประมาณสนับสนุนการด�ำเนินกิจกรรมตามภารกิจของ หนว่ ยงานสังกดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม (๓) เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ทไ่ี ดม้ าโดยไมม่ ภี าระผูกพนั (๔) กิจกรรมหารายได้ (๕) เงินหรอื ทรัพยส์ นิ จากการบริจาค (๖) ดอกผลทเ่ี กิดจากเงินหรือทรัพยส์ ินของเครือขา่ ย (๗) เงินหรอื ทรัพยส์ ินที่ไดร้ บั ตามกฎหมายหรือโดยนติ ิกรรมอ่นื ข้อ ๓๑ บัญชีรายรับ-รายจ่ายของเครือข่าย ทสม. ทุกระดับ ให้จัดท�ำ ตามวิธปี ฏิบัตทิ ั่วไปและสามารถตรวจสอบไดอ้ ย่างเปดิ เผย ดังนี้ (๑) การเงินของเครือข่าย ทสม. อยู่ในความรับผิดชอบร่วมกัน ของประธานกรรมการรองประธานกรรมการและเหรัญญิก โดยให้เปิด บัญชีเงินฝากไว้กับสถาบันการเงินที่เป็นนิติบุคคล ในนาม “เครือข่าย ทสม.” โดยมีบุคคลดงั กล่าวลงนามรว่ มกันไม่น้อยกวา่ สองในสาม (๒) ประธานกรรมการเครือข่าย ทสม. มีอ�ำนาจสั่งจ่ายเงินได้ ไม่เกินห้าหมื่นบาทถ้วนภายในหนึ่งวัน ถ้าเกินกว่าท่ีก�ำหนดให้คณะกรรมการ เครอื ขา่ ย ทสม. พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบและอนมุ ตั โิ ดยคณะกรรมการเครอื ขา่ ย ทสม. (๓) บญั ชกี ารเงนิ และทรพั ยส์ นิ ใหเ้ หรญั ญกิ จดั ทำ� และเกบ็ ใหม้ บี ญั ชี การเงินและทรัพย์สินของคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. พร้อมด้วยใบส�ำคัญ และหลักฐานให้ถูกต้อง มีหลักฐานการรับเงิน การจ่ายเงิน ทุกรายการต้อง

-28- มใี บสำ� คญั อนั มรี ายการและจำ� นวนทถี่ กู ตอ้ งทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั ิ จากประธานกรรมการ หรือผู้ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการ เก็บหลักฐานเพื่อการตรวจสอบ ไมน่ ้อยกว่าหกปี (๔) ให้ประธานคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. และเหรัญญิก มีอ�ำนาจเก็บรักษาเงินสดไว้เพ่ือใช้จ่ายหมุนเวียนในกิจกรรมของเครือข่าย ทสม. เป็นเงินไม่เกินสองหม่ืนบาทถ้วน และให้คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. วางระเบียบการเงิน และทรัพย์สินของคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ใหเ้ หมาะสมและรดั กมุ (๕) การแสดงบญั ชีให้แสดงในการประชุมสามัญประจำ� ปี

บทเฉพาะกาล

-30- ขอ้ ๓๒ ใหค้ ณะกรรมการเครือขา่ ย ทสม. ในจงั หวัดแต่ละระดับ ซึง่ ได้ รับการแต่งต้ังหรือคัดเลือกตามระเบียบกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม ว่าด้วยอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๘ ซ่ึงได้รับการแต่งตั้งหรือคัดเลือกอยู่ก่อนวันท่ีระเบียบ ฉบับน้ีใช้บังคับ ยังคงอยู่ในต�ำแหน่งเพ่ือปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะมีการ แต่งตง้ั หรอื คัดเลอื กขนึ้ ใหม่ ข้อ ๓๓ ให้คณะกรรมการเครือข่าย ทสม. กรุงเทพมหานคร ซ่ึงได้ รับการแต่งต้ังหรือคัดเลือกตามประกาศกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เรือ่ ง ประกาศรายชอื่ คณะกรรมการเครือขา่ ย ทสม. กรุงเทพมหานคร ลงวันท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งหรือคัดเลือกอยู่ก่อนวันท่ีระเบียบ ฉบบั นใี้ ชบ้ งั คบั ยงั คงอยใู่ นตำ� แหนง่ เพอ่ื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ อ่ ไปจนกวา่ จะมกี ารแตง่ ตงั้ หรือคัดเลือกขนึ้ ใหม่ ประกาศ ณ วนั ที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ พลเอก สรุ ศกั ด์ิ กาญจนรตั น ์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

กฎหมายอ่นื ที่เก่ยี วขอ้ ง

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง รายชอื่ กล่มุ หรอื กลมุ่ กจิ กรรม ท่ผี นู้ ำ� หรอื ผแู้ ทนกลุ่มเป็นกรรมการหม่บู า้ นโดยต�ำแหนง่ *********************** อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติลักษณะ ปกครองท้องที่ พระพทุ ธศักราช ๒๔๕๗ และมาตรา ๒๘ ตรี แหง่ พระราชบัญญตั ิ ลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดย พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบ กับข้อ ๖ (๒) ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การเป็น กรรมการหมู่บ้าน การปฏิบัติหน้าท่ีและการประชุมของคณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๑ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยจึงออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ข้อ ๒ ให้กลุ่มหรือกลุ่มกิจกรรม ซ่ึงต้ังขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั หรือคำ� สง่ั ของทางราชการ ท่ีมกี ารด�ำเนินการในพ้ืนทห่ี มู่บ้าน โดยผ้นู ำ� กล่มุ เป็นกรรมการหม่บู ้านโดยต�ำแหนง่ ดงั นี้ ช่อื กลุ่มหรอื ส่วนราชการหรือ จดั ต้งั โดย กล่มุ กจิ กรรม หนว่ ยงาน ประกาศคณะกรรมการพัฒนา ศกั ยภาพของหมู่บ้านและชมุ ชน ๑. คณะทำ�งานพฒั นา สำ�นักเลขาธกิ ารนายก (SML)  ศักยภาพของหมู่บ้าน รัฐมนตรี ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และชุมชน (SML)  ลงวันท่ี ๘ เมษายนพ.ศ. ๒๕๕๑ ตามแนวปรัชญา สำ�นักนายกรฐั มนตรี เศรษฐกจิ พอเพยี ง

-33- ชือ่ กลมุ่ หรือ ส่วนราชการหรอื จดั ตัง้ โดย กลุ่มกจิ กรรม หนว่ ยงาน พระราชบญั ญัติกองทุนหม่บู ้าน ๒. กองทนุ หมูบ่ า้ น และชมุ ชนเมอื งแหง่ ชาติ และกองทุน สำ�นกั งานคณะกรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗ กองทนุ หมู่บา้ นและชมุ ชน ชุมชนเมือง เมอื งแหง่ ชาติ สำ�นักนายก รัฐมนตรี ๓. กลมุ่ อาสาสมัคร กรมสนบั สนนุ บรกิ าร หนังสอื กระทรวงสาธารณสขุ ที่ สาธารณสขุ ประจำ� สุขภาพ สธ ๐๒๐๒/๒๗๔๘๔ หมูบ่ า้ น (อสม.) กระทรวงสาธารณสุข ลงวันที่ ๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ ๔. ร้านค้าชุมชน กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณชิ ย์ เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการในการ ขอรบั ทนุ และการพจิ ารณาใหเ้ งนิ ทนุ ส่งเสริมร้านค้าชุมชน ลงวันที่ ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ๕. องค์กรท่ีได้มีการ สถาบนั พัฒนาองคก์ ร พระราชบัญญตั ิสภาองค์กรชุมชน จดแจ้งตามกฎหมาย ชุมชน (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๑ วา่ ด้วยสภาองค์กร กระทรวงพฒั นาสังคมและ ชุมชน ความมน่ั คงของมนษุ ย์   ๖. กล่มุ แมบ่ า้ น กรมส่งเสริมการเกษตร ระเบยี บกรมส่งเสริมการเกษตร เกษตรกร วา่ ดว้ ยขอ้ บังคับคณะกรรมการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กลมุ่ แมบ่ า้ นเกษตรกร พ.ศ. ๒๕๔๑ ๗. กลมุ่ ผูใ้ ช้นำ�้ กรมชลประทาน พระราชบัญญตั กิ ารชลประทาน ชลประทาน ราษฎร์ พ.ศ. ๒๔๘๒, (กลุ่มพื้นฐาน) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระราชบญั ญตั กิ ารชลประทาน หลวง พ.ศ. ๒๔๘๕ และพระราช บญั ญตั คิ ันและคูน�้ำ พ.ศ. ๒๕๐๕

-34- ชอ่ื กลมุ่ หรือ ส่วนราชการหรือ จดั ตงั้ โดย กลมุ่ กิจกรรม หน่วยงาน ๘. กลุ่มบริหารการใช้ กรมชลประทาน น้�ำชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๙. กล่มุ เกษตรกรผู้ใช้ กรมชลประทาน พระราชกฤษฎกี า ว่าด้วยกลุม่ นำ้� ชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๐. สมาคมผใู้ ช้นำ้� กรมชลประทาน จดทะเบียนจัดต้ังเป็นสมาคม ชลประทาน ผูใ้ ช้นำ�้ ชลประทานไว้กบั กระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มหาดไทยภายใตป้ ระมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๓๕ บรรพ ๑ ลักษณะ ๒ หมวด ๒ สว่ นท่ี ๒ ว่าด้วย “สมาคม”  มาตรา ๗๘ ถงึ มาตรา ๑๐๙ ๑๑. สหกรณ์ กรมชลประทาน พระราชบญั ญัติสหกรณ์ ผู้ใชน้ ้ำ� ชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ ๑๒. อาสาสมคั รพทิ กั ษ์ กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพ ระเบียบกระทรวงทรพั ยากร ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม วา่ ด้วย แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล ้ อ ม กระทรวงทรพั ยากร อาสาพทิ ักษท์ รัพยากร ธรรมชาติ (ทสม.) ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แววดลอ้ ม และสิ่งแวดลอ้ มหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑๓. กลุ่มเยาวชน กรมการพัฒนาชุมชน มติคณะรัฐมนตรี เร่อื ง มอบหมาย กระทรวงมหาดไทย ให้กรมการพัฒนาชุมชนเป็นผู้ จดั ตัง้ ศนู ย์เยาวชนต�ำบลให้ครบ ทกุ ตำ� บล เมื่อวันท่ี ๒๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ๑๔. กองทุนโครงการ กรมการพฒั นาชุมชน ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย แก้ไขปญั หาความ ว่าดว้ ยการบริหารและการใช้ ยากจน (กข.คจ.) กระทรวงมหาดไทย จา่ ยเงนิ โครงการแก้ไขปัญหาความ ยากจน พ.ศ. ๒๕๓๖ และท่ีแก้ไข ประจ�ำหมบู่ ้าน เพม่ิ เติม ฉบบั ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๓๙

-35- ชอ่ื กลุ่มหรือ สว่ นราชการหรือ จดั ต้ังโดย กลุม่ กจิ กรรม หน่วยงาน ๑๕. กลมุ่ หน่ึงต�ำบล ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี หน่ึงผลติ ภณั ฑ์ กรมการพฒั นาชมุ ชน วา่ ดว้ ยคณะกรรมการอ�ำนวยการ หนงึ่ ต�ำบลหนึง่ ผลติ ภณั ฑแ์ หง่ ชาติ (OTOP) กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๔๔ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ๑๖. กลุม่ สตรอี าสา กรมการพัฒนาชมุ ชน ว่าด้วยคณะกรรมการพฒั นาสตรี พัฒนา กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๓๘ ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ๑๗. กลมุ่ อาสาพฒั นา กรมการพัฒนาชมุ ชน ว่าดว้ ยการอาสาพัฒนาชมุ ชน ชมุ ชน (อช.) พ.ศ. ๒๕๔๗ กระทรวงมหาดไทย หนงั สอื กรมการพัฒนาชุมชน ท่ี มท ๐๔๐๒/๖๗๕๓ ลงวันท่ี ๑๙ ๑๘. กลมุ่ ออมทรพั ย์ กรมการพฒั นาชมุ ชน กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๘ เพ่ือการผลิต กระทรวงมหาดไทย ข้อ ๓ กรณีท่กี ฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คบั หรอื ค�ำสั่งของทางราชการ ได้มีการแก้ไข เปล่ียนแปลง ชื่อกลุ่มหรือกลุ่มกิจกรรม ที่ปรากฏ ตามประกาศนี้ และมิได้ท�ำให้วัตถุประสงค์ของกลุ่มหรือกลุ่มกิจกรรมดังกล่าว เปล่ียนแปลงไปในสาระส�ำคัญ ให้ถือว่ายังคงเป็นกลุ่มหรือกลุ่มกิจกรรม ที่ผู้น�ำหรือผู้แทนของกลุ่มเป็นกรรมการหมู่บ้านโดยต�ำแหน่งตามประกาศนี้ จนกว่าจะมกี ารเปล่ยี นแปลง ประกาศ ณ วนั ที่ ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๑ พลต�ำรวจเอก โกวิท วัฒนะ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

-36-

-37-

-38-

สพทิ ทิธักิปษร์ทะโรยพั ชนยาส์ ก�ำรหธรรบั รอมาสชาาตสแิมลคั ะร สิ่งแวดลอ้ มหมูบ่ ้าน (ทสม.)

-40- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ความส�ำคัญในการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) ซึ่งเป็นเครือข่ายภาคประชาชนท่ีมีจิตอาสา ได้มี สว่ นรว่ มในการขบั เคลอื่ นการดำ� เนนิ งานดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รว่ มกบั ภาครฐั และกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ หนว่ ยงานประสานกลาง ในการพฒั นาเครอื ขา่ ย ทสม. ไดด้ ำ� เนนิ การประสานหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พิจารณามอบสิทธิประโยชน์ยกเว้น ค่าธรรมเนียมในการเข้าชมและรับบริการจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงฯ เพ่ือให้กับเครือข่าย ทสม. ได้เข้าไปเรียนรู้ ส่ังสมประสบการณ์ และแนวคิดใน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเป็นขวัญก�ำลังใจให้แก่ ทสม. ในการปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนภารกิจของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม ดว้ ยความเสยี สละ และไมม่ คี า่ ตอบแทนใด ๆ ปจั จุบนั มหี นว่ ยงาน ได้มอบสิทธปิ ระโยชน์ให้กับ ทสม. ดังน้ี ๑. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ยกเว้นค่าธรรมเนียมเข้าชม สถานท่ีแสดงพันธุ์สัตว์น้�ำภูเก็ต เพ่ือเป็นการเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งและส่งเสริมกิจกรรมของอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) โดยให้ ทสม. แสดงบัตรประจ�ำตัว ทสม. ทกุ ครัง้ ทีเ่ ขา้ ชม ๒. กรมทรัพยากรธรณี ได้แก้ไขระเบียบกรมทรัพยากรธรณีว่าด้วย การเข้าชมพิพิธภัณฑ์ซากดึกด�ำบรรพ์ธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยาและอัตรา ค่าเข้าชมหรือค่าบริการอ่ืน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ ๒๕๕๗ โดยมีการแก้ไขเพ่ิมเติม ใหอ้ าสาสมคั รพทิ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มหมบู่ า้ น (ทสม.) ทแ่ี สดง บัตรท่ีต้นสังกัดออกให้ ได้รับการยกเว้นค่าเข้าชมพิพิธภัณฑ์ซากดึกด�ำบรรพ์ ธรณีวิทยาและธรรมชาติวทิ ยา รายละเอยี ดดงั น้ี

ระเบียบกรมทรัพยากรธรณี วา่ ดว้ ยการเขา้ ชมพพิ ธิ ภณั ฑซ์ ากดกึ ดำ� บรรพธ์ รณวี ทิ ยา และธรรมชาตวิ ทิ ยา และอัตราค่าเขา้ ชมหรอื ค่าบริการอ่นื (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗๑ *********************** โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบกรมทรัพยากรธรณี ว่าด้วย การเข้าชมพิพิธภัณฑ์ซากดึกด�ำบรรพ์ธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา และอัตรา คา่ เขา้ ชมหรอื คา่ บรกิ ารอนื่ พ.ศ. ๒๕๕๑ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง ซากดกึ ดำ� บรรพ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ อนั เปน็ พระราชบญั ญตั ทิ มี่ บี ทบญั ญตั บิ างประการ เก่ียวกับการจ�ำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งตามมาตรา ๒๙ ประกอบกับ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท�ำได้โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมายอธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณจี งึ กำ� หนดระเบยี บวา่ ดว้ ยการเขา้ ชมพพิ ธิ ภณั ฑ์ ซากดกึ ดำ� บรรพธ์ รณวี ทิ ยาและธรรมชาตวิ ทิ ยา และอตั ราคา่ เขา้ ชมหรอื คา่ บรกิ าร อนื่ เปน็ การเพมิ่ เตมิ ไว้ ดงั น้ี ขอ้ ๑ ระเบยี บนเี้ รยี กวา่ “ระเบยี บกรมทรพั ยากรธรณี วา่ ดว้ ยการเขา้ ชม พิพิธภัณฑ์ซากดึกด�ำบรรพ์ธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา และอัตราค่าเข้าชม หรอื คา่ บรกิ ารอน่ื (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗” ขอ้ ๒ ระเบยี บนใ้ี ชบ้ งั คบั ตงั้ แตว่ นั ประกาศเปน็ ตน้ ขอ้ ๓ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็น (๑๐) ของข้อ ๗ ของระเบียบกรม ทรัพยากรธรณี ว่าด้วยการเข้าชมพิพิธภัณฑ์ซากดึกด�ำบรรพ์ธรณีวิทยา และธรรมชาตวิ ทิ ยา และอตั ราคา่ เขา้ ชมหรอื คา่ บรกิ ารอนื่ พ.ศ. ๒๕๕๑ “(๑๐) อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน ทแี่ สดงบตั รตน้ สงั กดั ออกให”้ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ปราณตี ร้อยบาง อธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณี

-42- ๓. องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ยกเว้นค่าธรรมเนียม ในการเข้าชมสวนสัตว์ โดยมีหน่วยงานภายใต้การก�ำกับดูแลขององค์การ สวนสัตว์ ได้แก่ สวนสตั ว์เปิดเขาเขยี ว สวนสตั ว์เชยี งใหม่ สวนสัตวน์ ครราชสีมา สวนสัตว์สงขลา สวนสัตว์ขอนแก่น สวนสัตว์อุบลราชธานี และโครงการ คชอาณาจักร จังหวัดสุรินทร์ โดยมีหลักเกณฑ์การยกเว้นค่าธรรมเนียมในการ เข้าชมสวนสัตว์ให้กับเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ ม (ทสม.) ดงั นี้

หลกั เกณฑก์ ารยกเวน้ คา่ ธรรมเนียม ในการเข้าชมสวนสัตวใ์ หก้ ับเครือข่ายอาสาสมคั ร พิทกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (ทสม.) *********************** ๑. หน่วยงานภายใต้การก�ำกับดูแลขององค์การสวนสัตว์ คือ สวนสัตว์ เปดิ เขาเขยี ว สวนสตั วเ์ ชยี งใหม่ สวนสัตว์นครราชสมี า สวนสัตวส์ งขลา สวนสัตว์ ขอนแกน่ สวนสัตว์อบุ ลราชธานี และโครงการคชอาณาจักร จังหวัดสรุ นิ ทร์ ๒. ประเภทการเขา้ ชม ๒.๑ การเข้าชมเป็นหมู่คณะ ให้เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม (ทสม.) ทำ� หนงั สอื แจง้ ความประสงค์ จำ� นวน คน วันและเวลา มายงั หน่วยงานภายใต้การกำ� กบั ดูแลขององคก์ ารสวนสตั ว์ - สวนสตั วเ์ ปดิ เขาเขยี ว โทรศพั ท.์ ๐๓๘ ๓๑๘ ๔๐๐๐ - สวนสตั วเ์ ชยี งใหม่ โทรศัพท.์ ๐๕๓ ๒๒๑ ๑๗๙ - สวนสตั วน์ ครราชสมี า โทรศพั ท.์ ๐๔๔ ๙๓๔ ๖๔๗ - สวนสตั วส์ งขลา โทรศพั ท.์ ๐๗๔ ๕๙๘ ๘๓๘-๓๙ - สวนสัตวข์ อนแกน่ โทรศัพท์. ๐๘๖ ๔๕๕ ๖๓๔๑ - สวนสตั วอ์ บุ ลราชธานี โทรศพั ท.์ ๐๘๖ ๔๕๕ ๖๓๔๐ - โครงการคชอาณาจักร จงั หวัดสรุ ินทร์ โทรศพั ท์. ๐๔๔ ๑๔๕ ๐๗๐ ๒.๒ การเข้าชมรายบคุ คล ให้เครือขา่ ยอาสาสมคั รพิทกั ษท์ รพั ยากร

-44- ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) แสดงบัตรประจ�ำตัว ทสม. หน้าหน่วยงานภายใต้การก�ำกับดูแลขององค์การสวนสัตว์ ให้กับเจ้าหน้าที่ ของสวนสัตว์เพื่อขอรับการยกเว้นค่าธรรมเนียมในการเข้าชมสวนสัตว์ (สงวนสทิ ธเิ ฉพาะเจ้าของบัตร) หมายเหตุ : ผู้รับสิทธิสามารถแต่งกายเครื่องแบบอาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) หรือนอกเคร่ืองแบบก็ได้ แต่จะต้องแสดงบัตรประจ�ำตัวอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อมหมบู่ า้ น (ทสม.) ๔. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้สนับสนุนการเข้าใช้ บรกิ ารในอทุ ยานแหง่ ชาติ และพื้นทอี่ ่ืน ๆ ภายใตก้ ารก�ำกับดูแลของกรมอทุ ยาน แหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุ์พชื แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. ทสม. ดีเด่น “โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จะท�ำการออกบัตรประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียวอุทยานแห่งชาติให้กับ ทสม. ดีเด่น โดยเรม่ิ ตน้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑” ๒. เครอื ข่าย ทสม. ท่ปี ระสงคจ์ ะเข้าไปใช้บริการในอุทยานแหง่ ชาติ ให้จัดท�ำโครงการและรับรองการเป็น เครือข่าย ทสม. จากคณะกรรมการ เครอื ขา่ ย ทสม. โดยตดิ ตอ่ ประสานกบั ฝา่ ยทพี่ กั และบรกิ าร สว่ นจดั การทอ่ งเทย่ี ว และนันทนาการ ส�ำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธ์ุพืช โดยตรง หรือประสานงานทางโทรศัพท์ หมายเลข ๐ ๒๕๖๑ ๐๗๗๗ ต่อ ๑๗๔๓ – ๑๗๔๔ และในกรณีการเข้าใช้สถานท่ีในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ต้องแจ้งส�ำนักอนุรักษ์สัตว์ป่าล่วงหน้าอย่างน้อย ๕ วัน ท�ำการ โดยการอนุญาตจะพิจารณาจากข้อจ�ำกัดของพื้นท่ีและสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกท่มี ีในพื้นทนี่ นั้ ๆ

-45-

-46-

-47-

-48-

-49-


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook