Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลด เลิก พลาสติก

ลด เลิก พลาสติก

Published by konmanbong_k3, 2021-10-18 09:26:55

Description: ลด เลิก พลาสติก

Search

Read the Text Version

กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม ลด เลิก พลาสตกิ 1

ลด เลิก พลาสติก สารบญั 2

กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม 4 6 10 บทนาำ ขยะพลภาาสพตรกิ วขมองโลก นวัตกพรรลมาสเปตลกิ ี่ยนโลก 12 14 16 20 อันดบั ประเทศ วฏั จกั รพลาสตกิ ภยั จาก ของไทย พลาสตกิ ท่ผี ลิตขยะพลาสตกิ และขยะทะเลมากท่ีสดุ ของโลก 20 22 24 แพขยะ ภยั รา้ ย อนภุ าคจ๋ิว พลาสติก กลางมหาสมุทร กบั โลกรอ้ น 26 32 เราทำาอะไรได้บ้าง ? ง่ายนดิ เดียว คณะผู้จัดทำา “แคค่ ิดกอ่ นใช้” 3

ลด เลกิ พลาสติก บทนำา ในแต่ละปี โครงการสิ่งแวดล้ อมแห่งสหประชาชาติ ดงั นนั้ เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงในการสร้างความตระหนกั (United Nations Environment Programme : UNEP) ต่อปัญหาขยะพลาสติกที่เกิดขึน้ จากพฤติกรรม ได้ก�าหนดประเด็นหลัก (Theme) ในการรณรงค์ การอปุ โภคบริโภคของพวกเราทกุ คน หนงั สอื เลม่ นีจ้ งึ เนอ่ื งในวนั สง่ิ แวดล้อมโลกให้เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั รวบรวมข้อมลู เกย่ี วกบั สถานการณข์ ยะพลาสตกิ ของโลก ทวั่ โลก โดยในปี 2561 ก�าหนดประเด็นหลกั ในการ และประเทศไทยเพอื่ เผยให้เหน็ ถงึ วกิ ฤตพลาสตกิ ล้นโลก รณรงค์คือ “Beat Plastic Pollution” หรือ “รักษ์โลก ทเี่ รากา� ลงั เผชญิ อยู่ รวมถงึ ความพยายามของประชาชน เลิกพลาสติก” เป็นการเชิญชวนให้ทุกคนร่วมกัน โลกในการแก้ปัญหา และไอเดียสร้างสรรค์ในการลด ลดใช้พลาสติก ซึ่งปัจจุบนั ขยะที่เกิดจากพลาสติก ขยะพลาสตกิ ในชวี ติ ประจา� วนั ด้วยหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ ได้กลายมาเป็นปัญหาใหญ่ของโลกและสง่ ผลกระทบ เรื่องราวในหนงั สอื เลม่ นี ้ จะทา� ให้สงั คมตระหนกั ถงึ สง่ิ ที่ ตอ่ ธรรมชาติ สตั ว์ป่า และสขุ ภาพของมนษุ ย์ เกดิ ขนึ ้ และชว่ ยกนั ลดปริมาณขยะพลาสตกิ ทอี่ ยใู่ นมอื แม้วา่ พลาสติกจะมีประโยชน์มากมาย แตพ่ ฤติกรรม เราทกุ คนให้น้อยลง ซง่ึ ทา� ได้งา่ ยๆ เพยี งแค่ รู้จกั ปฏเิ สธ การใช้ ของพวกเราทุกคนล้ วนท�าให้ ในแต่ละปี พลาสติกที่น�ากลบั ไปใช้ใหมไ่ มไ่ ด้ เทา่ นี ้ ความหวงั ท่ี เกิดขยะพลาสติกจ�านวนมหาศาล โดยเฉพาะ จะข้ามผา่ นวกิ ฤตพลาสตกิ ล้นโลกกไ็ มไ่ กลเกนิ เออื ้ ม พลาสติกที่ใช้ครัง้ เดียวแล้วทิง้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ ระบบนิเวศและตกค้างในสิ่งแวดล้อม ว่ากันว่า ใน 1 นาที ผ้คู นจากทว่ั โลกจะบริโภคน�า้ ดื่มจากขวด พลาสติก 1 ล้านขวด และในแต่ละปีจะมีปริมาณ ถงุ พลาสตกิ ทใ่ี ช้แล้วประมาณ5แสนล้านใบในจา� นวน นีก้ วา่ คร่ึงถกู ใช้เพียงครัง้ เดียว นอกจากนีท้ กุ ปีจะพบ ขยะพลาสติกปนเปือ้ นลงส่ทู ะเลและมหาสมทุ รเป็น จ�านวนมากประมาณ 4.8 - 12.7 ล้านตนั พลาสติกยังสามารถปนเปื อ้ นลงสู่แหล่งน�า้ และ เข้าสู่ร่างกายของเราผ่านทางห่วงโซ่อาหาร แม้ว่า นกั วทิ ยาศาสตร์จะยงั ไมฟ่ ันธงวา่ เมอื่ พลาสตกิ เข้าสู่ ร่างกายจะส่งผลกระทบอย่างไร แต่ด้วยความที่ พลาสติกประกอบไปด้ วยสารเคมีท่ีเป็ นอันตราย ห ล า ย ช นิ ด ท่ี ส่ง ผ ล ต่อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ฮ อ ร์ โ ม น ในร่ างกายและด้ วยคุณสมบัติของพลาสติก ซ่ึงสามารถท�าหน้ าที่เป็นแม่เหล็กดูดซับสารพิษ ในธรรมชาติ เช่น สารไดออกซิน โลหะหนัก และ สารก�าจดั ศตั รูพชื จงึ มคี วามเป็นไปได้วา่ เมอ่ื พลาสตกิ เข้าสรู่ ่างกายจะสง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของมนษุ ย์ 4

กรมส่งเสริมคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม 5

ลด เลกิ พลาสติก พลาสตกิ นวัตกรรมเปล่ียนโลก 6

กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม ในอดีตเราพ่ึงพาวสั ดจุ ากธรรมชาติเพื่อใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจ�าวัน จวบจนมีการประดิษฐ์คิดค้ น พลาสตกิ ขนึ ้ บนโลกเมื่อ 100 กวา่ ปีที่ผา่ นมา มนั ก็ได้ กลายมาเป็นนวตั กรรมที่เปลี่ยนโลกและเปลี่ยนรูป แบบการใช้ชวี ติ ของเราทกุ คนไปตลอดกาลพลาสตกิ ที่ เราใช้กนั อยทู่ กุ วนั นี ้เกิดขนึ ้ ในชว่ งคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อบริษัทผลิตลกู บิลเลียดแห่งหน่ึงในสหรัฐอเมริกา ประกาศให้รางวลั กบั ผ้ทู ่ีมีความสามารถคิดค้นวสั ดุ ทดแทนงาช้างเพอื่ ใช้ในการทา� ลกู บลิ เลยี ด ซงึ่ ในเวลานนั้ บิลเลียดเป็ นกีฬาที่ได้ รับความนิยมเป็ นอย่างมาก จึงท�าให้ช้างป่ าในแอฟริกาถูกล่าและลดจ�านวนลง อย่างรวดเร็ว จนเกือบสูญพันธ์ุมีผลท�าให้งาช้าง ขาดแคลน นายจอห์น เวสลยี ์ ไฮเอตต์ (John Wesley Hyatt) เป็นคนแรกที่คิดค้นพลาสติกก่ึงสงั เคราะห์ ชนิดแรกของโลกขึน้ และนั่นจึงเป็นจุดเริ่มต้นของ อตุ สาหกรรมพลาสตกิ ในเวลาตอ่ มา จอห์น เวสลีย์ ไฮเอตต์ (John Wesley Hyatt) เป็นคนแรกที่คดิ ค้นพลาสตกิ กงึ่ สงั เคราะห์ชนิดแรกของโลกขนึ ้ 7

ลด เลิก พลาสตกิ ด้วยคุณสมบัติของพลาสติกที่เหนียว น�า้ หนักเบา พลาสติกอยู่ทุกหนทุกแห่งจนถึงปัจจุบนั พลาสติก และยงั กนั น�า้ ได้ดี จึงท�าให้ผลิตภณั ฑ์จากพลาสติก สงั เคราะห์ส่วนใหญ่ที่เราใช้กันอยู่ทุกวนั นีผ้ ลิตจาก กลายเป็ นท่ีนิยมอย่างรวดเร็ว ประกอบกับใน น�า้ มนั ปิโตรเลยี มและก๊าซธรรมชาติ เรียกได้วา่ การถือ ช่วงต้นทศวรรษ 1960 มีการพัฒนากระบวนการ ก�าเนิดขึน้ ของพลาสติกถือเป็นการเปล่ียนโฉมหน้า ผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึน้ ย่ิงท�าให้ต้นทุนใน ของโลกใบนีไ้ ปตลอดกาล การผลิตลดต่�าลง จึงหันมาใช้พลาสติกเป็นวัสดุ ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ มากขึน้ จนในที่สุด พลาสติกก็เข้ ามาเป็ นส่วนหนึ่งในชี วิตประจ� าวัน ของเราทุกคน ท่ีไม่ว่าจะมองไปทางไหน ก็จะเห็น 8

กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม หากให้แต่ละคนลองนึกย้อนกลบั ไปว่าพลาสติกได้ เข้ามาเปล่ียนวิถีชีวิตของเราอยา่ งไร คนสว่ นใหญ่คง นึกถึงการน�าพลาสติกมาใช้เป็นบรรจภุ ณั ฑ์ประเภท ต่างๆ ท่ีใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบนั อาทิเช่น การใช้ถงุ พลาสตกิ แทนถงุ กระดาษ แตใ่ ครจะรู้บ้างวา่ ถงุ พลาสตกิ ท่ีใช้กนั ทวั่ ไปผลติ ขนึ ้ ครัง้ แรก เม่ือปี 1965 โดยบริษัทแห่งหน่ึงในประเทศสวีเดน จากนนั้ ไม่ถึง 15 ปี ถุงพลาสติกได้ ครอบครองส่วนแบ่งทางการ ตลาดร้อยละ 80 ในทวีปยโุ รป และเร่ิมขยายไปยงั ทวีปอเมริกา ในปี 1982 เครือข่ายซูเปอร์มาร์เก็ต ที่ ใ ห ญ่ ท่ี สุด ส อ ง แ ห่ ง ใ น ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า เ ริ่ ม หัน ม า ใช้ ถุงพลาสติก ต่อมาปลายศตวรรษที่ 20 ถุงพลาสติกก็เข้ ามาแทนที่ถุงกระดาษที่ใช้ กันอยู่ และแพร่หลายไปทว่ั โลก ส�าหรับคนไทยพลาสตกิ เริ่ม เข้ามาในชว่ งหลงั สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ถุงพลาสตกิ ท่ใี ช้กันท่วั ไป ผลิตขนึ้ ครัง้ แรก เม่ือปี 1965 โดยบริษัทแห่งหน่ึงในประเทศสวีเดน 9

ลด เลกิ พลาสตกิ ภาพรวม ขยะพลาสตกิ ของโลก มันมากขนาดไหนกัน ? 822,000 25,000 x ตกึ เอม็ ไพร์ สเตท (331,000 ตนั ) 1 พนั ล้าน 80 ล้าน x ช้าง (7.5 ตนั ) x วาฬสีน�า้ เงนิ (104.5 ตนั ) พลาสติกทใี่ ชแ้ ล้วจะถูกนาำ ไป รีไซเคลิ เผา ฝังกลบ 9% 12% 19% 10

กรมสง่ เสริมคุณภาพส่งิ แวดล้อม ตงั้ แต่ทศวรรษ 1950 จวบจนปัจจุบนั พลาสตกิ ท่ถี กู ผลติ ขนึ้ มามีปริมาณรวม 8,300 ล้านตนั ปรมิ าณการผลิตพลาสติกของโลก 1950 (พ.ศ.2493) 2 ล้านตนั 2017 (พ.ศ.2560) 8,300 ล้านตนั 2050 (พ.ศ.2593) 34,000 ล้านตนั ปรมิ าณขยะพลาสติก 2015 (พ.ศ.2558) 2050 (พ.ศ.2593) 6,300 12,000 ล้านตนั ล้านตนั 11

ลด เลกิ พลาสติก 20 อนั ดับประเทศทีผ่ ลิตขยะพลาสติก และขยะทะเลมากที่สดุ ของโลก จากรายงานการวจิ ยั ของนกั วทิ ยาศาสตร์กลมุ่ หนง่ึ ได้สร้างกระแสให้ประชาคมโลก หัน ม า ตื่ น ตัว กับ ปั ญ ห า ข ย ะ พ ล า ส ติ ก แ ล ะ ข ย ะ ท ะ เ ล ท่ี เ พิ่ ม จ� า น ว น ม า ก ขึ น้ อยา่ งรวดเร็ว กอ่ ให้เกดิ ปัญหามลพษิ สงิ่ แวดล้อมในวงกว้างในรายงาน Plasticwaste in puts from land into the ocean2 ซงึ่ รวบรวมข้อมลู ปริมาณขยะจากประชากร ทอี่ าศยั อยตู่ ามแนวชายฝั่งทะเลในระยะ 50 กโิ ลเมตรใน 192 ประเทศทว่ั โลก พบวา่ แต่ละปีมีขยะพลาสติกปนเปือ้ นลงส่ทู ะเลประมาณ 4.8-12.7 ล้านตนั และจีน เป็นประเทศท่ีผลติ ขยะพลาสตกิ มากท่ีสดุ ในโลก โดยมีประมาณ 8.82 ล้านตนั /ปี และยงั เป็นประเทศทสี่ ร้างขยะทะเลมากทส่ี ดุ ในโลกเชน่ กนั คดิ เป็น28เปอร์เซน็ ตข์ อง ปริมาณขยะทะเลทงั้ หมดบนโลก โดยในจ�านวน 20 ประเทศ ท่ีตดิ อนั ดบั สร้างขยะ ทะเลมากท่ีสดุ เป็นประเทศท่ีอยใู่ นทวีปเอเชียถงึ 13 ประเทศสา� หรับประเทศไทยที่ มีประชากร 65 ล้านคนซง่ึ น้อยกวา่ อินเดียหลายเทา่ (อินเดียมีประชากรประมาณ 1,000 ล้านคน) กลบั กลายเป็นประเทศที่สร้างขยะพลาสติกและขยะทะเลมาก เป็นอนั ดบั 6 ของโลก แซงหน้าอินเดียซง่ึ อยใู่ นอนั ดบั ท่ี 12 ไปอยา่ งไมน่ า่ เช่ือ 2Plastic waste in puts from land into the ocean, J. Jambeck et all., Science vol.347. no.6223, 13 Feb. 2015. Pp.768-771. 12

กรมส่งเสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม ประเทศ ปริมาณขยะ ปริมาณขยะพลาสติก ขยะในทะเล กก./คน/วนั (ล้านตนั /ป)ี (ล้านตนั /ปี) 1.จนี 1.10 8.82 1.32-3.53 2.อินโดนีเซีย 0.52 3.22 0.48-1.29 3.ฟลิ ิปปินส์ 0.50 1.88 0.28-0.75 4.เวยี ดนาม 0.79 1.83 0.28-0.73 5.ศรีลงั กา 5.10 1.59 0.24-0.64 6.ไทย 1.20 1.03 0.15-0.41 7.อยี ิปต์ 1.37 0.97 0.15-0.39 8.มาเลเซยี 1.52 0.94 0.14-0.37 9.ไนจเี รีย 0.79 0.85 0.13-0.34 10.บงั คลาเทศ 0.43 0.79 0.12-0.31 11.แอฟริกาใต้ 2.00 0.63 0.09-0.25 12.อนิ เดีย 0.34 0.60 0.09-0.24 13.แอลจเี รีย 1.20 0.52 0.08-0.21 14.ตรุ กี 1.77 0.49 0.07-0.19 15.ปากีสถาน 0.79 0.48 0.07-0.19 16.บราซลิ 1.03 0.47 0.07-0.19 17.เมียนมา 0.44 0.46 0.07-0.18 18.โมร็อกโก 1.46 0.31 0.05-0.12 19.เกาหลเี หนอื 0.60 0.30 0.05-0.12 20.สหรฐั อเมริกา 2.58 0.28 0.04-0.11 กรมควบคุมมลพิษ ระบุว่าในช่วง 10 ปี ท่ีผ่านมา ประเทศไทยมีขยะพลาสติกเกิดขึน้ ประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์จากปริมาณขยะทัง้ หมด หรือประมาณปี ละ 2 ล้านตนั ส่วนใหญ่เป็ นเศษขยะประเภทถุงพลาสตกิ อาทเิ ช่น ถุงหหู วิ้ ถุงร้อน และถุงเยน็ บรรจุอาหาร นอกจากนีย้ ังระบุ อีกว่า ในปี 2559 ปริมาณขยะของไทยอยู่ท่ี 27 ล้านตนั ในจา� นวนนีเ้ ป็ นขยะพลาสตกิ ถงึ 3.2 ล้านตนั ท่มี า : รายงานสถานการณ์มลพษิ ของประเทศไทย ปี 2559, กรมควบคุมมลพษิ 13

ลด เลิก พลาสตกิ วัฏจกั รพลาสติกของไทย การนำาเขา้ เม็ดพลาสติก 1.072 ล้านตนั 3.661 ลา้ นตัน การผลิตเมด็ พลาสติก ภายในประเทศ 8.515 ล้านตนั การสง่ ออกเมด็ พลาสตกิ 4.854 ลา้ นตัน 14

กรมส่งเสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม บรรจุภณั ฑ์ (PACKAGING) เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2.047 ลา้ นตนั (43%) (E & E) 0.723 ลา้ นตนั (15%) กอ่ สร้าง (CONSTRUCTION) 0.692 ลา้ นตนั (15%) การขนึ้ รูปผลติ ภณั ฑ์ ชน้ิ ส่วนรถยนต์ (AUTOPART) เพอื่ บรโิ ภค 0.315 ลา้ นตัน (7%) ภายในประเทศ เครอ่ื งใช้ในครัวเรือน (HOESEWARES) 4.733 ล้านตนั 0.192 ล้านตัน (4%) อื่นๆ 0.764 ล้านตัน (16%) ใช้ประโยชน์ ขยะพลาสติก (0.5 ลา้ นตัน) หลงั การบรโิ ภค 2.0 ลา้ นตนั ทิ้งท่วั ไป/ตกค้าง ไมใ่ ชป้ ระโยชน์ บนบก ในทะเล (1.5 ลา้ นตนั ) ฝังกลบ /เตาเผา 15

ลด เลกิ พลาสติก ภัยจากพลาสตกิ 16

กรมส่งเสริมคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม ถึงแม้พลาสติกจะมีประโยชน์และข้อดีมากมาย แต่ พาทาเลต (phthalates) เป็นสารเคมีชนิดหนง่ึ ท่ีผสม การน�าพลาสติกไปใช้ผิดประเภท ก็อาจเป็นอนั ตราย ลงไปในพลาสติกประเภทพีวีซี เพ่ือท�าให้พลาสติกมี ต่อสขุ ภาพได้ พลาสติกมีคณุ สมบตั ิท่ีแข็งแรงคงทน ความออ่ นนมุ่ และยืนหยนุ่ จงึ มกั พบสารพาทาเลตใน สามารถใช้งานได้นานแตใ่ นความเป็นจรงิ แล้วบรรจภุ ณั ฑ์ ผลติ ภณั ฑ์ประเภทของเลน่ หลอดดดู ฟิล์มหอ่ อาหาร จากพลาสติกสว่ นใหญ่ มกั มีอายกุ ารใช้งานสนั้ หรือ เป็นต้น พาทาเลตเป็นสารก่อมะเร็ง จากการทดลอง มกั ถูกใช้เพียงครัง้ เดียว จากนัน้ ก็ถูกทิง้ ให้เป็นขยะ ทางวิทยาศาสตร์พบว่า สารเคมีชนิดนีจ้ ะหลดุ ลอก ท�าให้เกิดขยะพลาสตกิ จ�านวนมหาศาล ซง่ึ เป็นภาระ ออกจากเนือ้ พลาสติกได้อย่างง่ายดาย เม่ือสมั ผัส ในการจดั เก็บและน�าไปก�าจดั โดยเฉพาะพลาสติกที่ กับความร้ อนและผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน ไมส่ ามารถน�ากลบั มาใช้ใหมไ่ ด้ จงึ ท�าให้พลาสติกซงึ่ อย่างกรณีของการน�าอาหารที่ห้มุ ด้วยฟิ ล์มพลาสติก ยอ่ ยสลายช้า ตกค้างอยใู่ นสง่ิ แวดล้อมเป็นเวลานาน ไปอ่นุ ในไมโครเวฟ อาจท�าให้สารดงั กล่าวปนเปือ้ น นอกจากนีด้ ้วยพฤติกรรมทิง้ ขว้างขยะอย่างไร้ส�านึก ลงสู่อาหารได้ หรื อกรณีของเล่นท่ีมีส่วนผสม จงึ มกั ท�าให้เกิดปัญหาตา่ งๆ ตามมา เชน่ ขยะอดุ ตนั ของพาทาเลต หากเด็กน�าเข้าปากก็จะได้รับสารนี ้ ท่อระบายน�า้ ท�าให้เกิดปัญหาน�า้ ท่วมขงั ปัญหาน�า้ เข้าสู่ร่างกายเช่นกัน ดังนัน้ ในบางประเทศ เช่น เสียจากขยะหรือการปนเปือ้ นของขยะ (ที่เกิดจาก สหภาพยโุรป และสหรัฐอเมริกา จึงออกกฎห้าม การจดั การอยา่ งไมเ่ หมาะสม) ในสง่ิ แวดล้อม สง่ ผล ผสมสารชนิดนีใ้ นของเล่นส�าหรับเด็ก หรือกรณีของ กระทบตอ่ ระบบนิเวศ และสดุ ท้ายผลกระทบเหลา่ นนั้ พอลิคาร์บอเนต ซ่ึงเป็นพลาสติกท่ีมีคณุ สมบตั ิแข็ง ก็ย้อนกบั มายงั พวกเราทกุ คน และใส จึงมกั น�าไปผลิตเป็นขวดน�า้ ด่ืม ขวดนมเด็ก และบรรจภุ ณั ฑ์ประเภทต่างๆ พลาสติกประเภทนีม้ ี สาร BPA เป็นองค์ประกอบหลกั ซง่ึ สารชนิดนี ้ หาก สะสมอยู่ในร่ างกายในปริ มาณมากจะท�าให้ ระบบ สืบพนั ธ์ผุ ิดปกติสง่ ผลให้เกิดโรคหวั ใจ ท�าให้ฮอร์โมน ในเพศชายมีการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการท�างาน ของสมอง ความจา� และการเรียนรู้ ทา� ให้เกดิ มะเร็งเต้า นม เป็นต้น ทงั้ นีส้ าร BPA จะหลดุ ออกจากพลาสตกิ เม่ือโดนความร้ อนและกรด ดังนัน้ หากเราเก็บ ขวดน�า้ ดื่มไว้ในท่ีที่ไม่เหมาะสม เช่น ในรถยนต์ ที่ต้ องโดนความร้ อนอยู่เป็ นประจ�า ก็จะท�าให้ สารเคมี BPA บนขวดพลาสติกสลายตัวละลาย ปนมากับน�า้ ด่ืมหรือการใช้ ขวดน�า้ พลาสติกซ�า้ หลายๆ ครัง้ ก็อาจท�าให้เกิดการปนเปือ้ นของสาร ดงั กลา่ วได้เชน่ กนั 17

ลด เลิก พลาสตกิ 18

กรมสง่ เสริมคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ส�าหรับการน�าพลาสติกชีวภาพมาใช้ในประเทศ แต่ ให้ราคาถกู ลง ประเทศไทยจ�าเป็นต้องมีการวจิ ยั และ ด้วยข้อจ�ากดั หลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการน�าเข้า พฒั นา เพ่ือให้ได้วธิ ีการใหมๆ่ ในการผลติ PLA จาก พอลแี ลคตคิ แอซดิ (Polylactic Acid - PLA) พลาสตกิ พืชที่มีในประเทศไทย นอกจากนี ้ในกระบวนการผลติ ที่สงั เคราะห์จากวตั ถดุ ิบทางธรรมชาติ เช่น ข้าวโพด พลาสติกชีวภาพ จะเกิดของเสียมากกว่าพลาสติก และมนั ส�าปะหลงั ท่ีมีราคาสงู กวา่ พลาสติกทว่ั ไปถึง ทวั่ ไป และผลผลิตที่ได้ก็น้อยกว่า รวมทงั้ ในขนั้ ตอน 3 เทา่ ทงั้ นีแ้ ม้วา่ ประเทศไทยจะมีวตั ถดุ บิ ดงั กลา่ วอยู่ การคดั แยกขยะ ต้องระมดั ระวงั ไมไ่ ด้พลาสตกิ ชวี ภาพ มาก แตก่ ไ็ มส่ ามารถน�ามาสกดั เป็น PLA ได้ เน่ืองจาก ปะปนกบั พลาสติกทวั่ ไป เม่ือน�ากลบั ไปเข้ากระบวน องคค์ วามรู้ในการผลติ PLAได้รบั การจดสทิ ธบิ ตั รไว้แล้ว รีไซเคิลจะท�าให้ มีความยุ่งยากในการผลิตและ ด้วยเหตุนีเ้ ราจึงต้องน�าเข้า PLA จากต่างประเทศ ท�าให้พลาสตกิ มีคณุ ภาพต่�า ไมส่ ามารถใช้งานได้ มาใช้ในการผลติ พลาสตกิ ชีวภาพ ดงั นนั้ หากต้องการ ไมค่ วรใชข้ วดนาำ้ พลาสตกิ ซ้าำ ขวดน�า้ ด่มื พลาสตกิ ผลติ จาก มีสัญลักษณ์ PET หรือ PETE ท่กี ้นขวด พลาสตกิ โพลเิ อทีลีนเทอพาทาเลต (POLYETHYLENE TEREPHTHALATE) ออกแบบมาเพื่อใช้เพียง ครัง้ เดียว ไมใ่ ห้ใช้ซ�า้ ขวดท่ีใช้แล้วควรน�าไปผา่ นกระบวนการรีไซเคลิ หากนาำ มาใช้ซา้ำ อนั ตรายจากการปนเปือ้ นของ จลุ นิ ทรีย์ หากท�าความสะอาดไมด่ ี สารอะชิทลั ดีไฮด์ที่แพร่ออกจากขวดเข้าไปปนเปือ้ นได้ องค์การพิทกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ของสหรัฐอเมริการะบุ “สารอะชิทลั ดีไฮด์” เป็นสารที่อาจก่อให้เกิดมะเร็ง มีผลตอ่ พฒั นาการทางสมอง 19

ลด เลกิ พลาสติก แพขยะ กลางมหาสมทุ ร 20

กรมส่งเสรมิ คุณภาพสิ่งแวดล้อม มหาสมุทรสีฟ้าครามท่ีครอบคลุมพืน้ ที่ส่วนมาก ข อ ง ผื น โ ล ก ก� า ลัง เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า แ พ ข ย ะ พ ล า ส ติ ก จ�านวนมหาศาลที่ลอยเกล่ือนอยู่บนผิวน�า้ และอีก ไม่น้อยท่ีจมลงส่ใู ต้ท้องทะเล ซ่ึงก�าลงั ส่งผลกระทบ ตอ่ ระบบนิเวศ หว่ งโซอ่ าหาร และสขุ ภาพอนามยั ของ พวกเราทกุ คน ขยะจ�านวนมากในทะเลสว่ นใหญ่เกิด จากกิจกรรมบนบกร้อยละ 80 เช่น ขยะจากชมุ ชน ขยะจากการท่องเท่ียวตามแนวชายฝ่ังทะเล ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่ เป็ นขยะท่ี ไม่ได้ รั บการจัดการอย่าง เหมาะสมจนกลายเป็นขยะตกค้าง อีกร้ อยละ 20 เกิดขึน้ จากกิจกรรมทางทะเล เช่น การท�าประมง การท่องเที่ยวและการขนส่งทางทะเล จากการ มาเปิดเผยของนกั วิทยาศาสตร์ในโครงการ Ocean Cleanup ท�าให้เราทราบวา่ มหาสมทุ รแปซฟิ ิกที่เคย ได้ขนึ ้ ชอื่ วา่ เป็นมหาสมทุ รทสี่ วยงามและอดุ มสมบรู ณ์ ไปด้วยทรัพยากรทางทะเล ทกุ วนั นีก้ ลบั กลายเป็นที่ สะสมของขยะจากทวีปอเมริกาและเอเชีย ซง่ึ ลอยกนั เป็นแพขยะขนาดมหมึ าทางตอนเหนือของมหาสมทุ ร ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าประเทศฝร่ังเศสถึง 3 เท่า (1.6 ล้าน ตร.กม.) และหากนา� ขยะเหลา่ นีม้ ารวมกนั ก็จะมีน�า้ หนักเกือบ 80,000 ตนั ซ่ึงขยะทะเลกอง ใหญ่ที่สุดในโลกนีเ้ พิ่มปริมาณมากขึน้ ทุกปี และ จะไหลวนตามกระแสน�า้ ในแปซิฟิ กเหนือไม่ไปไหน นอกจากนปี ้ ัจจบุ นั ยงั พบวา่ มีแพขยะแบบนีเ้กิดขนึ ้ อยู่ ในมหาสมทุ รอีก 4 แหง่ ทวั่ โลก ได้แก่ ทางตอนเหนือ และใต้ของมหาสมทุ รแอตแลนติก มหาสมทุ รอินเดีย และทางตอนใต้ของมหาสมทุ รแปซฟิ ิก มีการประเมิน กันว่าหากน�าแพขยะเหล่านีม้ ารวมกันจะมีขนาด เทา่ กบั ยโุ รปตะวนั ตกเลยทีเดียว 21

ลด เลกิ พลาสติก ภัยร้าย อนุภาคจิ๋ว ความนา่ สะพรึงกลวั อีกอยา่ งหนง่ึ ของขยะพลาสตกิ ท่ี พลาสตกิ ชนิ ้ จว๋ิ จงึ สามารถปนเปือ้ นเข้าสหู่ ว่ งโซอ่ าหาร ลอยอย่ใู นทะเลนนั่ ก็คือ เศษชิน้ ส่วนของพลาสติกท่ี และสง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม เพราะในพลาสตกิ มี มีขนาดเล็กไม่กี่มิลลิเมตรท่ีเรียกว่า ไมโครพลาสติก สารมลพิษท่ีตกค้างยาวนาน (Persistent Organic ซงึ่ มขี นาดเลก็ กวา่ 5 มลิ ลเิ มตร แบง่ เป็น 2 แบบ คอื Pollutants: POPs) เมอื่ สตั วน์ า� ้ กนิ ไมโครพลาสตกิ เข้าไป พลาสติกที่ถูกผลิตให้มีขนาดเล็กตัง้ แต่ต้น หรือท่ี ก็ จ ะ เ กิ ด ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ส า ร พิ ษ ใ น ห่ ว ง โ ซ่ อ า ห า ร เราค้นุ เคยกนั ดีในช่ือ ไมโครบีดส์ ท่ีใช้ในผลิตภณั ฑ์ ซงึ่ เม่ือเรานา� สตั วน์ า� ้ มารบั ประทานกอ็ าจจะพออนมุ าน ท�าความสะอาดผิวและเคร่ืองส�าอาง อีกประเภท ได้ว่า อาจเกิดการสะสมสารพิษในร่างกาย ซึ่งสาร หนึ่งเป็ นพลาสติกท่ีเกิดจากการแตกหักจนกลาย เหล่านีย้ ังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง มีผล เป็นชนิ ้ สว่ นเลก็ ๆ ซง่ึ กระบวนการดงั กลา่ วจะทา� ให้สาร ต่อระบบภูมิคุ้มกันโรค และระบบสืบพันธ์ุ แม้จะ แต่งเติมในพลาสติกหลุดออกมา ท�าให้โครงสร้ าง ยงั ไม่มีงานวิจัยท่ีบ่งบอกถึงผลกระทบจากการ ข อ ง พ ล า ส ติ ก เ กิ ด ก า ร แ ต ก ตั ว จ น มี ข น า ด เ ล็ ก รับประทานอาหารท่ีปนเปือ้ นเม็ดพลาสติกในมนษุ ย์ กลายเป็นสารแขวนลอยปะปนอยใู่ นแมน่ �า้ และทะเล แตน่ น่ั ก็ไมไ่ ด้หมายความวา่ มนั จะไมม่ ีผลกระทบ งานวิจัยหลายชิน้ ระบุตรงกันว่า ไมโครพลาสติก สามารถสะสมอย่ใู นแพลงก์ตอนและส่ิงมีชีวิตเล็กๆ ซึ่งเป็นอาหารของสตั ว์ จึงไม่น่าแปลกใจว่า ท�าไม 22

กรมส่งเสริมคุณภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ในปั จจุบันค้ นพบว่ามี การสะสมไมโครพลาสติก ในหอยแมลงภ่ผู ่านระบบทางเดินอาหาร คาดการณ์ ว่าไมโครพลาสติกเหล่านีอ้ าจมีผลในการท�าลาย เนอื ้ เยอ่ื หลอดเลอื ดหรือมผี ลกระทบตอ่ ระบบหวั ใจของ หอยแมลงภู่ นอกจากนีจ้ ากการศกึ ษาคณุ สมบตั กิ าร ปลดปลอ่ ยสารพษิ ของเมด็ ไมโครพลาสตกิ ยงั ทา� ให้เรา ทราบวา่ เมอื่ ไมโครพลาสตกิ อยใู่ นระบบนเิ วศทางทะเล และชายฝ่ังจะมกี ารสลายตวั และปลอ่ ยสารพษิ PAHs, PCBsและPBDEs4เมอ่ื ปลาหรือหอยกนิ เมด็ พลาสตกิ เหลา่ นีเ้ข้าไปจะได้รับผลกระทบจากสารพิษ ส�าหรับ ประเทศไทยมีรายงานการค้นพบไมโครพลาสติกใน สตั ว์ทะเลเปลอื กแขง็ จ�าพวกหอยในพืน้ ที่ชายฝั่งทะเล ตะวนั ออกโดยในรายงานเผยวา่ “พนื ้ ทเ่ี ศรษฐกจิ ชลบรุ ี” พบการปนเปือ้ นของไมโครพลาสตกิ เกินคา่ มาตรฐาน และพบมากที่สดุ บริเวณอ่างศิลา นอกจากนีไ้ มโคร พลาสติกยงั ท�าหน้าท่ีเป็นตวั กลางในการสะสมและ เคลอื่ นย้ายสารพษิ จากสง่ิ แวดล้อมเนอื่ งจากคณุ สมบตั ิ ของพลาสติกที่สามารถอ้มุ น�า้ ท�าให้สามารถดดู ซบั สารพิษตา่ งๆ ที่ปนเปือ้ นอยใู่ นธรรมชาติ และยงั เป็น ตวั กลางที่จะน�าพาสารพิษเหลา่ นนั้ ลงสแู่ หลง่ น�า้ และ ทะเล สดุ ท้ายก็ท�าให้เกิดการแพร่กระจายและสะสม สารพษิ ในสภาพแวดล้อมธรรมชาตติ ามมา 23

ลด เลกิ พลาสตกิ พลาสติก กับโลกร้อน หลายคนอาจคิดว่าขยะพลาสติกคงสง่ ผลกระทบตอ่ แมน่ �า้ ล�าคลอง และระบบนิเวศทางทะเลเทา่ นนั้ แต่ นั่นยังไม่ใช่ทัง้ หมดของผลกระทบที่พลาสติกมีต่อ โลกใบนี ้ เพราะในอีกมมุ หนึ่งท่ีหลายคนมองข้ามไป ก็คือการที่พลาสติกสว่ นใหญ่ได้มาจากอตุ สาหกรรม น�า้ มัน และการใช้ เชือ้ เพลิงฟอสซิลในการผลิต (ยกเว้นพลาสติกบางประเภทเท่านนั้ ที่ผลิตจากพืช) ดังนัน้ ในกระบวนการผลิตพลาสติก จึงต้องปล่อย มลพิษออกสชู่ นั้ บรรยากาศอยา่ งหลีกเลี่ยงไมไ่ ด้ เชน่ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ หรือแม้กระทงั้ มเี ทน ซง่ึ มศี กั ยภาพทที่ า� ให้เกดิ ภาวะโลกร้อนมากกวา่ คาร์บอนไดออกไซด์ถึง 23 เท่า โดยในกระบวนการ ผลิตพลาสติกของโลกต้องใช้ น�า้ มันประมาณ 8 เปอร์เซน็ ต์ของปริมาณทผ่ี ลติ ได้ในแตล่ ะปี5 สา� นกั งาน ปกป้องส่ิงแวดล้อม (Environmental Protection Agency-EPA) ของสหรัฐอเมริกา ประเมนิ วา่ 1 ออนซ์ ของพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (ท่ีใช้ส�าหรับผลิตขวด น�า้ ด่ืม PET) จะปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ออก มาประมาณ 5 ออนซ์ หรือ 141.74 กรัม ลองนกึ ดู วา่ ขวดพลาสติกจ�านวนมหาศาลที่ถกู ผลิตออกมาใน แตล่ ะปี จะปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากแคไ่ หน 5 Plastic Pollution Primer and Action Toolkit and Plastic Pollution Earth Day2018. Earth Day Network. 24

กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม 25

ลด เลกิ พลาสติก เราทำาอะไรได้บ้าง ? ง่ายนิดเดียว แค่คิดก่อนใช้ ถงุ พลาสติก เปน็ ของทีม่ ี อายุการใช้งานสน้ั พร้อมเป็นขยะทันทหี ลังการใช้ แตใ่ ชเ้ วลา ย่อยยาวนาน 450 ปี 26

กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ถุงมอื ใชซ้ า้ำ ได้ REUSE แทนการใช้ถุงมอื แบบใช้แลว้ ท้งิ ถงุ พลาสติกใช้ซาำ้ ใช้ใส่ส่งิ ของ เกบ็ ไปขายเพอื่ นำาไป ใชถ้ ุงพลาสตกิ ถงุ สาำ หรบั ใส่ รไี ซเคิล อย่างไร อโรมา ให้ค้มุ คา่ โดยใส่เศษเปลอื กไม้ ทีม่ กี ล่นิ หอม นำาซองนาำ้ ยาซักผา้ มาเป็น ถงุ ดำา ปลกู ต้นไม้ ถุงพลาสติกรองรบั ขยะ ลดการใช้ถงุ ดำา 27

ลด เลิก พลาสติก ลดรับ ลทดำาใคหว้ าลมดดใชีด้พ้วยลหาสัวตใจิกและโฟม 7 วิธี ลด เลิก พลาสติกและโฟม แบบเห็นผลในทันตา กรพะตกิกน้ำา ช่วยลดการใช้ขวดพลาสติกได้ ใช้ขวดพลาสติกซ้ำาๆ ลดการใช้ขวด พลาสติกได้ก็จริง แต่อาจปนเปื้อน สารเคมีจากพลาสติก ถถุงือผ้า พกพาไปไหนก็ได้ส่วนลด ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก มีส่วนลด หมดขยะ เลี่ยง พลาสติก ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ใช้ถุงพลาสติกหูหิ้ว ช้อนและส้อมพลาสติกเพียงไม่กี่นาที เป็นขยะหลายร้อยปีไม่คุ้มค่ากัน 28

กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม เลิก กลอ่ งโฟม ใชก้ ลอ่ ง/ปน่ิ โตดตี อ่ สขุ ภาพ ใช้กล่องโฟม สารสไตรีนจะปนเปอ้ื นอาหาร สะสมสาร ปรมิ าณมาก เสี่ยงเป็นมะเรง็ สงู กว่าปกติ 6 เทา่ เปลี่ยน หลอดพลาสตกิ มาดม่ื นาำ้ จากแกว้ หลอดพลาสตกิ พบมากที่สุด 1 ใน 5 ของ ขยะทะเลในประเทศไทย เลือก ผลิตภัณฑ์ยอ่ ยสลายงา่ ย นาำ กลับมาใชใ้ หมไ่ ด้หลายครัง้ ใชพ้ ลาสติก ชวี ภาพ บรรจภุ ัณฑจ์ ากวัสดธุ รรมชาติ เป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม รีฟิล ผลิตภัณฑ์แบบเติม ช่วยลดโลกรอ้ น ใช้พลาสตกิ ใชว้ ตั ถดุ บิ ที่อาศยั เช้อื เพลงิ ฟอสซลิ ในการผลติ ถา้ ใชน้ ้อย ก็ลดโลกร้อนได้ 29

ลด เลิก พลาสตกิ 30

กรมส่งเสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ในมอานกากควต่ามหปาสลมาุทรกจเ็ะปเต็นม็ ไปไปไดด้้วหยากขคยุณะพยงั ลเสาพสตติดิก การใชพ้ ลาสตกิ คร้งั เดยี วแล้วท้ิง ลดรับ ลดให้ ลดใช้ ถุงพลาสติก 31

ลด เลิก พลาสตกิ ลด เลกิ พลาสตกิ © สงวนลขิ สทิ ธ์ิ โดยกรมสง่ เสริมคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม แตหส่ ้าามมลาอรกถเทล�าียซน�า้ เทพ�า่ือซเ�าป้ ็นหวรือทิ ดยดัาทแปานลงโดเพยื่อกจาดรั ขจอ�าอหนนญุา่ ยาโตดจยามกิไเดจ้ร้าับขออนงลญุ ขิ าสตทิ ธ์ิ พมิ พ์คร้งั ท่ี 1 : มกราคม 2562 จาำ นวนพิมพ์ 4,000 เลม่ จดั ทาำ โดย กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม บรรณาธกิ ารบริหาร นายรัชฎา สรุ ิยกลุ ณ อยธุ ยา อธิบดีกรมสง่ เสริมคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม นายสรุ ชยั อจลบญุ รองอธิบดีกรมสง่ เสริมคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม บรรณาธิการทปี่ รกึ ษา นางภาวนิ ี ณ สายบรุ ี ผ้อู �านวยการกองสง่ เสริมและเผยแพร่ บรรณาธกิ าร นางสาวระเบียบ ภผู า ผ้อู �านวยการกลมุ่ สอื่ สงิ่ แวดล้อมและกิจการพิเศษ กองบรรณาธกิ าร นายบญุ สม สวุ รรณสขุ นายวรกร แต้น�าชยั นายสทุ ิน ค้มุ นนุ่ นายทิวากร วงศ์วานิชกิจ นายสญั ญา จงจิตร นางสาวศริ ิวรรณ ศริ ิเนตร นายเอกวฒั น์ นพาดั ยววี นนาสั ยสอนั าตณ์ิ เตัติม็แกพ้วร้เอพมช็ ร นางสาวณฐั กฤตา กจิ จารณชยั นางสาวทิพย์สคุ นธ์ จนั ทร นางสาวธนั วา สงิ ห์ครุ นายฐิตพิ งศ์ แสงรักษ์ นายอานนท์ นพปิยะ นางสาวสนุ ิสา ภิรมย์ นางสาวเพชรลกั ษณ์ โชควฒั นาสมบตั ิ นางสาวดอกอ้อ เทียมไธสง เอกสารอ้างองิ กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม. 2561. ลด เลกิ พลาสตกิ . กรุงเทพมหานคร: บริษัท ป่าฝน เนกซ์สเตป จ�ากดั . Design by STUDIO NHOKBANN 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook