Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล (Eco-School Guideline)

แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล (Eco-School Guideline)

Published by konmanbong_k3, 2022-10-10 03:00:25

Description: แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนอีโคสคูล (Eco-School Guideline)

Search

Read the Text Version

Eco School Guideline โรงกเารรยี ดแนำนอเนวีโคนิ ทสงาคางูลน

Eco - School Guideline แนวทางการดำเนินงานโรงเรยี นอีโคสคูล สงวนลิขสทิ ธ์ิ โดยกรมสง เสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม หา มทำการลอกเลียน ทำซ้ำ หรอื ดัดแปลงเพ่ือจดั จำหนา ยโดยมิไดรับอนญุ าต แตส ามารถทำซ้ำเพ่อื เปน วทิ ยาทาน โดยการขออนญุ าตจากเจา ของลขิ สิทธิ์ ทปี่ รึกษา นายสรุ ชยั อจลบญุ นายวรพล จนั ทรงาม นางภาวนิ ี ณ สายบรุ ี บรรณาธิการบรหิ าร นายจกั รชัย ชมุ จติ ต บรรณาธกิ ารทีป่ รกึ ษา นายอลงกต ศรวี จิ ติ รกมล บรรณาธกิ าร นางสาวนชุ นารถ ไกรสวุ รรณสาร กองบรรณาธิการ นางสาวจฑุ า กฬี า // นางวรรณางค พรรณาไพร // นางสาวนัดดานันท วงษอนิ ทร นายหริ ณั ย จนั ทนา // นายสราวุธ ขาวพุฒิ // นางสาวเพ่อื งลดั ดา ดวนขนั ธ นายเอกรัฐ รมิ าชยั // นายกันตธ ีรพ ฒั น อยแู กว // นางสาวโชติกา ตงศริ ิ นางสาวอรอุมา สงวนชีพ // นางสาววรรณรตั น แสงสวุ รรณ นางสาวธญั ญารัตน รตั นถาวร // นายกมลสวุ รรณ ประวฑั ฒะนา นายนัฐพงศ อน ตระการ

?โรงเรียนอีโคสคลู คืออะไร 3

นิยาม โรงเรียนอโี คสคลู (Eco-School) คือ โรงเรียนท่มี ีการพัฒนาโรงเรยี นทั้งระบบ (Whole School Approach) เพ่อื สนับสนนุ กระบวนการเรยี นรทู ่สี งเสริมและพฒั นานกั เรียน ใหเติบโตขนึ้ เปนพลเมืองทีม่ คี วามรับผิดชอบ ตระหนักตอปญ หาสิ่งแวดลอ ม และการพฒั นาของทองถ่นิ มีความรู ความเขาใจ อันเปน ผลจากกระบวนการเรยี นรแู ละการลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ และพรอมที่จะเขาไปมบี ทบาทในการปองกัน ฟน ฟู รักษา และใชประโยชนจากส่งิ แวดลอมอยา งย่งั ยนื ตอไป 4

โรงเรยี นอีโคสคูล (Eco-School) หรือ โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม มีจุดเริ่มตนมาจาก การรวบรวมประสบการณการทำงานของบุคลากรหลักจาก ศูนยสิ่งแวดลอมศึกษาระดับจังหวัด ที่ตองการจะเห็นการพัฒนา กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษา (Environmental Education) ในโรงเรียน ที่ตอบสนองเปาหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) โดยทโ่ี รงเรียนสามารถดำเนนิ การ ไดอยางกลมกลืนไปกับมิติการเรียนรูตาง ๆ ของนักเรียน ทั้งในโรงเรียน ที่บาน ในชุมชนและสังคมภายนอกและที่สำคัญ ตองไมเ ปนการเพมิ่ ภาระงานใหก บั โรงเรียน 5

เปา หมายของ โรงเรยี นอโี คสคลู เปา หมายสงู สดุ ของโรงเรียนอีโคสคูล คอื การพฒั นานกั เรยี นใหเตบิ โตขึ้นเปน “พลเมือง” ที่ใชชวี ติ อยาง “พอเพยี ง” เพ่อื สังคม และสิง่ แวดลอมท่ี “ย่งั ยืน” 65

การดำเนินงาน อขอีโงคโรสงเครียูลน 7

การดำเนนิ งาน การดำเนนิ งานของโรงเรียนอโี คสคลู จะใชหลกั การจดั การโรงเรียนทั้งระบบ (Whole School Approach) เปน แนวทางในการบริหารจัดการ โดยกำหนดเปนพนั ธกิจหลกั 4 ดาน ที่เปรยี บเสมอื น “ฟนเฟอ ง” ในการขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานโรงเรยี นอโี คสคูล 8

การมีสว นรวม นโยบาย แสล่งิ ะแเควรดอื ขลาอยดมาศนกึ ษา โดคารนงสส่งิ รแาวงดกลาอมรศบกึ รษาหิ แาลระ จัดการ การจัด เกรระีบยวนนกรารู การจัดการทรัพยากร ใ น โ ร ง เ ร ี ย นธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 9

พันธกิจที่ 1 นโยบายดา นส่งิ แวดลอ มศกึ ษา และโครงสรา งการบรหิ ารจดั การ 10

โรงเรียนอโี คสคูล ตองกำหนดนโยบาย วสิ ยั ทัศน และ โครงสราง การบริหารงานดา นสิ่งแวดลอมศกึ ษาที่ “ชัดเจน” และ“เออ้ื ” ตอ การนำนโยบาย ไปสูการปฏบิ ตั ิภายในโรงเรียนและชมุ ชน นโยบายทช่ี ัดเจน เปรยี บเสมือนเข็มทศิ ทจี่ ะชว ยใหท ุกฝายในโรงเรยี น สามารถดำเนนิ การไปในทิศทางเดยี วกัน พนั ธกิจน้คี ือ กญุ แจดอกแรกสูความสำเร็จ ของโรงเรยี นอีโคสคูล เพราะเปน พันธกจิ ที่เกยี่ วขอ งกบั ผบู ริหารโรงเรียนโดยตรง 11

พนั ธกิจท่ี 2 การจัดกระบวนการเรยี นรู 12

โรงเรยี นอีโคสคูล ตอ งใหความสำคัญกับ การจัดกระบวนการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษาที่หลากหลาย เนนการจัดการเรียนรูที่เชื่อมโยงกับประเด็นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของทองถิ่น รวมถึงการใชประโยชนจากแหลงเรียนรูในโรงเรียนและชุมชน ในการจดั การเรยี นรูโดยควรจัดกระบวนการเรยี นรูใหครอบคลมุ ทง้ั ... การเรยี นรู เกีย่ วกับ ส่ิงแวดลอ ม การเรียนรู ใน ส่ิงแวดลอม และ การเรียนรู เพอื่ สิง่ แวดลอม Learning ABOUT - IN - FOR Environment 13

พนั ธกิจที่ 3 การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอ มในโรงเรยี น 14

โรงเรียนอโี คสคลู ตองมีการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ภายในโรงเรียน ที่เอื้อใหนักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียน เกิดการเรียนรู ฝกฝนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อไมใหสงผล หรือสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด ซึ่งโรงเรียนสามารถนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกตใชกับพันธกิจนี้ไดเปนอยางดี เพื่อนำไปสูการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ไดอ ยา งเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน 15

พันธกิจนี้ จะใหความสำคัญกับการจัดการสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียน ไดแก การอนรุ กั ษดนิ - น้ำ - พลังงาน - ความหลากหลายทางชีวภาพ การจัดการขยะ การจัดการน้ำเสีย การลดการใชสารเคมี การบริโภคที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การจัดการพื้นที่สีเขียว รวมถึงการจัดซื้อ - จดั จา ง และการใชวัสดุอปุ กรณท ่ีเปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอ ม ฯลฯ ท้ังน้ี เปาหมายหลักเพอ่ื ใหโ รงเรยี นเปน “แบบอยา ง” หรือ“สงั คมจำลอง” สำหรบั นกั เรียนครูและบุคลากรในโรงเรียนไดมสี ว นรว ม และฝกปฏบิ ตั ิ ใหเ ปน วถิ ีชีวิตประจำวัน 16

พันธกจิ ท่ี 4 การมสี วนรว มและเครือขาย ดานสง่ิ แวดลอ มศกึ ษา 17

โรงเรียนอีโคสคูล ควรเปดโอกาสใหผูปกครอง ชุมชน ตลอดจนหนวยงานหรือองคกรตาง ๆ เขามา มีสวนรวมในการ ดำเนินงานของโรงเรียน รวมถึงการแสวงหาความรวมมือจาก หนวยงานตาง ๆ ในทองถิ่นใหเขามาสนับสนุนการดำเนินงานตามพันธกิจ ของโรงเรยี นอโี คสคูล พันธกิจนี้ถือเปน กลไกสำคัญ ที่ชวยผลักดันและขับเคลื่อนโรงเรียน อโี คสคลู ใหบ รรลผุ ลสำเร็จ สามารถดำเนินการไดอยา งตอ เนื่องและยัง่ ยนื โดยโรงเรียนควรสงเสริมใหเกิดการมีสวนรวมในทุก ๆ ระดับ ทั้งภายใน โรงเรียน ระหวางโรงเรียนกับชุมชน รวมถึงระหวางโรงเรียนกับ หนวยงานหรือองคกรตาง ๆ ที่มีสวนสำคัญในการสนับสนุนการ ดำเนนิ งาน และการจดั กระบวนการเรยี นรขู องโรงเรียน 18

19

? โรงเรียนอีโคสคูล มกี ีร่ ะดบั 20

3โรงเรียนอีโคสคลู 1 ร(Bะeดgบั iตnnน er) 2 ร(Iะnดteบั rกmลeาdงiate) แบงระดบั การดำเนินงาน ออกเปน ระดบั 3 ร(Aะdดvับaสnงู ce) โดยทกุ โรงเรยี นจำเปน ตอ งเร่ิมที่ ระดบั ตน เพอ่ื สรา งฐานความเขาใจ และเตรียมความพรอ มสำหรบั การ พฒั นาโรงเรยี นทง้ั ระบบ ตามพนั ธกิจ 4 ดา น 21

ระดับตน Beginner เปด รบั สมัครโรงเรียน ท่สี นใจทกุ สงั กดั ตั้งแตร ะดบั ประถมศกึ ษาตอนตนจนถึงมัธยมศึกษา ตอนปลายหรอื เทยี บเทา ทมี่ ีความสนใจและดำเนนิ งาน ดานสิ่งแวดลอ ม ทง้ั ในระดับโรงเรยี นและชมุ ชน ตลอดจนการพฒั นานักเรยี นใหเ ติบโตขึ้นเปนพลเมอื ง ทีม่ คี วามรบั ผิดชอบตอ สังคมและสิง่ แวดลอ ม 22

เง่ือนไขการดำเนนิ งาน ไมมี ขอคงณุ โรสงมเรบยีตั นิเฉทพีส่ ามะัคร ทำแบบประเมนิ ตนเอง กอนเริ่มดำเนนิ โครงการ ขอกำหนดการสมคั ร ไมมี เขารับการฝกอบรมฯ กอ นเร่มิ ดำเนินโครงการ ขอกำหนดการดำเนินงาน ดำเนินงานครบถวนท้ัง 4 พันธกิจตามทก่ี ำหนด สงรายงานผลการดำเนินงาน (สำหรบั ระดับตน ) ตามแบบฟอรม ท่ีกำหนด ทำแบบประเมนิ ตนเองหลงั การดำเนนิ งาน สถาอนะีโคขสอคงลูกา(รรเะปดน ับโตรงน )เรียน 3 ป (เริม่ นับจากปที่ไดรบั เกยี รตบิ ัตร) 23

ระดับกลาง Intermediate รบั สมัครจากโรงเรียน อโี คสคูลระดับตน ท่สี นใจพัฒนาตอยอดการดำเนนิ งานโรงเรยี นอโี คสคลู ยกระดบั ทกุ ๆ พันธกิจใหมคี วามเขมขนข้นึ โดย ใหค วามสำคญั กบั พนั ธกจิ ท่ี 2 การจดั กระบวนการเรยี นรเู ปนหลกั โดยเนน “กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษา” ตามแนวทาง การจัดกระบวนการเรียนรบู นั ได 7 ข้นั โดยโรงเรยี นจะไดร ับการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร เพื่อสนับสนนุ การดำเนินงานตามพนั ธกิจที่ 2 ผา นการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการ ท่จี ดั ข้นึ โดย กรมสงเสริมคุณภาพสง่ิ แวดลอ ม 16 24

เง่ือนไขการดำเนนิ งาน ขอคงณุ โรสงมเรบียตั นเิ ฉทพส่ี ามะคั ร เปนโรงเรียนอีโคสคูลระดบั ตน และเกียรติบตั รยงั ไมหมดอายุ ทำแบบประเมนิ ตนเอง กอ นเรม่ิ ดำเนนิ โครงการ ขอกำหนดการสมัคร กอเขนาเรรับ่มิ กดาำรเนฝินกโอคบรรงมกฯาร ผูบริหารสถานศกึ ษาและครผู ูรบั ผิดชอบเขา รบั การ ฝกอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารส่งิ แวดลอ มศกึ ษาและ แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรบู ันได 7 ขน้ั (7 Steps) ขอ กำหนดการดำเนนิ งาน ดำเนนิ งานครบถว นทั้ง 4 พนั ธกิจตามท่ีกำหนด สง รายงานผลการดำเนินงาน (สำหรบั ระดบั กลาง) ตามแบบฟอรม ท่ีกำหนด ทำแบบประเมนิ ตนเองหลังการดำเนนิ งาน สถานะของการเปน โรงเรียน 3 ป (เริม่ นบั จากปที่ไดร บั เกียรตบิ ัตร) อโี คสคลู (ระดับกลาง) 17 25

ระดับสูง Advance รับสมคั รจากโรงเรียน อโี คสคูลระดับกลาง ที่มคี วามพรอมและสนใจพัฒนาตอยอดงานโรงเรยี นอีโคสคูล เพือ่ กา วสูระดบั สงู (Advance) โดยโรงเรยี นจะตองดำเนินการ ทั้ง 4 พนั ธกิจ อยางเปน รปู ธรรม และโรงเรยี นจะตองมี รายวชิ าเพม่ิ เติมเกยี่ วกบั สง่ิ แวดลอ ม อยางนอย 1 ชน้ั เรยี น และดำเนนิ การสอนตลอดปก ารศึกษา โรงเรียนจะไดรับการพัฒนาศกั ยภาพ และจะมีการ ลงพื้นที่เพื่อนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน บคุ ลากรเพื่อการดำเนนิ งานผานการ ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร และใหคำแนะนำโดยคณะกรรมการ - สง่ิ แวดลอมศึกษา ซึ่งประกอบดวย ศึกษานิเทศหรือ - การจดั ทำหลกั สูตรโรงเรยี นอโี คสคูล บุคลากรที่เกี่ยวของ ที่ไดรับการ แตงตั้งโดยกรมสงเสริมคุณภาพ (รายวชิ าเพิ่มเตมิ ) สิ่งแวดลอม เพื่อสนับสนุนการ ดำเนินงานตามพันธกิจที่ 2 26

เง่ือนไขการดำเนนิ งาน คณุ สมบัตเิ ฉพาะ เปนโรงเรียนอโี คสคลู ระดับกลาง ของโรงเรียนที่สมคั ร และเกยี รตบิ ัตรยังไมห มดอายุ ทำแบบประเมินตนเอง กอ นเรม่ิ ดำเนนิ โครงการ ขอกำหนดการสมัคร กเอ ขนาเรรับ่มิ กดาำรเนฝนิ กโอคบรรงมกฯาร ผบู รหิ ารสถานศึกษาและครูผูร บั ผดิ ชอบเขา รับการ ฝกอบรมเชิงปฏิบตั ิการสิ่งแวดลอมศกึ ษาและ การจดั ทำหลกั สตู รโรงเรยี นอโี คสคลู (รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ) ตามกระบวนการเรียนรบู ันได 7 ขั้น ขอ กำหนดการดำเนนิ งาน ดำเนินงานครบถวนทง้ั 4 พันธกิจ สง รายงานผลการดำเนนิ งาน (สำหรบั ระดับสงู ) ตามแบบฟอรมทีก่ ำหนด ทำแบบประเมนิ ตนเองหลงั การดำเนินงาน สถานะของการเปนโรงเรียน ไมม กี ำหนดระยะเวลา อโี คสคูล (ระดบั สงู ) 27

ตกาา4มรดพำดเนันาินธนงกานิจ 28

เริม่ ตน งา ย ๆ “ ”ดวยเคล็ดลบั ดงั น้ี 29





ทำความเขาใจ กับผูบริหารและ โรงเรียนตอง “สื่อสาร” นโยบาย คณะกรรมการสถานศึกษา (รวมถึง วสิ ัยทศั น/ อตั ลักษณ หรอื เอกลกั ษณ ครแู ละบคุ ลากร) ถงึ แนวคดิ / หลกั การ เพื่อใหทุกคนในโรงเรียนรับรูและ และประโยชนที่นักเรียนและโรงเรียน เขาใจอยางทว่ั ถงึ วา จะไดร บั จากการเปน โรงเรยี นอโี คสคลู โรงเรียนของเรา กำหนดนโยบาย/ วิสัยทัศน/ คือโรงเรียนอีโคสคูล อัตลักษณ หรือเอกลักษณ ที่ใหความ ตัวอยางวธิ ีการสือ่ สาร สำคัญกับสิ่งแวดลอมหรือการจัดการ - จดั ทำปา ยนิเทศติดบรเิ วณทีท่ กุ คน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สามารถมองเหน็ เชน บรเิ วณเสาธง/ ในโรงเรียนอยางชัดเจน ซึ่งจะเปน ทางเขา โรงเรียน เสมือน “เครื่องยืนยัน” ความยั่งยืน - ขึ้น Pop-up ในเวบ็ ไซต หรอื ของการดำเนนิ งานโรงเรยี นอโี คสคลู Facebook ของโรงเรยี น - การประกาศเสียงตามสาย โรงเรยี นอาจใชวธิ ีการ ... - ทำสปอตหรอื เพลงมารช เปดในทกุ พกั กลางวัน เปน ตน ผนวกนโยบายโรงเรียน อีโคสคูลรวมกับนโยบายเดิม ที่โรงเรียนมีอยูหรือกำหนดไวในแผน ปฏิบัติการของโรงเรยี น เพ่อื สือ่ ใหเ ห็น ถงึ ความเปน “โรงเรยี นอีโคสคูล” ใหความสำคัญกับการ “ตอยอด” งานเดมิ ไมใชก าร “ทำใหม” 30

ครทู กุ คน ควรมีความรู ความเขาใจ กระบวนการสงิ่ แวดลอ มศึกษา หรอื Environmental Education แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ตามหลกั การ “สง่ิ แวดลอ มศกึ ษา” ครตู อ งจดั การเรยี นรู “เกย่ี วกบั สง่ิ แวดลอ ม” (ABOUT) เพอ่ื เปน การปพู น้ื ฐานใหเ ดก็ ๆ ไดร แู ละเขา ใจถงึ สภาพแวดลอ ม (ภมู สิ งั คม - ระบบนเิ วศ) การใชป ระโยชน (ทง้ั ทางเศรษฐกจิ และสงั คม) ผลกระทบและปญ หาสง่ิ แวดลอ มทเ่ี กดิ ขน้ึ (หรอื กำลงั จะเกดิ ขน้ึ ) กบั ชมุ ชนของตน ครูตองจัดการเรียนรู “ในสิ่งแวดลอม” (IN) เพื่อเปดโอกาสใหเด็ก ๆ ไดเรียนรูจาก ของจริง และประสบการณตรง การที่เด็ก ๆ ไดเขาไปเรียนรูในพื้นที่ธรรมชาติ ในทองถิ่น และชุมชนของตน จะชวยใหเด็ก ๆ เขาใจวิถีชีวิตความเปนอยูของชุมชนของตนมากยิ่งขึ้น ไดเรียนรูเรื่องราวความเปลี่ยนแปลงของชุมชนในอดีตถึงปจจุบัน เกิดความรักและผูกพันกับ ทอ งถน่ิ และชมุ ชนของตนมากขน้ึ ครูตองจัดการเรียนรู “เพื่อสิ่งแวดลอม” (FOR) เพื่อเปดโอกาสใหเด็ก ๆ ไดแสดงออก ถึงความรับผิดชอบตอชุมชนของตนในฐานะที่เขาเปนทั้ง ผูใชประโยชน ผูมีสวนทำลาย และเปน ผมู ีสว นในการดแู ลรักษาสงิ่ แวดลอม 31

แหลง เรยี นรสู ำหรบั โรงเรยี นอโี คสคลู ในโรงเรยี น/ ชมุ ชน ไมจำเปนตองมีจำนวนมาก และแหลงเรียนรูนั้นจะตองไมฝนบริบทหรือฝนธรรมชาติของ โรงเรยี น เปน พน้ื ทท่ี ม่ี ปี ระโยชนแ ละเออ้ื ตอ การเรยี นรู สามารถรองรบั ผเู รยี นไดอ ยา งทว่ั ถงึ แหลงเรียนรูที่ดีจะตองจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการเรียนรู รวมถึงวัสดุ อุปกรณภายในแหลงเรียนรูอาจทำจากวัสดุที่หาไดงายในทองถิ่นหรือวัสดุที่นำกลับมา ใชใ หม (Reuse) เพอ่ื เปน แบบอยา งทด่ี ี และประหยดั งบประมาณ แหลงเรียนรูควร เชื่อมโยงเรื่องราว วิถีชีวิต และประสบการณจริงของทองถิ่น และควร สอดคลอ งกบั ความตอ งการ/ ความคาดหวงั ของโรงเรยี นและชมุ ชน ครูควรเนน การเรียนรูจาก ของจริง และประสบการณตรง ซึ่งการพาเด็ก ออกไปสำรวจชุมชน เด็ก ๆ จะสนุก ตื่นเตน และจะมีคำถามเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งหนาที่สำคัญของครูก็เพียงแค “ชี้แนะ” และ “กระตุน” ใหเกิดการเรียนรู 32

สง่ิ ทค่ี วรคำนงึ ในการจดั กระบวนการเรยี นรู ครจู ะตอ งคำนงึ ถงึ การจดั กระบวนการเรยี นรู ตามจติ วทิ ยาการเรยี นรแู ละเหมาะสมตามวยั ของผเู รยี น โดยเนน ทง้ั Head – Heart – Hand สำหรบั เดก็ อนบุ าล เนน กจิ กรรมทใ่ี ชป ระสาทสมั ผสั รบั รสู ง่ิ แวดลอ ม (Sensory Awareness) เชน กลน่ิ หอมหรอื สสี นั ในธรรมชาติ การใชส มั ผสั การฟง เสยี งธรรมชาติ การลองชมิ เปน ตน กจิ กรรมทเ่ี นน ใหเ ดก็ สนกุ เกดิ ความรสู กึ ชอบ ซาบซง้ึ ประทบั ใจในความงดงาม และความมหศั จรรยข องธรรมชาติ เรม่ิ ใหเ ดก็ รบั รถู งึ พฤตกิ รรมงา ย ๆ ทเ่ี หมาะสมตอ สง่ิ แวดลอ มทเ่ี ขาควรจะทำ เชน ทง้ิ ขยะใหเ ปน ท่ี ปด นำ้ ใหส นทิ ทกุ ครง้ั หลงั ใชง าน เปน ตน เนอ้ื หาไมค วรยาวเกนิ ไป สำหรบั เดก็ ประถม เนน เนอ้ื หา/ ขอ มลู สง่ิ แวดลอ มทม่ี ากขน้ึ จดั กจิ กรรมทเ่ี นน ดา นความรแู ละพฒั นาเจตคตทิ ด่ี ตี อ สง่ิ แวดลอ ม เรม่ิ สง เสรมิ ใหเ ดก็ รบั รถู งึ ปญ หาสง่ิ แวดลอ มทอ่ี ยรู อบตวั เขา สำหรบั เดก็ มธั ยมตน จดั กจิ กรรมทเ่ี นน ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหแ ละคดิ เชงิ สรา งสรรค เนน การพฒั นาเจตคติ และรถู งึ บทบาทของตนทเ่ี ปน ทง้ั “ผกู อ ” และ “ผแู กไ ข” ปญ หาสง่ิ แวดลอ ม สง เสรมิ ใหเ ดก็ ลงมอื แกไ ขปญ หาสง่ิ แวดลอ มงา ย ๆ ตามศกั ยภาพของเขา สำหรบั เดก็ มธั ยมปลาย จดั กจิ กรรมทเ่ี นน ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหแ ละคดิ เชงิ สรา งสรรค เนน ใหเ ดก็ รถู งึ บทบาทของตนในฐานะ “พลเมอื ง” ทต่ี อ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ ตอ สงั คมและสง่ิ แวดลอ ม สง เสรมิ ใหเ ดก็ ลงมอื แกไ ขปญ หาสง่ิ แวดลอ มตามศกั ยภาพของเขา 33 17

ควรมกี ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม ในโรงเรยี นทเ่ี ปน รปู ธรรม (สามารถมองเหน็ หรอื จบั ตอ งไดจ รงิ ) อยา งนอ ย 3 ประเดน็ เชน มถี งั ขยะแยกประเภท เลกิ ใชโ ฟม/ ถงุ พลาสตกิ การออกแบบอาคารทป่ี ระหยดั พลงั งาน รา นคา ทง้ั ในและนอกโรงเรยี นขายสนิ คา ทด่ี ตี อ สขุ ภาพและสง่ิ แวดลอ ม รว้ั โรงเรยี นและบรเิ วณโรงเรยี นปลกู พชื สมนุ ไพรทอ งถน่ิ มกี จิ กรรมรณรงคป ระหยดั ทรพั ยากรตา ง ๆ ทห่ี ลากหลาย มกี ารทำปยุ หมกั หรอื นำ้ หมกั ชวี ภาพจากเศษอาหาร/ ขยะยอ ยสลายได ใชว สั ดแุ ละผลติ ภณั ฑท เ่ี ปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอ ม เปน ตน สามารถ “เรม่ิ ตน ” ไดด ว ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เชน กิจกรรมตาง ๆ ในโรงเรียนควรเกิดขึ้น จากการใชก ระบวนการสง่ิ แวดลอ มศกึ ษา การกำหนดใหเ ปน นโยบายรว มกนั ใชโ อกาสเรม่ิ ตน จากวนั สำคญั ตา ง ๆ พแทลุกัฒะอทนส่ี ยาำผาคงูญัเรกีย“็จถนะทาเัท้งปำนHแไeลปaวโdด-สยHนeอุกaัต.r.tโ. -นHมaัตnิ”d เชน วนั ปใ หม วนั สง่ิ แวดลอ มโลก วนั สง่ิ แวดลอ มไทย เปน ตน และพยายามทำใหต อ เนอ่ื งเปน ประจำ ควรมีการเก็บขอมูลอยางเปนระบบ รว มมอื กบั หนว ยงานทพ่ี รอ มใหก ารสนบั สนนุ กจิ กรรมผา นโครงการตา ง ๆ เชน และเชื่อถือได ทั้งกอนและหลังทำกิจกรรม โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ โครงการมหงิ สาสายสบื เพื่อใชเปนฐานขอมูลสำหรับการประเมิน หอ งเรยี นประหยดั พลงั งาน สวนผกั คนเมอื ง, Green Ranger เปน ตน ความสำเรจ็ และความกา วหนา ของโครงการ รวมถึงเพื่อใชเปนแนวทางในการวางแผน พฒั นาโครงการตอ ไป 34

“เปดโอกาส” ใหผูที่มีสวนเกี่ยวของในทุก ๆ ระดับ (ทั้งบุคลากร ครู ผูปกครอง กรรมการสถานศึกษา และตัวแทนนักเรียน) มีสวนรวมในทุก ๆ ขั้นตอนของ การวางแผนและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในโรงเรียน (ทั้งการกำหนดเปาหมาย รวมรับรู รวมคิด รวมกันทำ รวมรับประโยชน และ รว มภาคภมู ใิ จ) การแบงความรับผิดชอบของนักเรียน ตวั อยา ง: แบง ความรบั ผดิ ชอบ ตามสี (กฬี าส)ี ในการดแู ลสง่ิ แวดลอ มแตล ะดา น โดยอาจแบง ความ พน้ื ทด่ี แู ลหรอื รบั ผดิ ชอบสง่ิ แวดลอ มตามสหี รอื เขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบ ตามระดบั ชน้ั เปน ตน ประเดน็ รบั ผดิ ชอบ สมี ว ง การจดั การขยะในโรงเรยี น สเี หลอื ง พน้ื ทส่ี เี ขยี วในโรงเรยี น สฟี า การจดั การ/ การประหยดั นำ้ มี “ชองทาง” หรอื “เวท”ี ทเ่ี ปด โอกาสใหค รใู นโรงเรยี นไดแ ลกเปลย่ี นเรยี นรรู ะหวา งกนั รบั ฟง คดิ เหน็ และขอ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นางานโรงเรยี นอโี คสคลู เชน หอ ง KM ทร่ี วบรวมแผนการจดั การเรยี นรขู องครทู กุ คนทค่ี รสู ามารถเขา มาศกึ ษาเรยี นรไู ด การจดั การเรยี นการสอนแบบ Team Teaching นทิ รรศการแสดงผลงาน โรงเรียนตอง “สื่อสาร” กิจกรรมตาง ๆ ดาน การนเิ ทศกนั เอง สิ่งแวดลอมที่โรงเรียนดำเนินการเพื่อใหทุกคนเขามา มีสวนรวม โดยการสื่อสารสามารถทำไดหลากหลาย รปู แบบ เชน การปฏิบัติตัวเปนแบบอยาง หรือหองเรียนตัวอยาง การ PR ผา นชอ งตา ง ๆ ไดแ ก ปา ยนเิ ทศ เวบ็ ไซตห รอื Facebook ของโรงเรยี น เสยี งตามสาย กจิ กรรมการประกวด/ เชดิ ชู การตดิ สตกิ เกอรร ณรงค เปน ตน 35

เปน โรงเรยี น อีโคสคลู แลว ไดอ ะไร ? 36

โรงชเุมรยีชนน สิง่ แวดลอม สิ่งแวดลอมในโรงเรยี น (และชมุ ชน) ดีขึ้น ชุมชนเหน็ ความสำคญั และเขามามีสวนรวมในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรขู องนกั เรยี น โรงเรยี นไดร ับการพฒั นาใหเปน “สงั คมจำลอง” และเปน “พื้นทเ่ี รยี นรู” ดา นการ จดั การทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ ม โรงเรยี นมีช่ือเสยี ง ไดรบั การยอมรับจากชุมชน และสามารถเปน แบบอยา งท่ดี ีใหกบั โรงเรยี นอ่ืน ๆ โรงเรยี นไดร บั โอกาสและการสนับสนนุ จากหนว ยงานตา ง ๆ ทงั้ หนวยงานของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม หนว ยงาน หรือองคก รท่ีทำงาน ดา นส่งิ แวดลอม/ การจัดกระบวนการเรยี นรู 37

ไดรับการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อสราง นกั เรียนใหเติบโตข้นึ เปน “พลเมือง” ทม่ี วี ถิ ชี ีวติ “พอเพียง” เพือ่ มงุ สสู งั คมและส่ิงแวดลอ มท่ี “ยั่งยืน” ครู ไดแ นวทางการจดั กระบวนการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21 ไดป ระสบการณการสอนนอกหองเรียนและแนวทาง ครู การจัดกิจกรรมทห่ี ลากหลาย ครู ผูบริหารโรงเรียนและ สามารถนำผลงานไปใชป ระกอบการประเมนิ วทิ ยฐานะได 38

นักเรยี น ไดเรียนรจู ากการปฏิบัตจิ ริง กลาพูด กลาแสดงความคดิ เหน็ และนำเสนอความคดิ ไดอยา งมเี หตผุ ล สามารถคดิ วเิ คราะหไดด ีข้นึ มีความตระหนกั รับผดิ ชอบ และดแู ลสภาพแวดลอ ม ในโรงเรียนและชมุ ชน รจู กั ชุมชนของตนและเขา ใจประเดน็ สิง่ แวดลอมของชมุ ชนมากยง่ิ ขึ้น เตบิ โตขึน้ เปน “พลเมอื งเพอ่ื ส่ิงแวดลอ ม” มจี ิตสำนึกรกั บา นเกิด 39

คุณลกั ษณะ สำคญั ขอองโี โครสงคเรูลียน 40

โมรกี งาเรรบยี รนหิทาง้ั รรจะดับกบาร มีการจัดการเรียนรู มุงสูการพัฒนาที่ยั่งยืน อยา งตอ เนอ่ื ง ตง้ั แตร ะดบั นโยบาย หลกั สตู รสถานศกึ ษาและการจดั การ โดยใช “กระบวนการ ดา นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดลอมศึกษา” เปนเครื่องมือ สง่ิ แวดลอ มในโรงเรยี น ในการจัดการเรียนรูที่หลากหลาย สอดคลอง กับบริบทของชุมชนและประเทศเพื่อพัฒนา ทักษะการเรียนรูตามศตวรรษที่ 21 มกี ารบรู ณาการ เมนีสนวกนรระวบมวจนากกทาุกรคน ประเด็นสิ่งแวดลอมทองถิ่นสูหลักสูตร ทั้งโรงเรียนและชุมชนทองถิ่น การเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนา ผูเรียน โดยเชื่อมโยงใหเห็นถึงความ โดยกระบวนการทำงานจะตองใหความ สัมพันธของประเด็นสิ่งแวดลอมใน สำคัญกับการมีสวนรวมทั้งจากผูบริหาร ระดับทองถิ่น ประเทศ ภูมิภาค และ โรงเรยี น ครู บคุ ลากรในโรงเรยี น นกั เรยี น ระดบั โลก และผแู ทนชมุ ชน โดยรว มกนั คดิ คน แนวทาง วิธีจัดการ ปองกัน และแกไขปญหา ชว ยเสรมิ พลังการ สง่ิ แวดลอ มของโรงเรยี นชมุ ชน ทำงานตามภารกิจ ของโรงเรียนที่มอี ยูเ ดิม ECO SCHOOL ใหมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น โดยไมเปนการเพิ่มภาระใหแกโรงเรียน 41

คุณพลลักษเมณอื ะขงอง เพอื่ สง่ิ แวดลอ ม (Environmental Citizen) 42

เปาหมายสูงสดุของโรงเรียนอีโคสคลู คอื พัฒนานกั เรียนใหเติบโตขึน้ เปน พลเมืองที่มีความรบั ผดิ ชอบ ตอสงั คมและสงิ่ แวดลอม โดยใชหลกั การจดั การโรงเรยี นทั้งระบบ (Whole School Approach) และนอ มนำหลักของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาเปนแนวทางในการดำเนนิ งาน “ ”เพ่ือใหเกดิ ความยง่ั ยืนข้นึ ในทอ งถ่ินและสงั คม 43

1พ1ลเปมือรงเะพกอ่ื สา่ิงรแวดลอ ม 1. รจู กั และเขา ใจชมุ ชนอยา งถอ งแท 2. ตดิ ตามขา วสาร สภาพและปญ หาดา นสง่ิ แวดลอ ม เศรษฐกจิ และ สงั คม อยา งตอ เนอ่ื งสมำ่ เสมอ 3. สามารถคาดการณถ งึ แนวโนม สถานการณป ญ หาสง่ิ แวดลอ มของชมุ ชนได 4. รถู งึ แนวทางปอ งกนั และแกไ ขปญ หาทเ่ี หมาะสมกบั สภาพสงั คมและบรบิ ททอ งถน่ิ 5. มจี ติ สำนกึ รกั ประเทศชาตบิ า นเกดิ 6. กลา แสดงความคดิ เหน็ ในเรอ่ื งตา ง ๆ ทเ่ี ปน ประโยชนต อ สว นรวมบนพน้ื ฐาน หลกั การประชาธปิ ไตย 7. ไมเ พกิ เฉยตอ ความอยตุ ธิ รรมในสงั คม 8. มวี นิ ยั และเคารพกฎกตกิ าของสงั คม 9. มสี ว นรว มในกจิ กรรมของชมุ ชนและสงั คมเมอ่ื มโี อกาส 10. มพี ฤตกิ รรมและใชช วี ติ ประจำวนั อยา งเปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอ ม 11. มคี วามเปน ผนู ำในงานหรอื กจิ กรรมการดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ ม 44

ขนั้ ตอน สูก ารเปน โรงเรยี นอโี คสคลู 45

ปฏิทินการรับสมัครเขารวมและดำเนินโครงการโรงเรียนอีโคสคูล ระดับตน พฤษภาคม ประชาสัมพันธโครงการ มิถุนายน - สิงหาคม เปดรับสมัครผานระบบออนไลน ตุลาคม ประกาศรายชื่อโรงเรียนที่ผานการพิจารณา พฤศจิกายน - กุมภาพันธ โรงเรียนดำเนินการ มีนาคม โรงเรียนสงรายงานสรุปผลการดำเนินงาน (ตามแบบฟอรมที่กำหนด) และทำแบบประเมิน ผลการดำเนินงานผานระบบออนไลน เมษายน ประกาศผลการพิจารณา โรงเรียนอีโคสคูล (ระดับตน) ประจำป 46

การพัฒนาโรงเรียนอีโคสคูลตองเริ่มตนดวยการสรางความรูความเขาใจ เกี่ยวกับ โรงเรียนอีโคสคูลใหทุกฝายที่เกี่ยวของ ตระเตรียมทีมงานที่จะทำหนาที่ขับเคลื่อนการ ดำเนินงาน และที่ขาดไมไดคือการสำรวจทุนเดิมที่โรงเรียนมีหรือดำเนินการอยูแลว โดยใชแบบประเมินตนเองตามพันธกิจทั้ง 4 ดานเปนกรอบในการประเมินความพรอม ของโรงเรียน 1 เตรียมความพรอมการตัดสินใจวาโรงเรียนตองการพัฒนาเปนโรงเรียนอีโคสคูลหรือไมนั้น ควรเกิดจากทุกฝายที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูบริหารโรงเรียน ครู นักเรียน กรรมการสถานศึกษา และผูแทนชุมชน ดังนั้น การเตรียมความ พรอมโดยการสรางความรู ความเขาใจถึงแนวทางในการดำเนินงาน โรงเรียนอีโคสคูล ขอดีและประโยชนที่จะไดรับใหแกทุกฝายที่เกี่ยวของ ไดรับรู จึงเปนกลไกสำคัญในการตัดสินใจที่จะเริ่มตนทำงานที่นำไปสู การยอมรับ และความรว มมือทด่ี ตี อ ไป ขน้ั ตอนนส้ี ำหรบั โรงเรยี นขนาดกลางและขนาดใหญจ ะยงุ ยากกวา โรงเรยี น ขนาดเลก็ ทส่ี ามารถสอ่ื สารกบั ทกุ ฝา ยไดง า ยและทว่ั ถงึ จงึ จำเปน ทโ่ี รงเรยี น ขนาดกลางและขนาดใหญต อ งดำเนนิ การในขน้ั ตอนนห้ี ลายครง้ั โดยในครง้ั แรก ๆ อาจเปนการสรางความรูความเขาใจเบื้องตนเพื่อประเมินความ เปนไปไดของทุกฝายวาเห็นดวยกับการพัฒนาโรงเรียนใหเปนโรงเรียน อีโคสคูลหรือไม จากนั้นจึงเปนการเสริมและเติมเต็มความรู ความเขาใจ ในระหวางดำเนนิ การควบคกู บั การเรยี นรูจ ากการปฏิบตั ิจรงิ ถึงแมวาผูบริหารโรงเรียนจะเปนผูริเริ่ม และใหความสำคัญกับการพัฒนาโรงเรียน อีโคสคูลก็ตาม แตอยางไรก็ดี การสราง ความเขาใจใหกับทุกฝายยังคงเปน กระบวนการสำคัญตอการสรางความ รวมมือในการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ อยางมีทิศทาง 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook