วิจยั ในชัน้ เรียน เรอ่ื ง การพฒั นาการใชแ้ บบทดสอบออนไลน์สาหรบั นักเรียนระดับชั้น ปวช. ปที ี่ 1 แผนกวิชาอิเลก็ ทรอนิกส์ นายสถาพร ธรรมโม ตาแหนง่ พนักงานราชการครู ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 สาขาวิชาอเิ ล็กทรอนิกส์ วิทยาลยั การอาชพี สอง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
บทคัดยอ่ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพของการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้แบบทดสอบออนไลน์ผ่าน Google forms เพื่อนาไปใช้จัดการเรียนการสอนในสถานะการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดต่อโควิด-19 โดยกาหนดการทดลองกับกลุ่มประชากรนักเรียนนักศึกษา แผนกวิชา อิเล็กทรอนิกส์ ระดับชั้น ปวช.1 วิทยาลัยการอาชีพสอง จานวน 6 คน ระยะเวลาในการทดลอง จานวน 18 สัปดาห์
คำนำ การวจิ ยั ในชั้นเรียน การศึกษาการพัฒนาการการใชแ้ บบทดสอบออนไลน์สาหรบั นกั เรียนระดบั ช้ัน ปวช. ปีท่ี 1 แผนกวชิ าอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุดต่อตวั ผ้เู รยี น ขอขอบคุณผู้อานวยการ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานวิจัยและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และหัวหน้าแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีให้คาแนะนาในการดาเนินการวิจัยจนกระท่ังงานวิจัย สาเรจ็ ด้วยดี นายสถาพร ธรรมโม ครูผสู้ อน
สารบัญ หนา้ เรอ่ื ง ก ข บทคดั ย่อ ค คำนำ สำรบัญ 1 บทที่ 1 บทนา 1 1 1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ 1 1.2 วัตถุประสงค์กำรศึกษำค้นคว้ำ 1 1.3 สมมตุ ฐิ ำนกำรวจิ ยั 2 1.4 ขอบเขตของกำรศกึ ษำค้นควำ้ 1.5 ประโยชน์ทีค่ ำดว่ำจะไดร้ ับ 3 1.6 นิยำมศพั ท์เฉพำะ 4 6 บทที่ 2 เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง 6 2.1 กำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอน 2.2 ทฤษฎีกำรเรยี นร้แู ละส่ือกำรเรียนกำรสอนเพ่ือใหเ้ กิดกำรเรียนรู้ 8 2.3 ระบบสอบออนไลนจำก Google Form 8 2.4 งำนวจิ ยั ทเี่ กยี่ วของ 8 9 บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ การ 3.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง 12 3.2 กำรสรำ้ งเครอ่ื งมือ 13 3.3 กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3.4 กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู 13 13 บทที่ 4 ผลการดาเนินการ 14 4.1 ผลกำรวิจัย 4.2 สรปุ ผลกำรวจิ ัย บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 อภปิ รำยผลกำรศึกษำ 5.2 ขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หาในการวิจัย การเรียนการสอนในระบบการเรียนการสอนมีมากมายหลายรูปแบบ จุดมุ่งหมายเพ่ือให้มีการพัฒนา ผเู้ รยี นท้ังทางด้านวิชาการ ด้านทักษะกระบวนการ ด้านความร้คู วามสามารถ เพ่ือใหน้ ักเรียนได้มีความสามารถ ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือให้นักเรียนไม่เกิดความเบื่อหน่ายกับการเรียนการสอน การวัดผลและประเมินผล แบบเดิม ๆ จึงไดน้ าการวัดผลและประเมินผล โดยการใช้แบบทดสอบออนไลน์มาใหน้ กั เรยี นได้ลองใช้เพื่อจะได้ คุ้นเคยในการวิจัยได้ทาเป็นขั้นตอน และเป็นท่ีสนใจของนักเรียน เพื่อให้นักเรียน เรียนอย่างมีความสุขและมี ประสทิ ธภิ าพ 1.2 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 1.2.1 เพ่อื พัฒนาการวัดผลและประเมนิ ผลนักเรยี นโดยใช้แบบทดสอบออนไลน์ 1.2.2 เพื่อประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของแบบทดสอบออนไลน์ 1.2.3 เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอ่ แบบทดสอบออนไลน์ 1.3 สมมตุ ฐิ านการวิจัย นักเรียนทส่ี ามารถใช้แบบทดสอบออนไลน์ในการเรียนการสอนสามารถมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน มากกวา่ นักเรยี นท่ีไมส่ ามารถใช้แบบทดสอบออนไลน์ในการเรียนได้ 1.4 ขอบเขตของการวิจยั แบบทดสอบรูปแบบออนไลน์ท่ีสามารถเข้าถึง เนื้อหาและวิธีการเรียนที่มีความหลากหลายมากขึ้นใน รายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เพ่ือไปใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยคัดจาก กลุ่มเป้าหมายจานวนนักเรียน แผนกอิเล็กทรอนิกส์ ระดับช้ัน ปวช.1 วิทยาลัยการอาชีพสอง อาเภอสอง จงั หวัดแพร่ 1. ศกึ ษาโปรแกรมการทางานของแบบทดสอบออนไลน์ที่ครูผสู้ อนไดน้ ามาใชใ้ นการวดั ผลและ ประเมินผล เชน่ Google forms เป็นตน้ 2. ศกึ ษาหลักการทางานของของแบบทดสอบออนไลน์เพ่ือทจ่ี ะให้เกดิ ประสิทธิภาพของการเรยี นของ ผเู้ รยี นให้เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์จากแผนการเรียน 3. ใช้แบบทดสอบออนไลน์อยา่ งถกู วิธแี ละการวัดผลและการประเมนิ ผลอย่างถูกตอ้ ง ประเภทกลุ่มประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง ประชากร นักเรยี นแผนกอิเล็กทรอนิกส์ ระดบั ชนั้ ปวช.1 วิทยาลยั การอาชีพสอง อาเภอสอง จังหวดั แพร่ 1.5 ความสาคญั และประโยชนท์ ีจ่ ะไดร้ ับจากการวิจัย การวิจัยเรอื่ ง การพัฒนาการใช้แบบทดสอบออนไลนส์ าหรบั นกั เรียนระดับชนั้ ปวช. ปีท่ี 1
2 แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาใช้แบบทดสอบออนไลน์ได้ถูกต้องก่อนที่จะประเมินผลการ เรียนของนักเรียนนักศึกษา เพ่ือที่จะให้นักศึกษาเข้าใจดีก่อนท่ีจะนาอุปกรณ์มาใช้งานจริงและเพื่อท่ีจะให้รู้จัก ในหลกั การทางานของอปุ กรณ์ท่ถี ูกต้องยิง่ ขึ้น 1.6 นิยามศัพท์ หลกั ในการการแบบทดสอบออนไลน์ จะต้องมีความรู้เร่ืองโปแกรมพ้ืนฐานโดยท่ัว ๆ ไป และรู้จัก เครอื่ งมือและอุปกรณ์ท่ีใช้ในการทาแบบทดสอบออนไลน์ เพ่ือให้การใช้งานถูกต้องตามมาตรฐานสากล ดังน้ัน การเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์จึงเป็นส่วนสาคัญ เพราะการเลือกใช้อุปกรณ์ และเทคนิคการใช้เครื่องมือท่ี ถกู ตอ้ งเสมอ
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ในการวิจัย เพ่ือหาประสิทธิภาพการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาการ วดั ผลและประเมินผลนกั เรียนโดยใช้แบบทดสอบออนไลน์ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพื่อ ใช้ในการกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั ดงั นี้ 1. การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ในการจัดการเรยี นการสอน 2. ทฤษฎีการเรียนรู้และสื่อการเรียนการสอนเพ่อื ให้เกิดการเรยี นรู้ 3. ระบบสอบออนไลนจาก Google Form 4. งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วของ 2.1 การพฒั นาสื่อออนไลนใ์ นการจัดการเรียนการสอน การรพฒั นาการเรียนรูแ้ ละการพัฒนานักเรียนเป็นปัจจัดหลักที่สาคัญในการจัดกระบวนการให้ผู้เรียน เข้าสูม่ าตรฐานและไดร้ ับการพฒั นาตนเอง กระบวนการจดั การศึกษาต้องยึดหลักวา่ ผเู้ รยี นทุกคนมีความสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเองได้ และ ถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติ และเตม็ ศกั ยภาพ” ผู้สอนจึงจาเปน็ ต้องปรับเปล่ยี นบทบาทของตนเองจากการเป็นผบู้ อกความร้ใู หจ้ บไปในแต่ละครั้งที่เข้า สอนมาเป็นผู้เอื้อ อานวยความสะดวก(Facilitator)ในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนกล่าวคือเป็นผู้กระตุ้นส่งเสริม สนับสนุนจัดสิ่งเร้าและจัดกิจกกรมให้ผู้เรียน เกิดการพัฒนาให้เต็มตามศักยาภาพ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล การจัดกิจกรรมจึงต้องเป็นกิจกรรมที่ ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สร้างสรรค์ศึกษาและค้นคว้าได้ลงมือปฏิบัติจนเกิดการเรียนรู้และค้นพบความรู้ด้วยตนเองเป็นสาระ ความรู้ ด้วยตนเอง รักการอ่าน รักการเรียนรู้อันจะนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต(Long-life Education) และเป็น บุคคลแห่งการเรียนรู้ (Learning Man ) ผู้สอนจึงต้องสอนวิธีการแสวงหาความรู้ (Learn how to learn ) มากกวา่ สอนตัวความรู้ การพัฒนาเพื่อยกระดบั คณุ ภาพนักเรยี นจึงต้องจดั ระเบียบและข้ันตอนดงั นี้ 1. วเิ คราะหส์ ภาพทั่วไปของสถานที่ ห้องเรียนและตัวผู้เรยี น 2. พัฒนาโดยการวิเคราะห์หลักสูตร เพ่ือพัฒนานวัตกรรมในแต่ละบทเรียนโดยเน้นด้านความรู้และ ด้านกระบวนการ 3. พัฒนาจดั หาส่ือ เคร่อื งมือช่วยในการใช้สื่อการสอน ICT ช่วยในการจดั การเรียนรู้ 4. สรา้ งและพัฒนานวัตกรรมและกิจกรรมท่ีหลากหลายให้ผู้เรียนได้รับองค์ความรู้และสนุกสนานกับ การเรียนรกู้ จิ กรรมต่าง ๆ 5. ปรบั เปลยี่ นห้องเรยี นให้มบี รรยากาศเปน็ ห้องเรียนแหง่ การเรยี นรู้ 6. เช่ือมโยงห้องเรียนให้มีองค์ความรู้ในห้องและนอกห้องเรียนสู้องค์ความรู้ท่เป็นสากลโดยใช้ส่ือท่ จัดทาข้นึ เองและส่อื ออนไลน์ 7. มกี ารวัดผลประเมนิ ผลเพ่อื การพฒั นาผู้เรยี นไปส่เู ปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้ ตลอดจนสนับสนนุ ผทู้ ีเ่ รียนดี เก่ง ให้ได้ศึกษา และซอ่ มเสริมนกั เรียนที่อ่อนโดยใช้บทเรียนออนไลน์และบทเรียนสาเร็จรปู ร่วมกบั ผ้ปู กครอง 8.ประเมนิ ผลทุกระยะ เพื่อใหท้ ราบสภาพจริง แก้ไขและวางแผนพัฒนาผู้เรียนอยา่ งตอ่ เนื่อง
4 2.2 ทฤษฎีการเรยี นรู้ องค์ประกอบการเรียนรู้ และส่ือการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ โดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ช่วยสอนวิชาอิเล็กทรอนิกส์กาลัง นั้น ผู้วิจัยได้อาศัยแนวคิดจากทฤษฎีเรียนรู้ต่างๆ มาใช้เป็นแนวทางในการ พัฒนาสือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์เพ่อื พฒั นานักเรียนทเี่ รียนวชิ าน้ี ดังนี้ 2.2.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ สาหรับ http : // www. Nectec.or.th / courseware /cai /, 15 สิงหาคม 2549. ได้กล่าวถึง ทฤษฎีการเรียนร้ขู องกาเย่ ไวด้ งั นี้ 2.2.1.1 การจูงใจ (Motivation Phase) การคาดหวงั ของผู้เรยี นเปน็ แรงจงู ใจในการเรยี นรู้ 2.2.1.2 การรับรู้ตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ (Apprehending Phase) ผู้เรียนจะรับรู้สิ่งที่สอดคล้องกับ ความต้งั ใจ 2.2.1.3 การปรุงแตง่ ส่งิ ท่ีรบั รู้ไวเ้ ป็นความจา (Acquisition Phase) เพื่อให้เกิดความจาระยะสั้นและ ระยะยาว 2.2.1.4 ความสามารถในการจา (Retention Phase) 2.2.1.5. ความสามารถในการระลกึ ถงึ ส่งิ ท่ไี ดเ้ รยี นรู้ไปแล้ว (Recall Phase ) 2.2.1.6. การนาไปประยุกตใ์ ช้กับสง่ิ ท่เี รยี นร้ไู ปแลว้ (Generalization Phase) 2.2.1.7. การแสดงออกพฤติกรรมท่ีเรยี นรู้ (Performance Phase) 2.2.1.8. การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน (Feedback Phase) ผู้เรียนได้รับทราบผลเร็วจะ ทาใหม้ ีผลดีและประสทิ ธภิ าพสูง 2.2.2 องค์ประกอบที่สาคญั ทก่ี อ่ ให้เกิดการเรยี นรู้ องค์ประกอบท่ีสาคัญท่ีก่อให้เกิดการเรียนรู้ จากแนวคิด ของกาเย่ (อ้างถึงใน http : // www. Nectec.or.th /courseware /cai / , 15 สิงหาคม 2549.) ดังน้ี 2.2.2.1 ผู้เรียน (Learner) มรี ะบบสมั ผสั และ ระบบประสาทในการรับรู้ 2.2.2.2 สง่ิ เรา้ (Stimulus) คอื สถานการณต์ ่างๆ ที่เป็นสิง่ เรา้ ให้ผ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้ 2.2.2.3 การตอบสนอง (Response) คือ พฤติกรรมทเี่ กดิ ข้ึนจากการเรยี นรู้ 2.2.3 สือ่ การเรยี นการสอน 2.2.3.1 ความหมายของ “ส่อื การเรยี นการสอน” กิดานันท์ มลิทอง (2548 : 100) ได้ให้ความหมายของ “สื่อการเรียนการสอน” ไว้ว่าสื่อ เป็นคา ท่ีมาจากภาษาละตินว่า “Medium” แปลว่าระหว่าง “Between” หมายถึง ส่ิงใดก็ตามที่บรรจุข้อมูล สารสนเทศหรอื เปน็ ตวั กลางใหข้ อ้ มลู ส่งผา่ นจากผู้ส่งหรือ แหล่งสง่ ไปยังผรู้ บั เพือ่ ใหผ้ ู้ส่งและผู้รับสามารถส่ือสาร กันได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ในการศึกษาเม่ือผู้สอนนาสื่อมาใช้ประกอบ การสอนจะเรียกว่า“สื่อการสอน (Instructional Media)”และเม่ือนามาให้ผู้เรียนใช้เรียกว่า“ส่ือการเรียน (Learning Media)” โดยเรียก รวมกันว่า “ส่ือการเรียนการสอน” หรือเรียกส้ันๆว่า “สื่อการสอน” 14 หมายถึง ส่ือใดก็ตามไม่ว่าท่ีเป็นวัสดุ บรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน หรือเป็นอุปกรณ์ถ่ายทอดเพ่ือถ่ายทอดเน้ือหาจากผู้สอนไปยังผู้เรียน ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถเกดิ การเรยี นรู้ตามวัตถปุ ระสงค์ หรือจุดมงุ่ หมายที่ผูส้ อนวางไว้เปน็ อย่างดี 2.2.3.2 คุณค่าของส่อื การสอน
5 กิดานันท์ มลิทอง (2548 : 108 - 109) ได้กล่าวถึงคุณค่าของส่ือการสอนไว้ว่า ส่ือการสอนเป็นสิ่งสาคัญใน การเรียนรู้ เนื่องจากเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดเน้ือหาจากผู้สอนไปยังผู้เรียน หรือเป็นสื่อท่ีผู้เรียนใช้เรียนรู้ ด้วยตนเอง ดังน้นั ส่อื การสอนจึงสามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ดท้ ้งั กับผูเ้ รยี นและผู้สอน ดงั นี้ สื่อกบั ผู้เรียน 1. เป็นส่ิงช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจ เน้ือหาบทเรียนท่ียุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายข้ึนในระยะเวลาอันสั้น และช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดในเร่ืองน้ันได้ อยา่ งถกู ตอ้ งและรวดเรว็ 2.สื่อจะช่วยกระตุ้นและสร้างความสนใจให้กับผู้เรียน ทาให้เกิดความสนุกสนาน และไม่รู้สึก เบ่ือหน่ายการเรยี น 3.การใช้สื่อทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตรงกันหากเป็นเรื่องของนามธรรมและยากต่อความ เขา้ ใจ และช่วยให้เกดิ ประสบการณร์ ว่ มกนั ในวิชาท่เี รียน 4.สอื่ ช่วยใหผ้ ้เู รียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี นการสอนมากขน้ึ ทาให้เกดิ มนษุ ยสัมพันธ์อัน ดใี นระหวา่ งผเู้ รียนกับผู้เรียนและกบั ผูส้ อนด้วย 5.สร้างเสริมลักษณะท่ีดีในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ จากการใช้ส่ือเหล่านัน้ 6.ช่วยแก้ปัญหาเร่ืองของความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยการจัดให้มีการใช้ส่ือในการศึกษา รายบุคคล สื่อกับผูส้ อน 1. การใช้สอ่ื วสั ดอุ ปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ประกอบการเรียนการสอนเป็นการช่วยให้บรรยากาศในการ สอนน่าสนใจย่ิงขึ้น ทาให้ผู้สอนมีความกระตือรือร้นในการสอนมากกว่าวิธีการท่ีเคยใช้การบรรยายแต่เพียง อยา่ งเดยี ว และเปน็ การสรา้ งความเช่ือม่ันในตวั เองให้เพิ่มข้นึ ด้วย 2. ช่วยแบ่งเบาภาระผู้สอนในด้านการเตรียมเน้ือหา เพราะสามารถนาสื่อมาใช้ซ้าได้ และ บางคร้ังให้ผเู้ รียนศึกษาเนื้อหาจากสื่อไดเ้ อง 3. เป็นการกระตุ้นให้ผู้สอนต่ืนตัวอยู่เสมอ ในการเตรียมและผลิตวัสดุและ เรื่องราวใหม่ๆ เพอ่ื ใช้เป็นสื่อการสอน ตลอดจนคดิ คน้ เทคนคิ วธิ ีการตา่ งๆ เพอื่ ให้การเรยี นรนู้ ่าสนใจยิ่งขึน้ 2.2.3.3 หลกั การเลือกสอื่ การเรยี นการสอน กิดานันท์ มลิทอง (2548 : 109 -110) ได้กล่าวถึงหลักการเลือกสื่อการเรียนการสอน เพื่อนามาใช้ ประกอบการเรียนการสอน เพ่อื ใหเ้ กิดการเรยี นรอู้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพนั้นเป็นส่งิ สาคัญย่ิง ไวด้ ังนี้ 1. สือ่ น้นั ตอ้ งสัมพนั ธก์ บั เน้อื หาบทเรยี นและจุดมงุ่ หมายทีจ่ ะสอน 2.เลือกส่ือที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็นสื่อที่ให้ผลต่อการเรียน การสอนมาก ที่สุด ช่วยให้ผูเ้ รยี นเข้าใจเน้ือหานัน้ ไดด้ ีเปน็ ลาดับขน้ั ตอน 3. เป็นสือ่ ทเ่ี หมาะสมกับวัย ระดับชัน้ ความรูแ้ ละประสบการณ์ของผเู้ รียน 4. ส่อื นัน้ ควรสะดวกในการใช้ มวี ธิ ใี ชไ้ มซ่ ับซอ้ น ยุง่ ยาก จนเกนิ ไป 5. ตอ้ งเปน็ ส่ือท่ีมคี ุณภาพ มีเทคนิคการผลติ ทด่ี ี มีความชดั เจนและเปน็ จริง 6. มรี าคาไมแ่ พงจนเกนิ ไป หรือถ้าผลิตเองควรคุม้ กับเวลาและการลงทนุ
6 2.2.3.4 การสอนด้วยสื่อตามแนวคิดของกาเย่ (อ้างถึงในเว็บไซต์ NECTEC’s Web Base Learning :15 สิงหาคม 2549) ดงั น้ี 1. เรา้ ความสนใจมโี ปรแกรมท่ีกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน เช่น ใช้การ์ตูน หรือ กราฟฟิกที่ ดึงดูดสายตา ความอยากรอู้ ยากเห็นจะเปน็ แรงจูงใจให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียน การตงั้ คาถามกเ็ ป็นอีกสิ่งหน่งึ 2. บอกวตั ถุประสงค์ ผู้เรยี นควรทราบถงึ วตั ถปุ ระสงค์ ใหผ้ ้เู รียนสนใจในบทเรยี นเพื่อให้ทราบ วา่ บทเรยี นเกี่ยวกับอะไร 3. กระตนุ้ ความจาผูเ้ รยี น สรา้ งความสัมพันธ์ในการโยงข้อมูลกับความรู้ท่ีมีอยู่ก่อน เพราะสิ่ง นี้สามารถทาให้เกิดความทรงจาในระยะยาวได้เม่ือได้โยงถึงประสบการณ์ผู้เรียน โดยการตั้งคาถาม เกี่ยวกับ แนวคดิ หรือเนื้อหานน้ั ๆ 4. เสนอเนื้อหา ข้ันตอนน้ีจะเป็นการอธิบายเน้ือหาให้กับผู้เรียนโดยใช้ส่ือชนิดต่างๆ ในรูป กราฟฟกิ หรือ เสยี ง วีดีทัศน์ 5. การยกตัวอย่าง การยกตัวอย่างสามารถทาได้โดยยกกรณีศึกษาการเปรียบเทียบ เพื่อให้ เขา้ ใจได้ซาบซ้ึง 6. การฝึกปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดทักษะหรือพฤติกรรม เป็นการวัดความเข้าใจว่าผู้เรียนได้เรียน ถูกต้อง เพอื่ ใหเ้ กดิ การอธิบายซ้าเมอื่ รบั สิ่งทผี่ ิด 7. การใหค้ าแนะนาเพิ่มเติม เชน่ การทาแบบฝกึ หดั โดยมีคาแนะนา 8. การสอบเพ่ือวัดระดบั ความเขา้ ใจ 2.3. ระบบสอบออนไลนจาก Google Form ระบบการสอบออนไลน โดยใช Google Form เปนตัวสรางแบบขอสอบออนไลนท่ีสามารถตรวจคาตอบ ไดอัตโนมตั ิ ในรูปแบบขอสอบฟอรมแบบสอบถาม โดยใชงานไดฟรี ไมเสียคาลิขสิทธิ์ อีกท้ังรองรับการทางาน กบั อปุ กรณตางๆ ท้งั โทรศพั ทมือถือสมารทโฟน และ คอมพิวเตอรมีระบบการรายงานผลที่เช่ือมโยงกับ Excel ได้ สาหรับการท่ีจะใชงาน Google Form นั้นจะตองมี Emeil ของ Google หรือ Gmail หรือ อีเมลของ Google App for Education โดยการเขาไปล็อกอินที่ https://www.google.co.th/จากน้นั เลอื กอนื่ ๆ 2.4 งานวจิ ัยทเี่ กีย่ วของ ศุภกฤษฎิ์ ต้ังเสริมสิทธ์ิ ไดออกแบบและพัฒนาระบบสอบออนไลนเคล่ือนท่ีจาก มทส.ใหสามารถ รองรับรูปแบบขอสอบตามมาตรฐานของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (สทศ.) โดยมีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาระบบสอบออนไลนเคล่ือนท่ี (SUT-MOTS-TBMS) ๒) เพื่อศึกษารูปแบบขอสอบตามมาตรฐาน ของ สทศ. ๓) เพื่อพัฒนาระบบสอบออนไลนใหรองรับรูปแบบขอสอบตามมาตรฐานของ สทศ. กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๖ ในการสอบ O-NET GATและ PAT เครื่องมือที่ใช ไดแก รูปแบบขอสอบ มาตรฐาน สทศ. ของการสอบเขาระดับอุดมศึกษาสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔ ในการสอบ O-NET GAT และ PAT จานวน ๔ รูปแบบ คือรูปแบบขอสอบปรนัยหลายตัวเลือก ๑ คาตอบ รูปแบบขอสอบแบบ เลือกคาตอบจากแตละหมวดที่สัมพันธกัน รูปแบบขอสอบแบบระบายคาตอบเปนคา/ตัวเลข และรูปแบบข อสอบบทความใหอาน+ปรนัยแบบ กลุมคาตอบ สัมพันธกัน หลายกลุม หลายตัวเลือก อุปกรณที่ใชในการวิจัย คือ ๑.เคร่ืองคอมพิวเตอรสวนบุคคลสาหรับการพัฒนาระบบสอบออนไลนเคล่ือนที่จาก มทส. ๒.เคร่ือง คอมพิวเตอรสาหรับการทดสอบออนไลนเคล่ือนท่ีจาก มทส. ใหรองรับรูปแบบขอสอบของการเขาศึกษา
7 ระดบั อดุ มศึกษา ผลการวจิ ยั พบวา ความสามารถของระบบสอบออนไลนทไ่ี ดพฒั นาท้ัง ๔ รูปแบบ ชวยอานวย ความสะดวกการตรวจสอบความถูกต องของระบบเพ่ือรองรับรูปแบบการสอบของ สทศ.ได อยางมี ประสิทธภิ าพเพยี งพอทจี่ ะนาไปใชในการจัดสอบ รัฐพงษ ออนจันทร ไดพฒั นาระบบสอบออนไลนเคลือ่ นที่ขนาดใหญ โดยมีวัตถุประสงค ๑) เพ่ือศึกษา และพัฒนาวิธีการสรางการเช่ือมตอระบบสอบออนไลนที่มีขนาดใหญ ๒) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพตอยอดจาก งานวิจยั เดมิ ใหสามารถทางานไดอยางเต็มสมรรถนะ ๓) เพ่ือออกแบบและนาเสนอระบบท่ีสามารถนาไปใชใน สภาพแวดลอมจริง กลุมตัวอยาง คือ ๕ สถาบัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โรงเรียนบานโปงแดงน้าฉ่า สามัคคี โรงเรียนสุรนารีวิทยา ๒ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา และโรงเรียนหนองรีมงคลสุขสวัสดิ์ เครื่องมือท่ีใช ๑) เคร่ืองเซิรฟเวอร SRS (Score Report Server) เปนเคร่ืองเซิรฟเวอรรวบรวมผลสอบเพื่อ รวมคะแนนหลักของเคร่ืองเซิรฟเวอร ทั้ง ๕ สถาบัน ๒) เครื่องเซิรฟเวอร SRS (Site Testing Server) เป็น เคร่ืองเซิรฟเวอรสนามสอบทาหนาที่ควบคุมเครื่องเซิรฟเวอร RTS และ ๓) เคร่ืองเซิรฟเวอร RTS (Room Testing Server)เปนเคร่ืองเซิรฟเวอรควบคุมหนาหองสอบทาหนาท่ีเช่ือมตอไปยังเครื่องของผูสอบ ผลการวิจัย พบวาจากการเชื่อมตอระบบสอบออนไลนสามารถเช่ือมตอกันไดทั้ง ๕ สถาบัน รวมจานวนผูเขา สอบทง้ั ส้นิ ๑,๙๕๒ คน ผลการเช่ือมตอเปนไปอยางราบร่ืน ไมมีเหตุใดติดขัดไมเกิดอาการคางใดๆ เพราะเป็น การเช่ือมตอแบบผสมผสานท่ีออกแบบการเช่ือมตอภายในสถาบันผานระบบอินทราเน็ต หากระบบอินเทอร เนต็ ขัดของจะไมสงผลกระทบใด ๆ กบั การเช่ือมตอในแตละสถาบัน P. K. Biswal, H. P. Sambho, S. Biswas บทความนี้มุงเนนไปที่การทดสอบแบบออนไลน (OLT) ของความผดิ พลาดในวงจรอิเลก็ ทรอนกิ สดิจติ อลภายใตขอ จากัด การวัดโดยใชทฤษฎีของระบบเหตุการณที่ไม ตอเนอ่ื ง เทคนิคสวนใหญที่นาเสนอในวรรณกรรมเกยี่ วกบั OLT ของวงจรดิจิตอลไดเนนที่การรักษาแบบแผนท่ี ไมลวงล้าคาใชจายในพ้ืนท่ีต่อการครอบคลุมความผิดพลาดสูงการตรวจจับความหนวงต่อการตรวจจับต่าเป็น ต้นอยางไรก็ตามการลดจุดแตะ (เชน ภายใตการทดสอบ (CUT) โดยผูทดสอบแบบออนไลนไมไดรับการ พิจารณา การลดขนาดจุดแตะลดภาระบนCUT และส่ิงนี้จะชวยลดคาใชจายในพื้นที่ของผูทดสอบ อยางไรก็ ตามการลดลงในจุดประปาประนีประนอมความผิดพลาดและความลาชาในการตรวจสอบ งานนี้ศึกษาผลของ การลดการแตะจดุ ท่คี รอบคลุมความผดิ พลาดความลาชาในการตรวจจบั และคาใชจายในพ้ืนที่ ผลลัพธบนวงจร เกณฑมาตรฐาน ISCAS89 แสดงใหเห็นวาขอ จากัด การวัดมีผลกระทบนอยท่ีสุดตอการครอบคลุมความ ผิดปกติและความลาชาในการตรวจจับ แตลดคาใชจายดานบนของเครื่องทดสอบ นอกจากนี้ยังพบวาสาหรับ เวลาแฝงในการตรวจจับและการครอบคลุมขอผิดพลาดท่ีกาหนดคาใชจายในพ้ืนท่ีของโครงรางที่เสนอน้ันต่า กว่าเมอ่ื เปรยี บเทียบกับโครงรางอนื่ ๆ
บทท่ี 3 วิธีการดาเนินการ การวิจัยหลังน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพ่ือศึกษาผลการทดสอบการปฏิบัติในการใช้งานแบบทดสอบ ออนไลน์ เพอื่ ใหก้ ารดาเนนิ การวิจยั เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยซึง่ ขัน้ ตอนวิจยั ได้ดาเนินการดังต่อไปน้ี 1.ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 2.การสรา้ งเครอ่ื งมอื 3.การรวบรวมข้อมลู 4.การวิเคราะหข์ อ้ มลู 3.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง 1. นกั ศกึ ษาแผนกวชิ าอิเล็กทรอนกิ ส์ ช้ันปวช.1 วทิ ยาลัยการอาชีพสอง จังหวัดแพร่ จานวนของกลุ่ม ที่เข้าร่วมการเรยี นจานวน 6 คน เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัยในครั้งน้ี โดยใช้แบบทดสอบรปู แบบออนไลน์ 3.2 การสรา้ งเคร่อื งมือ ผู้วจิ ยั ไดน้ าเครื่องมอื เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ 1. ศึกษาเอกสาร ตาราและการวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในทางทฤษฏี และการปฏิบัติรวมท้ังหลักการ ตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง 2. กาหนดเครื่องมือเพอ่ื เปน็ แนวทางในการวจิ ัยในครัง้ นี้ 3. สร้างแบบทดสอบออนไลน์ Google forms 3.3 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยนาเคร่ืองมือที่สร้างข้ึนให้นักเรียนกลุ่มประชากรได้ตอบแบบสอบถาม และเกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง การวิเคราะห์ข้อมลู 3.4.1 วเิ คราะหผ์ ลจากคะแนนที่ไดจ้ ากการทาแบบสอบถามวัดเจตคติ 3.4.2 สถติ ทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู - การหาค่าเฉลี่ย ̅= เมอ่ื ̅ = ค่าเฉลยี่ X = คะแนนที่ได้ N = จานวนนักเรียนทง้ั หมด = ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด
9 3.4 การวเิ คราะห์ข้อมูล การวจิ ยั ครัง้ นผ้ี ู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ โดยใช้สถติ ิในการวเิ คราะห์ข้อมูลดังนี้ 3.5.1. วิเคราะหห์ วั ข้อเพื่อศึกษาเจตคติทีม่ ตี ่อการเรียนในรายวชิ าวงจรไฟฟา้ กระแสตรงของนักเรียน การอธบิ ายคุณลกั ษณะของข้อมูลที่ไม่ใชต่ ัวเลข 3.5.2. วเิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ ปริมาณดว้ ยการแจกแจงความถี่หาคา่ ร้อยละและหาค่าแนวโนม้ เขา้ สู่ ส่วนกลางของขอ้ มลู ทีใ่ ชม้ าตรวัดแบบเรยี งลาดับ (Ordinal Scale) ด้วยค่ามัธยฐาน (Median) และของข้อมลู คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทีเ่ ปน็ มาตรวดั แบบชว่ งชัน้ (Interval Scale) ดว้ ยคา่ คะแนนเฉลีย่ (Arithmethic Mean) กบั คา่ การกระจายของข้อมลู ดว้ ยคา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (ลว้ นสายยศและอังคณาสายยศ. 2543 : 306) 3.5.3. วเิ คราะหข์ ้อมลู เพื่อศึกษาเจตคติทีม่ ีต่อการเรยี นในรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรงของนักเรยี น คะแนนทาแบบทดสอบระหวา่ งเรียนและคะแนนจากการทาแบบทดสอบหาผลสมั ฤทธ์หิ ลังเรียนโดยหาคา่ E 1 และ E (กฤษมนั ตว์ ฒั นาณรงค์. 2538; อ้างถงึ ในยงยทุ ธสุทธิชาติ. 2544:39-40) 2 E X / N x100 A 1 เม่อื E1= คะแนนเฉลี่ยคดิ เป็นร้อยละจากการทาแบบฝกึ หดั ได้ถูกต้อง X = คะแนนรวมที่นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดได้ถกู ต้อง N = จานวนนักเรยี น A = คะแนนเต็มของแบบฝึกหดั E F / N x100 B 2 เมอื่ E = คะแนนเฉลยี่ คิดเปน็ ร้อยละจากการทาแบบทดสอบหลังเรยี นไดถ้ ูกต้อง 2 F = คะแนนรวมท่ีนักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นไดถ้ ูกตอ้ ง F N = จานวนนกั เรียน A = คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลงั เรียน 3.4.4. วิเคราะห์ข้อมลู เพอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นได้ดาเนินการดงั น้ี 1. หาคา่ ดัชนคี วามสอดคล้อง (Index of Consistency) ของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน แต่ละข้อกับผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง (จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม) กาหนดเกณฑ์คา่ IOC. ตัง้ แต่ 0.5 ขน้ึ ไปจงึ จะ ถือว่ามีความสอดคล้องกับผลการเรยี นรูท้ ีค่ าดหวัง (ลว้ นสายยศและอังคณาสายยศ. 2543:248-249)
10 IOC R N เมอ่ื IOC IOC = ดชั นีความสอดคล้องมีค่าอยู่ระหว่าง -1 ถงึ +1 R = ผลรวมของการพจิ ารณาของผเู้ ช่ียวชาญ N = จานวนผู้เช่ียวชาญ 2. หาคา่ ดัชนคี วามยากงา่ ย (Difficulty) สถิติทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหห์ าค่าความยากงา่ ยของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน (ลว้ นสายยศและอังคณาสายยศ. 2543:196) P R N เม่ือ P = ดชั นีคา่ ความยากง่าย R = จานวนนกั เรียนท่ีทาข้อสอบถูก N = จานวนนักเรยี นทีท่ าข้อสอบทัง้ หมด 3 คา่ อานาจจาแนก (Discrimination) สาหรบั สถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะหห์ าคา่ อานาจจาแนก (ลว้ นสาย ยศและองั คณาสายยศ. 2543:185-186) ดงั น้ี D U L nU nL เมอ่ื D = ดชั นีค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ U = จานวนนักเรียนทต่ี อบถูกในกลมุ่ คะแนนสงู L = จานวนนกั เรยี นทีต่ อบถูกในกลุม่ คะแนนอ่อน nU = จานวนนักเรียนทั้งหมดท่ีตอบถูกในกลุม่ คะแนนสงู nL = จานวนนกั เรียนทั้งหมดท่ีตอบถูกในกลุ่มคะแนนต่า ค่าอานาจจาแนกจะมีค่าอย่รู ะหว่าง - 1 ถงึ + 1 ข้อสอบข้อทม่ี ีคา่ อานาจจาแนกเป็นบวกและเขา้ ใกล้ 1 แสดงวา่ มอี านาจจาแนกสูงหรือดมี ากข้อสอบข้อท่ีมีคา่ อานาจจาแนกเปน็ ลบและเทา่ กับ 0 แสดงวา่ ข้อนน้ั ไม่ มีคา่ อานาจจาแนกใช้ไม่ได้ค่าอานาจจาแนกตามเกณฑท์ ีก่ าหนดคอื มีคา่ ตั้งแต่ 0.20 ข้นึ ไป 4. คา่ สมั ประสทิ ธคิ์ วามเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (Reliability) ใช้สตู ร KR-20 ของKuder Richardson (ลว้ นสายยศและอังคณาสายยศ. 2543:215) r tt k k pq 1 1 o2 เมอ่ื rtt= คา่ สมั ประสิทธค์ิ วามเช่ือม่ันของแบบทดสอบ K = จานวนข้อสอบ P = สดั ส่วนของคนท่ีทาข้อน้นั ได้
บทท่ี 4 ผลการศึกษา ผลการวิจัยเร่ือง การพัฒนาการใชแ้ บบทดสอบออนไลน์สาหรบั นกั เรียนช้นั ปวช.1 โดยใชว้ ธิ แี ละแบบ การสงั เกตวตั ถุประสงค์ดงั น้ี 1. การใช้แบบทดสอบเรียนการสอนออนไลน์ในรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ได้ผ่านกระบวนการ วางแผนโครงการเป็นการวางแผนการดาเนินงานโครงการ เพ่ือนามาวิเคราะห์และหาความต้องการของผู้เรียน ในการใช้แบบทดสอบออนไลน์ โดยศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวข้องและทาการศึกษาระบบบริหารจัดการบทเรียน ออนไลน์ โดยผู้วิจัยได้เลือกใช้โปรแกรม Google forms ซึ่งเป็นโปรแกรม ที่ไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ ใน เรื่อง ซอร์ฟแวร์ ผู้วิจัยได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แบบทดสอบออนไลน์ในรูปแบบห้องเรียนออนไลน์ เพื่อทดลองการใช้งาน โดยการอัพโหลดไฟล์เอกสารประกอบการสอน ส่ือการสอน แบบฝึกหัดท้ายบทและให้ ผูเ้ รียนใช้งาน พร้อมกับมอบหมายให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน และส่งงานที่ต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผ่านทางระบบทพ่ี ฒั นาขนึ้ ผลจากการนาเอาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการการเรียน การสอน ทาให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ประหยัดทรัพยากรประหยัดเวลา มีส่ือการเรียน การสอนทห่ี ลากหลายผเู้ รียนสามารถเรยี นรแู้ ละค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตัวเองได้ตลอดเวลา ตลอดจนสามารถเก็บ ขอ้ มลู ของผู้เรียนและประมวลผลไดร้ วดเรว็ 2. ผลการประเมินประสิทธิภาพของแบบทดสอบออนไลน์รายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ โดย ผเู้ ชยี่ วชาญ จานวน 3 ท่านผลการประเมินรายด้านทัง้ 4 ด้านอยใู่ นระดบั มาก จานวน 1 ด้าน และอยู่ในระดับ มากทสี่ ุด จานวน 3 ด้านผลการประเมนิ ในภาพรวม อยูใ่ นระดับมากท่สี ดุ (ตารางท่ี1) ตารางท่ี 1 ค่าเฉล่ียและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานประสิทธิภาพของแบบทดสอบออนไลน์รายวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ในภาพรวมและรายดา้ น รูปแบบของแบบทดสอบออนไลน์ X S.D. ประสทิ ธภิ าพ 1. ด้านเนอ้ื หาท่ีใชใ้ นการทาแบบทดสอบออนไลน์ ๔.๕๓ ๐.๕๕ มากทส่ี ุด 2. ด้านการวดั ผลและประเมนิ ผล 4.89 0.16 มากทสี่ ดุ 3. ดา้ นการออกแบบ แบบทดสอบออนไลน์ ๔.๑๖ ๐.๘๓ มาก 4. ดา้ นความง่ายต่อการใช้งาน 4.54 0.69 มากท่ีสุด รวม 4.53 มากท่ีสดุ 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักเรียน ปวช.1 แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ จานวน 6 คน ที่มีต่อการใช้แบบทดสอบออนไลน์รายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ตารางที่ 2)
12 ตารางที่ 2 ค่าเฉล่ยี และค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มตี ่อการใช้งาน แบบทดสอบออนไลนร์ ายวชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั รายการ X S.D. ความพึงพอใจ 1. การใชงานระบบมีความทันสมัย นาสนใจ ๔.๓๗ ๐.๘๒ มาก 2. การเข้าใชง้ านสามารถเขาถึงไดสะดวกรวดเร็ว และใชงานงาย ๔.๔๖ ๐.๗๑ มาก 3. การเขาถงึ คลงั ขอสอบงายตอการใชงานและตอบสนองตรงตาม ๔.๕๙ ๐.๖๗ มากทีส่ ุด ความตองการของผูใชงาน 4. ระบบมีความปลอดภยั ในการคนหาขอมลู และการเขาทดสอบใน ๓.๙๘ ๑.๐๕ มาก ระบบทดสอบออนไลน 5. การเขาใชงานระบบทดสอบออนไลนมกี ารเชือ่ มโยงใชงานได ๔.๓๔ ๑.๐๘ มาก อย่างตอเนื่องทกุ ขั้นตอน รวม ๔.๓๕ มาก
บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ในการวิจัยคร้ังน้ีมี วัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาการวัดผลและประเมินผลนักเรียนโดยใช้แบบทดสอบ ออนไลน์ เพ่ือประเมินประสิทธิภาพของแบบทดสอบออนไลน์ เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ แบบทดสอบออนไลน์ 5.1 อธปิ รายผลการวิจัย 1. แบบทดสอบออนไลน์ท่ีพัฒนาข้ึนในรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ สามารถนาไปใช้ในการบริหาร จัดการการเรียนการสอนออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถเป็นส่ือเสริมท่ีช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ ด้วยตัวเองได้ตลอดเวลาที่นักเรียนต้องการโดยความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญที่มีต่อการประเมินประสิทธิภาพ ของระบบและสือ่ การเรียนการสอนออนไลน์รายวิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั พบว่าโดยรวมมีประสิทธิภาพอยู่ใน ระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด เช่นเดียวกัน โดยด้านด้านการวัดผล และประเมินผลมีค่าเฉล่ียสูงสุด ท้ังนี้คงเป็นเพราะว่าการนาเอาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยบริหาร จัดการรายวิชาสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลายและเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าหา ความรเู้ พมิ่ เตมิ ได้จากส่ือการเรียนการสอนที่ผู้สอนได้จัดไว้ให้ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้งานได้สะดวก และง่ายต่อการใช้ ผู้วิจยั มคี วามเห็นว่า รปู แบบทพี่ ฒั นาข้ึนโดยใช้โปรแกรม Google Form เป็นโปรแกรมฟรีท่ี ไม่มคี ่าใชจ้ า่ ยทางดา้ นซอฟตแ์ วร์ ตัวโปรแกรมมีระบบการบริหารจัดการท่ีครอบคลุม ผู้สอนสามารถตรวจสอบ ขอ้ มูลการใช้งานของนกั เรียนไดแ้ ละระบบมคี วามปลอดภัยต่อการใช้งาน ผู้สอนสามารถจัดการเนื้อหาบทเรียน ให้ผ้เู รยี นเขา้ ถงึ ได้หลายระดบั 2. ผลการประเมินประสิทธิภาพของแบบทดสอบออนไลน์รายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ พัฒนาขึ้น โดยภาพรวม พบว่า ระดับ ประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งประกอบด้วย ด้านเนื้อหาบทเรียน ด้านการ วดั และการประเมินผล ด้านการออกแบบ และด้านความง่ายต่อการใช้งาน ซึ่งเมื่อพิจารณาผลรายด้าน อันดับ แรกพบว่า ด้าน ความง่ายต่อการใช้งาน อยู่ในระดับมากที่สุด ผู้วิจัย จึงมีความเห็นว่า การใช้แบบทดสอบ ออนไลน์ เพ่ือสนับสนุนการวัดผลและประเมินออนไลน์ รายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ผู้วิจัยได้เลือกใช้ โปรแกรม Google Form เป็นโปรแกรมท่ีได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องโปรแกรมมีระบบจัดการข้อมูลผู้สอน และผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแบบทดสอบบทเรียนได้ง่ายและรวดเร็ว มีระบบ การมอบหมายงานและ กิจกรรมการเรียนอย่าง หลากหลาย รวมถึงระบบคลังข้อสอบที่ให้ผู้เรียนได้ ทาแบบทดสอบ เพื่อทบทวน เนอื้ หารายวชิ าได้ ตลอดเวลา เปน็ หอ้ งเรยี นเสมอื นจริงที่ผ้เู รียนและ ผู้สอน สามารถมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันได้ โดยผ่านห้องเรียนออนไลน์ ผลการวิจัยปรากฏว่า การวิจัย ทาให้ได้บทเรียนออนไลน์วิชาวงจรไฟฟ้า กระแสสลบั ท่ีมีประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผลสามารถนาไปใช้สอนผเู้ รียน เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดมุ่งหมาย ได้ 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้แบบทดสอบออนไลน์รายวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ มรี ะดบั ความพงึ พอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 5.2 ข้อเสนอแนะ ควรใช้แบบทดสอบออนไลน์ในกลุ่มของผ้เู รียน เพราะเกดิ ประโยชนต์ ่อผู้เรียนในด้านการปฏิบตั เิ ปน็ อย่างดี
บรรณานุกรม ภัทรา นคิ มานนท. การประเมินผลการเรยี น. กรงุ เทพฯ: อักษราพิพฒั นจาํ กัด, 2540 ไพศาล สวุ รรณนอย (บรรณาธิการ) คูมือการพฒั นาการเรียนการสอนมหาวิทยาลัยขอนแกน. ขอนแกน. มหาวิทยาลยั ขอนแกน ฝายวิชาการ. 2545. สุจติ รา ยอดเสนห่ า. (2555). เสน้ ทางการพฒั นาหอ้ งเรียนออนไลนม์ หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าช มงคลธัญบรุ .ี รายงาน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ. (2553). พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 และแกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 3) พุทธศักราช 2553. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภา ลาดพรา้ ว. Google. ศูนยช์ ว่ ยเหลอื ของ Google Form, [ออนไลน]์ . เข้าถึงจาก https://docs.google.com/forms/u/0/
ภาคผนวก
ภาพประกอบการใช้งานแบบทดสอบออนไลน์ ภาพท่ี 1 สร้างแบบทดสอบ ภาพที่ 2 ตัง้ คา่ แบบทดสอบ
ภาพประกอบการใช้งานแบบทดสอบออนไลน์ (ตอ่ ) ภาพที่ 3 สรา้ งลิงก์ URL ภาพที่ 4 ประมวลผลการทาแบบทดสอบของนักเรียน
ภาพประกอบการใช้งานแบบทดสอบออนไลน์ (ต่อ) ภาพที่ 5 รายงานผลขอ้ มูลเชงิ ลกึ ภาพที่ 6 นาขอ้ มูลการทาแบบทดสอบของผูเ้ รยี นออกมาในรปู แบบ EXcel
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: