Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 232 นรุต นัทธี กลุ่ม13

232 นรุต นัทธี กลุ่ม13

Published by pecth5540, 2021-09-09 11:39:36

Description: วิชามนุษสัมพันธุ บทที่2 ธรรมชาติของมนุษย์

Search

Read the Text Version

รายงาน ธรรมชาตขิ องมนุษย์ จัดทาโดย นาย นรตุ นัทธี ปวส.1 กลมุ่ 13 รหัสประจาตัว 64301040232 เสนอ อาจารย์ ชุติกาญจน์ ทาเอื้อ สมุดเลม่ นี้เป็นส่วน1ของวชิ ามนุษย์สมั พนั ธ์ ภาคเรยี นท่ี1ปกี ารศกึ ษา2564 วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี

คานา รายงานเลม่ นี้จดั ทาข้ึนเพื่อเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวชิ ามนษุ ย์ ชั้นปวส.1เพ่อื ให้ไดศ้ ึกษาหาความรใู้ น เรอื่ ง……..และได้ศึกษาอยา่ งเข้าใจเพื่อเปน็ ประโยชนก์ ับการเรียน ผู้จดั ทาหวงั ว่า รายงานเลม่ นจ้ี ะเป็นประโยชนก์ บั ผูอ้ า่ น หรอื นกั เรียน นักศึกษา ทกี่ าลงั หาข้อมลู เร่ือง น้ีอยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จดั ทาขอน้อมรบั ไว้และขออภัยมา ณ ทีน่ ีด้ ว้ ย ผ้จู ดั ทา นาย นรตุ นทั ธี

สารบญั เรอ่ื ง หนา้ ลักษณะธรรมชาติของมนุษย์.................................................................................................. .......1 ความตอ้ งการของมนษุ ย์................................................................................................................4 ความแตกต่างระหว่างบุคคล................................................................................................... .......8 พฤติกรรมของมนุษย.์ ....................................................................................................................13 ธรรมชาติของมนุษย์...................................................................................................... ................14 แนวทางการประยกุ ต์\"ธรรมชาติของมนษุ ย์\"เพ่อื พัฒนาตนและสง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชน โดยใช้หลัก\"ความพอเพยี ง\"............................................................................................................19 บรรณานุกรม................................................................................................................... ..............26

1 เน้อื หาสาระ (Content) มนุษย์มีอารมณ์ความรู้สึกค่านิยมความเชื่อความคิดเห็นและบุคลิกลักษณะส่วนตัวมนุษย์มิใช่ส่ิงของหรือ เครื่องจักรส่ิงเหล่านี้จึงควรระลึกเสมอในการมีความสัมพันธ์และมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันทั้งน้ีย่อมส่งผลต่อ ผลผลิตและประสิทธิภาพขององค์การมนุษย์สัมพันธ์จึงเป็นการศึกษาใจคนเป็นส่วนใหญ่เป็นการเข้ากับคน เอาชนะใจคนด้วยเหตุน้ีความสามารถเข้ากับคนได้จึงเป็นส่ิงสาคัญมากในการดาเนินชีวิต (เสถียรมงคลหัตถี, 2510: 30) ความล้มเหลวของชีวิตความเป็นคนไร้คุณค่าส้ินความหมายผู้ท่ีล้มเหลวในการดาเนินชีวิตคือผู้เข้ากับผู้อื่น ไม่ได้แม้จะมีความรู้ความสามารถสูงเพียงใดถ้าไม่สามารถเข้ากับผู้อ่ืนได้ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีมีอยู่ไม่ว่าจะเป็น ความรู้ความสามารถก็ไรค้ วามหมายในโลกน้ีไม่มีอะไรสาคญั ยงิ่ ไปกว่ามนุษย์และในตวั บคุ คลไม่มีอะไรสาคัญยิ่ง ไ ป ก ว่ า จิ ต ใ จ ( In the world there is nothing great but man, in man there is nothing great but mind) บุคคลจะทางานและอยู่ร่วมกันได้อยา่ งมคี วามสุขและราบรนื่ เม่อื มีสมั พนั ธภาพดตี ่อกันหากสัมพันธภาพ เป็นไปในทางลบจะไม่สามารถทางานร่วมกันได้อย่างสงบสุขผลงานด้อยคุณภาพและอาจทาให้เกิดความ แตกแยกในท่ีสุดดังนน้ั จึงควรมงุ่ ศึกษาธรรมชาติของมนุษย์เพอื่ สร้างสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคลอันจะเป็นผลต่อ การดารงชวี ติ ประจาวนั และการทางานรว่ มกนั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (Ann Ellenson, 1982: 11) มนุษย์ปรับตัวได้อย่างดีย่ิงและสามารถดารงเผ่าพันธ์ุของตนไว้ได้จนถึงปัจจุบัน โทมาสฮอบส์ (Thomas Hobbes) กล่าวว่า“ ธรรมชาติของคนนั้นป่าเถื่อนเห็นแก่ตัวข้ีโม้โอ้อวดตนต่าช้าหยาบคายเอาแต่ใจตัวเองย้ือ แย่งแข่งดีกันโดยไมม่ ีขอบเขตอายุสั้น แต่ถ้าพบกับความทุกยากแล้วคนจงึ จะลดความเห็นแก่ตวั ลงและสงั คมจะ ช่วยให้เขาดขี น้ึ ” 2.1 มนุษย์เป็นอินทรยี ์พลวัต (Dynamic Organism) หมายถึงรา่ งกายที่มีความเปลย่ี นแปลงอย่ตู ลอดเวลาเพื่อท่จี ะ ด้ินรนแสวงหาส่ิงต่าง ๆ มาตอบสนองต่อความต้องการหรือความอยากต่าง ๆ ท่ีไม่มีที่ส้ินสุดตัณหาหรือความ อยากนเ้ี องทาใหค้ นตอ้ งด้ินรนพยายามทาทุกอยา่ งให้ได้มาตามแรงปรารถนานัน้ 2.1.1 องคป์ ระกอบของมนุษย์ มนษุ ยป์ ระกอบไดด้ ว้ ยขันธ์หา้ ได้แก่ (สาโรชบัวศรี, 2526: 11) 1. รูป (Form) คอื ร่างกายหรือสว่ นที่จับต้องได้เห็นไดห้ รือจะเรยี กวา่ เป็นส่วนของเน้ือหนัง 2. เวทนา (Feeling หรือ Sensation) คอื ความรูส้ ึกเปน็ ทกุ ข์เป็นสขุ รวมเรยี กว่าอารมณ์

2 3. สัญญา (Perception) คือความจา 4. สังขาร (Mental Formations) คือความคดิ 5. วิญญาณ (Consciousness) คือความรตู้ วั หรอื การรับรู้ ขันธ์หา้ นอี้ าจย่นย่อลงเป็นสว่ นประกอบของมนษุ ย์ว่าประกอบด้วย 2 สว่ นคอื 1. กายหมายถงึ รปู กาย 2. นามหมายถึงจิตนอกจากนั้นแล้วขันธ์ห้านี้ทาให้มนุษย์เกิดปัญหาเกิดขึ้นอันเป็นอกุศลมูลที่ติดตาม ตัวเองอย่เู สมอ คือ ความโลภโกรธ หลง 2.1.2 ความสขุ ทีม่ นษุ ยแ์ สวงหา มนุษย์มีธรรมชาติอีกประการคือจะแสวงหาความสุขให้กับตนเองและต้องการหลีกเลี่ยงความทุกข์ซึ่ง ความสุขท่มี นษุ ย์แสวงหามีเป็นลาดบั ดงั นี้ 1. ความสุขเกิดจากความตอ้ งการทางร่างกายเชน่ การกินการด่ืมการนอนการรว่ มประเวณีเปน็ ตน้ 2. ความสุขเกิดจากการสนองความต้องการทางจิตใจเช่นการพักผ่อนหย่อนใจฟังดนตรีกีฬาท่องเที่ยว เข้าสงั คมเป็นตน้ 3. ความสุขเกิดจากการสนองความตอ้ งการทางปญั ญาเช่นการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการการค้นพบส่ิง ใหม่ ๆ การคดิ หาเหตผุ ลจนสามารถร้แู จ้งในธรรมชาตขิ องสิ่งทัง้ หลายเป็นตน้ 4. ความสขุ เกิดจากการหมดความต้องการหรือหมดตัณหาอนั ไดแ้ ก่ วมิ ุตตวิ สิ ทุ ธนิ ิพพานและวิราคะ จากการศึกษาธรรมชาติของมนุษย์ทั้งในแง่ปรัชญาจิตวิทยาในสาขาต่าง ๆ รวมท้ังพุทธศาสนาแล้วจะช่วยให้ รจู้ ักและเข้าใจมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ ได้มากข้ึนอนั จะนาไปสกู่ ารเรียนรพู้ ฤตกิ รรมและการแสดงออกของมนุษย์ เพือ่ ใชใ้ นการสร้างความสมั พันธท์ ดี่ ีต่อไป 2.1.3 ธรรมชาตโิ ดยทว่ั ไปของมนษุ ยม์ นุษย์ยงั มธี รรมชาตโิ ดยทว่ั ไปดงั ต่อไปน้ี 1. มคี วามอิจฉารษิ ยาและตอ่ ต้านผ้อู ืน่ ทด่ี กี ว่าตนดงั ท่ีหลวงวิจิตรวาทการกลา่ ววา่ “อยา่ ทาตัวดเี ดน่ ... จะเป็นภยั เพราะไม่มใี คร ... อยากเห็นเราเด่นเกนิ ”

3 2. มีสัญชาตญาณแห่งการทาลายชอบความหายนะเชน่ ชอบดูไฟไหมบ้ ้านมากกวา่ ดูการสร้างบ้านหรือ ดูจากขา่ วในหนา้ หนงั สือพมิ พร์ ายวนั มักมี แตข่ า่ วร้ายมากกวา่ ข่าวดี 3. ตอ่ สู้หรอื ตอ่ ตา้ นความเปลี่ยนแปลง 4. มคี วามต้องการทางเพศและความต้องการดา้ นรา่ งกายอนื่ ร่วมดว้ ย 5. มคี วามหวาดกลวั อิทธิพลผู้มีอานาจภัยต่าง ๆ ภัยธรรมชาติภูตผปี ีศาจไสยศาสตร์และกระทาทุกสิ่ง ทุกอย่างเพอ่ื ให้ตนพน้ ภัย 6. กลัวความเจบ็ ปวดความทกุ ข์ทรมานความยากลาบากและความ 7. มีความโหดรา้ ยทารุณปา่ เถือ่ นชอบซา้ เตมิ 8. ชอบทาอะไรตามสะดวกสบายมักงา่ ยไม่ชอบระเบียบบงั คบั 9. ชอบความต่นื เต้นหวาดเสยี วผจญภยั ท่องเท่ียวประสบการณใ์ นชวี ิตแปลกใหม่ 10. มีนสิ ัยอยากรู้อยากเห็นอยากทดลอง นอกจากน้ันแล้วมนุษย์ยังมีลักษณะสาคัญประการหนึ่งคือ“ มักจะเข้าข้างตนเองเสมอและไม่ชอบให้ ใครตาหนิติเตียนตนเอง” หากมีใครตาหนิมักจะหาเหตุผลแก้ตัวให้พ้นข้อครหานั้น ๆ \"หาก แต่ขณะเดียวกันก็ มักจะมองเห็น แต่ความผิด ... ความไม่ดีของผู้อื่น” อยู่เสมอเนื่องจาก“ แรงขับของการต้องการมีชีวิตอยู่และ แรงขบั แห่งความก้าวร้าวทาร้ายทาลายผู้อ่ืนเพียงเพื่อให้บคุ คลอื่นและตนเองคิดและรสู้ ึกวา่ “ ตนน้นั เป็นผู้ท่ีมีดี มีความรู้ความสามารถเหนือผู้อื่น” มนุษย์มีธรรมชาติและเป็นเช่นน้ีมานานแล้วดังคากล่าวในโคลงโลกนิติที่ กลา่ วว่า โทษทา่ นผูอ้ น่ื เพยี งเมล็ดงา ปองติฉนิ นินทาหอ่ นเว้น โทษตนหนกั เทา่ ภูผาหนกั ยิ่ง ปองปิดคดิ ซ่อนเรน้ เรื่องรา้ ยหายสญู สรุปได้ว่าธรรมชาติของมนุษย์มีท้ังดีและไม่ดี“ มนุษย์ทุกคนไม่มีใครดีทั้งหมดไม่มีใครท่ีดีพร้อมทุกอย่าง และไม่มีใครเลวหมดไปเสียทุกอยา่ งจนหาขอ้ ดไี ม่ไดท้ กุ คนลว้ นมขี ้อดีขอ้ ด้อยเพียง แต่ด้านใดจะมากนอ้ ยกว่ากัน ถ้าข้อดีมากกว่าข้อเสียก็จะเป็นคนดีถ้าข้อเสียมากกว่าข้อดีก็เป็นคนเลวสืบเน่ืองมาจากการอบรมเลี้ยงดูและ ปัจจยั สภาพแวดล้อมดงั คากลา่ วของทา่ นพุทธทาสภิกขเุ ก่ียวกับมนษุ ย์วา่

4 “เขามีส่วน เลวบา้ ง ชา่ งหวั เขา จงเลือกเอา ส่วนทด่ี ี เขามอี ยู่ เป็นประโยชน์ โลกบา้ ง ยงั นา่ ดู สว่ นท่ีชัว่ อยา่ ไปรู้ ของเขาเลย จะหาคน มีดี โดยสว่ นเดียว อยา่ มัวเที่ยว คน้ หา สหายเอย๋ เหมือนเท่ยี วหา หนวดเตา่ ตายเปล่า เลยฝกึ ให้เคยมอง แตด่ มี ีคุณจริง” พุทธทาสภิกขุ 2.2 2.2.1 ความหมายของความต้องการของมนุษย์ ความตอ้ งการหมายถึงความอยากได้ใคร่ไดห้ รือประสงค์จะได้และเมื่อเกิดความรู้สึกดังกลา่ วจะทาให้ ร่างกายเกิดการความขาดสมดุลเนือ่ งมาจากมสี ิ่งเรา้ มากระตุ้นมีแรงขบั ภายในเกิดข้ึนทาให้ร่างกายไมอ่ าจอยนู่ ่ิง ต้องพยายามด้ินรนและแสวงหาเพื่อตอบสนองความต้องการนั้น ๆ เม่ือร่างกายได้รับตอบสนองแล้วร่างกาย มนุษย์ก็กลับสู่ภาวะสมดุลอีกครั้งหน่ึงและก็จะเกิดความต้องการใหม่ ๆ เกิดขึ้นมาทดแทนวนเวียนอยู่ไม่มีที่ สิ้นสดุ (ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน, 2526: 323) รูปท่ี2.1 ความอยากได้ ท่ีมา(https://tonkit360.com/68805)

5 มนุษย์พยายามทุกวิถีทางที่จะให้บรรลุความต้องการท่ีละข้ันเมื่อความต้องการขั้นแรกได้รับการตอบสนอง แล้วก็จะลดความสาคัญลงจนหมดความสาคัญไปไม่เป็นแรงกระตุ้นอีกต่อไป แต่จะเกิดความสนใจและความ ต้องการส่ิงใหม่ข้ึนแทน แต่ความต้องการขั้นต้น ๆ ที่ได้รับการตอบสนองไปเรียบร้อยแล้วน้ันอาจกลับมาเป็น ความจาเป็นหรือความต้องการคร้ังใหม่อีกได้ความต้องการท่ีเคยมีความสาคัญจะลดความสาคญั ลงเม่ือมีความ ต้องการใหม่ ๆ เข้ามาแทนที่นอกจากน้นั แล้วกิลเมอร์ (Gilmer) กล่าววา่ “ มนุษย์มคี วามตอ้ งการหลายสงิ่ หลาย อย่างเช่นอาหารอากาศน้าทอ่ี ยู่อาศยั รวมท้ังสิง่ อน่ื ๆ ดว้ ยเช่นการยอมรบั นับถือสถานภาพการเป็นเจ้าของฯลฯ แต่อย่างไรก็ตามโดยท่ัวไปความต้องการเหล่าน้ียากท่ีจะได้รบั การตอบสนองจนอม่ิ และพอใจท้ัง ๆ ที่ก็ได้รับอยู่ แลว้ ” (กฤษณาศกั ด์ศรี, 2534: 159) คนทางานเพ่ือสนองความต้องการของตนทางานเพอื่ เงนิ เพราะเงินเป็นสื่อกลางของการแลกเปลี่ยนส่ิงต่างๆ ทต่ี ้องการ แตไ่ มใ่ ชเ่ พ่ือเงินอย่างเดียวเสมอไปการทางานเพ่ือเงนิ เป็นเพยี งเหตผุ ลประการหน่ึงเทา่ น้นั ยังมีปัจจัย อื่น ๆ อีกมากที่คนต้องการได้รับจากการทางานซ่ึงบางครั้งเงินไม่สามารถซ้ือความต้องการบางอย่างได้เพราะ ความต้องการของมนษุ ยม์ ี 3 ประการคือ 1. ความต้องการทางด้านร่างกายหรือความต้องการทางสรีระ (Physical or Physiological Needs) หรือ ความต้องการปฐมภมู ิ (Primary Needs) หรือความต้องการทางด้านชวี วิทยา (Biological Needs) หรือความ ต้องการทางกายภาพเปน็ ความต้องการขั้นพน้ื ฐานอนั ดับแรกหรือขั้นต่าสุดของมนุษย์ซ่งึ จาเป็นในการดารงชวี ิต เป็นความต้องการท่ีจาเป็นสาหรับชีวิตเป็นความต้องการเพ่ือการดารงชีวิตอยู่ของมนุษย์เพื่อการมีชีวิตอยู่เป็น ความตอ้ งการทีม่ ีมาตั้งแต่กาเนิดในฐานะท่ีเป็นอินทรียท์ างกายภาพเป็นแรงขับ (Drive) ท่ีเกดิ ขึน้ ตามธรรมชาติ เป็นแรงขับดันทางกายภาพเป็นความต้องการท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของ สิ่งมีชีวิตเพื่อความอยู่รอดจึงเป็นความต้องการพื้นฐานที่จะขาดไม่ได้ความต้องการชนิดน้ีหากไม่ได้รับการ ตอบสนองจะมีความรู้สึกตึงเครียดอยู่ตลอดเวลาและมีความกระวนกระวายเช่นความต้องก ารอากาศหายใจ อาหารความอบอ่นุ นา้ ยารักษาโรคอุณหภูมทิ ่เี หมาะสมเครอ่ื งนงุ่ ห่มการเคลอื่ นไหวทางรา่ งกายการขบั ถา่ ยความ ตอ้ งการเร่ืองเพศการพักผ่อนนอนหลับท่ีอยู่อาศัยถ้าขาดความต้องการประเภทน้ีเพียงประการใดประการหนึ่ง ชีวิตจะต้องมีอันเป็นไปเพราะความต้องการน้ีเป็นสิ่งจาเ ป็นมากสาหรับมนุษย์ทุกคนจะขาดเสียไม่ได้การ แสวงหาสง่ิ ต่าง ๆ มาเพ่อื ตอบสนองความต้องการในทางกายของมนุษย์น้ขี ึ้นอยูก่ ับเงือ่ นไขของสังคมวัฒนธรรม การฝึกอบรมสิง่ แวดลอ้ มศาสนาเศรษฐกจิ ฯลฯ

6 รปู ท่ี๒.๑ ปจั จยั ๔ ทจ่ี าเปน็ ตอ่ การดารงชวี ติ ของมนษุ ย์ 2. ความต้องการทางด้านจิตใจหรือความต้องการในระดับสูงหรือความต้องการทางด้านจิตวิทยาหรือ ความต้องการทุติยภูมิหรือความต้องการท่ีเกิดใหม่ (Psychological Needs or Secondary Needs or Acquired Needs) เป็นความต้องการท่ีส่วนใหญ่เกิดขึ้นภายหลังหลังจากความต้องการทางร่างกายได้รับการ ตอบสนองแล้วบางครั้งจึงเรียกความต้องการทางจิตใจว่า“ ความต้องการที่เกิดขึ้นใหม่” (Acquired Needs) เพราะเป็นความต้องการที่เกิดจากความรู้และการเรียนรู้ประสบการณก์ ารสนองตอบต่าง ๆ ก็เพ่ือให้เกิดความ พึงพอใจเป็นแรงขับชนิดหนึ่งท่ีไม่หยุดอยู่กับท่ี (Dynamic) ไม่มีรากฐานจากความต้องการทางร่างกาย แต่ อาศัยกลไกทางสมองท่ีสั่งสมจากประสบการณ์สภาพแวดล้อมวัฒนธรรมเป็นส่วนใหญ่ซึ่งแต่ละบุคคลอาจ เหมือนกันหรือต่างกันได้เนื่องจากแต่ละคนมีระดับความต้องการแตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการเรียนรู้และ ประสบการณ์ความต้องการทางจิตใจเป็นความต้องการที่สลับซับซ้อนและมีความแตกต่างกันมากระหว่าง บุคคล 3. ความต้องการทางสังคมเป็นความต้องการทางจิตใจน้ันเอง แต่เน้นหนักในด้านความต้องการที่จะ ดารงชีวิตให้เป็นที่ยอมรับนับถือของคนอื่นหรือมีความเป็นอยู่ดีกว่าบุคคลอ่ืนเช่นต้องการความปลอด ภัย ตอ้ งการได้รับการยกย่องนบั ถอื ต้องการความยอมรับในสงั คมต้องการความก้าวหน้าเป็นตน้ ตามธรรมชาติแล้วมนุษย์มีความต้องการมากมายหลายอย่างจนไม่มีขอบเขต จากัด ซ่ึงท้ังความต้องการที่เกิด จากความคิดคานึงหรือความต้องการด้านจิตใจหรือความต้องการทางกายซึ่งเป็นความต้องการ ที่ขาดมิได้และ ในบรรดาความต้องการต่าง ๆ ของมนุษย์นั้นยากท่ีจะได้รับการตอบสนองจนเป็นที่พอใจเพราะเป็นเร่ืองของ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

7 2.2.2 ความต้องการตามแนวความคดิ ของมาสโลว์ อบั ราฮัมมาสโลว์ (Dr. Abraham H. Maslow) นักจิตวทิ ยากล่มุ มนุษย์นิยมได้อธิบายเร่ืองความต้องการ ของมนุษย์ว่าเป็นลาดับทั้งหมด 5 ขนั้ (Five General System of Needs) โดยเขียนเป็นรูปพีระมิดแห่งความ ต้องการไว้แสดงความต้องการขั้นมูลฐานของมนุษย์ (Basic Needs) เป็นทฤษฎีการจูงใจซึ่งเป็นคนแรกท่ีได้ เขียนขึน้ เรียกว่า“ Maslows General Theory of Human & Motivation” (เสถียรเหลืองอร่าม, 2519 325) มาสโลว์กาหนดหลกั การว่าบคุ คลพยายามสนองความต้องการของตนเพื่อความอย่รู อดและความสาเร็จ ของชีวิต ทฤษฎีความต้องการตามลาดับขั้นของมนุษย์ แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 5 ระดับความคิด สาคัญของทฤษฎีนี้คือ ความต้องการสว่ นใหญ่ในระดับทต่ี ่ากว่าตอ้ งได้รับการตอบสนองก่อนทค่ี วามต้องการใน ระดับท่ีสงู ขึน้ ไปจะเกิดขน้ึ ทั้งนมี้ ไิ ด้หมายความวา่ ความต้องการมากกว่าหนึง่ ระดบั ไม่อาจเกิดข้นึ ในเวลาเดียวกัน ความตอ้ งการของมนุษย์เป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ของการจงู ใจมนุษยเ์ ปน็ สตั ว์สังคมทีม่ ีความตอ้ งการไมส่ ้ินสุดตั้งแตเ่ กิดจน ตายมนุษย์ทุกคนมีความต้องการตลอดเวลาและจะต้องการมากข้ึนเรื่อยไปความต้องการของมนุษย์จัดเป็น ข้ันตอนตามความสาคัญจากต่าไปสูงซึ่งเรียกว่าความต้องการมูลฐาน 5 ขั้นมาสโลว์จัดลาดับความต้องการของ มนษุ ยไ์ ว้อยา่ งมีระเบียบเรยี กว่าลาดบั ขั้นความต้องการของมนุษย์ (Hierarchy of Human Needs) เรียงลาดับ ขั้นจากต่าไปสูงถ้าความต้องการในข้ันแรก ๆ ยังไม่ได้รับการตอบสนองก็ยังไม่มีความต้องการในขั้นสูงถัดไป ดงั นี้ รูปความต้องการของมนษุ ย์ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Maslow %27s_Hierarchy_of_Needs.svg

8 ความตอ้ งการมลู ฐาน 5 ข้นั ของมาสโลว์ 1. ความต้องการพื้นฐานทางสรีระ (Basic Physiological Needs or Biological Needs, Physical Needs) คือความต้องการบาบัดความหิวกระหายต้องการพักผ่อนต้องการเร่ืองกามารมณ์ต้องการบาบัดความ เจ็บปวดและความไม่สมดลุ ทางรา่ งกายต่าง ๆ 2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs and Security) คือต้องการความม่ันคงต้องการการ ป้องกนั อนั ตรายตอ้ งการระเบียบตอ้ งการทานายอนาคต 3. ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ (Love and Belonging Needs or Social Needs) คือตอ้ งการเพอ่ื นผรู้ ่วมงานครอบครัวต้องการเปน็ ทีย่ อมรบั ของกลุ่มตอ้ งการใกลช้ ดิ กบั เพศตรงข้าม 4. ความต้องการการยกย่องสรรเสริญ (Esteem Needs, Self-Esteem Needs) คือต้องการความนับ ถือต้องการความมน่ั คงซง่ึ อยู่บนพื้นฐานของความเห็นของบุคคลโดยทัว่ ไปต้องการความพอใจชมเชยความนยิ ม ตอ้ งการความม่ันใจในตนเองตอ้ งการคุณค่าในตนเองต้องการยอมรับตนเอง 5. ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ค ว า ม ส ม ห วั ง ใ น ชี วิ ต ( Self-Actualization Needs. Self-Realization, Self Fulfilment Needs) คือต้องการไปให้ถึงความสามารถสูงสุดของตนเองต้องการท่ีจะพัฒนาศักยภาพของตน ต้องการทาสิ่งท่ีเหมาะสมที่สุดต้องการความงอกงามและขยายความต้องการให้ถึงที่สุดค้นพบความจริง สรา้ งสรรค์ความงามสง่ เสริมความยตุ ธิ รรมสรา้ งระเบยี บ 2.3 มนุษย์ทุกคนมีความแตกต่างกัน“ แม้แต่ฝาแฝดท่ีเกิดจากไข่ใบเดียวกันและอสุจิตัวเดียวกันท่ีเรียกว่าแฝดแท้มี รูปร่างใบหน้าและเพศเหมือนกันยังมีความแตกต่างกันบางประการแล้วแตเ่ หตุและปจั จยั สภาพแวดล้อมมนุษย์ มีความแตกต่างกันในด้านต่าง ๆ กันซ่ึงกฤษณาศักด์ิศรี (2534: 124-125) กล่าวว่ามนุษย์แตกต่างกันในเร่ือง ต่อไปน้ี 1. รูปร่างหน้าตาท่าทาง (Appearance) ลักษณะทางกายภาพของมนุษย์ขึ้นอยู่กับพันธุกรรมและ สงิ่ แวดลอ้ มท่ีมคี วามต่างกันเชน่ ความสูงสผี ิวใบหน้าบุคลิกภาพความพิการ แต่กเ็ ปน็ มนุษย์ท่ีมีสิทธิเสรีภาพและ ความเปน็ คนเสมอภาคกนั ฉะนนั้ ไมค่ วรมอี คตใิ นเร่ืองความแตกต่างของมนุษย์

9 รปู ที่ 2.4 ความแตกตา่ งทางกายภาพ 2. อารมณ์ (Emotion) มนุษย์มีอารมณ์ต่างกันบางคนอารมณ์เย็นอารมณ์ร้อนโมโหฉุนเฉียวโกรธง่ายการ แสดงออกตา่ งกันทาให้บคุ ลกิ แตกต่างกัน 3. นิสัย (Habit) มนษุ ย์แตกต่างกนั บางคนนิสัยดีขยันซื่อสัตย์สุจริต แต่บางคนนิสยั โหดร้ายคดโกงไวใ้ จไมไ่ ด้ อจิ ฉารษิ ยา ฯลฯ 4. เจตคติ (Attitude) หรือท่าที่ความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้วแสดงออกแตกต่างกันท้ังรายบุคคลและ กลุ่มบคุ คล 5. พฤตกิ รรม Behavior) ของมนษุ ย์ต่างกันขึน้ อยู่กบั แรงจูงใจของแต่ละคน 6. ความถนัด (Aptitude) มนุษย์เกิดมามีความถนัดตามธรรมชาติที่ติดตัวมาต่างกันหากได้ทางานตามที่ ถนัดจะทาได้ดีผลงานออกมาดี แต่ถ้าให้ทางานที่ไม่ถนัดจะส่งผลเสียหรือทาได้ แต่ไม่ดีท้ังหมดน้ีจะส่งผล ทางด้านจิตใจด้วย 7. ความสามารถ (Ability) มนุษย์มีความสามารถต่างกันเน่ืองจากด้านร่างกายแข็งแรงไม่เท่ากันผู้ท่ี แข็งแรงกว่าย่อมทางานหนักได้มากกว่าผู้อ่อนแอผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง แต่ผู้หญิงอาจทางานละเอียดและ เรียบร้อยกวา่ ผู้ชาย 8. สุขภาพ (Health) มนุษย์ย่อมมีสุขภาพท้ังร่างกายและจิตใจต่างกันแข็งแกร่งอ่อนแอไม่เท่ากันบางคน รปู ร่างผอมมโี รคภัยประจาตวั 9. รสนิยม (Taste) ท่ีเรียกว่านานาจิตตังฉะน้ันไม่ควรดูหม่ินเหยียดหยามเยาะเย้ยถากถางตาหนิรสนิยม ของผูอ้ นื่ ต้องเคารพสทิ ธิผอู้ ื่นเพราะทกุ คนมสี ิทธชิ อบธรรมท่จี ะชอบหรอื ไมช่ อบสิ่งต่าง ๆ ได้ 10. สังคม (Social) มนุษย์มีสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ีแตกต่างกันเป็นสาเหตุให้เกิดความขัดแย้งไม่สามารถ เข้ากันหรือสัมพนั ธ์กนั ได้หากขาดความรู้ความเข้าใจไม่ยอมรับกันจะทาให้เกดิ การดหู ม่ินเหยียดหยามไม่เคารพ สิทธิไมใ่ หเ้ กยี รติหรือเคารพนับถอื กันและไม่ยอมรับในความแตกต่าง

10 สรุปว่ามนุษย์มีด้านที่แตกต่างกันประกอบด้วยด้านร่างกายด้านจิตใจด้านอารมณ์ด้านสังคมและด้าน สติปญั ญา 2.3.1 สาเหตขุ องความแตกต่างของมนษุ ย์ สาเหตทุ ่ีทาใหม้ นุษยแ์ ตกต่างกันมีดังนี้ 1. เช้อื ชาตทิ าให้มนษุ ยม์ ีรปู ร่างใบหนา้ สผี ิวสีผมแตกตา่ งกัน 2. ศาสนาหล่อหลอมให้มนุษย์มีความเชื่อถือความคิดให้ยึดม่ันต่างกันขึ้นกับว่าแต่ละศาสนาอบรม ส่งั สอนอยา่ งไร 3. การกระทา ได้แก่ การประพฤติปฏิบัติอยู่เป็นประจาสม่าเสมอเช่นผู้ที่ฝึกหัดให้มีกิริยามารยาท เรียบร้อยหรือท่าทางที่สง่าผ่าเผยก็จะเป็นผู้มีกิริยาเรียบร้อยสง่าผ่าเผยส่วนผู้ท่ีมิได้ฝึกหัดอาจมีพฤติกรรม ตรงกนั ขา้ ม 4. วัยผู้ใหญ่ย่อมมีประสบการณ์ความสุขุมเยือกเย็นผ่านชีวิตมามากกว่าจึงแตกต่างกับเด็กหรือผู้มีวัย ออ่ นกว่าเน่ืองจากความคดิ และวุฒภิ าวะต่างกนั รูปท่ี 2.5 ความแตกต่างดา้ นวัย (ทม่ี า: https://www.thaihealth.or.th/data/content/2014/06/24676/cms/e_cgjoprsvwx47.jpg 5. ความแข็งแรงการท่ีบุคคลมีร่างกายจิตใจแข็งแรงหรืออ่อนแอมีโรคภัยไข้เจ็บทาให้บุคคลเกิดความแตกต่าง 6. การอบรมส่งั สอนบคุ คลทไี่ ดร้ ับการฝกึ อบรมสงั่ สอนเลีย้ งดูมาต่างกนั ย่อมทาให้เกิดความแตกตา่ งกนั ได้

11 7. เพศหญิงชายย่อมมีความแข็งแรงความม่ันคงหว่ันไหวความรู้สึกผิดชอบยึดมั่นในขนบธรรมเนียม และเชอ่ื ทตี่ า่ งกันผู้ชายชอบการต่อสคู้ วามโลดโผนผหู้ ญงิ ชอบความสวยงามละเอียดออ่ น 8. การศึกษาความรู้มากหรือน้อยย่อมทาให้มนุษย์เปล่ียนแปลงหรือมีความรู้ความเข้าใจรู้สึกนึกคิด ต่างกนั 9. ฐานะทางเศรษฐกิจความรวยความจนทาให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงและแตกต่างกันหลายอย่างเช่น ความเช่ือถือศรัทธาความม่ันใจบุคลิกภาพความคิดนิสัยเปล่ียนไปเม่ือฐานะเปลี่ยนไปคนจนอาจรู้จักนอบน้อม ถ่อมตน แตค่ นรวยสว่ นใหญม่ ีผู้นบั ถือมากทาใหเ้ กดิ ความเช่อื มัน่ ในตวั เองสงู 10. ถ่ินกาเนิดเช่นภาคเหนือใต้อีสานลักษณะดินฟ้าอากาศท่ีต่างกันย่อมมีส่วนหล่อหลอมให้มนุษย์มี บุคลิกภาพและนิสัยแตกต่างกันเช่นภาคเหนืออากาศหนาวเย็นสบายทาให้คนเมืองเหนือใจดีเป็นมิตรกับคน ทั่วไปทางใต้มีสภาพฟ้าอากาศแปรปรวนตลอดเวลาลมพัดแรงและเสียงดังอากาศร้อนทาให้ค นภาคใต้ต้องทา ตนหรือพูดแข่งกบั เวลาและเสยี งลมทะเลสว่ นใหญจ่ ึงพูดเร็วเปน็ ตน้ 11. ภาษามนุษย์ในโลกนีม้ ีภาษาทใ่ี ช้พูดติดต่อสื่อสารแตกตา่ งกนั หลายรอ้ ยหลายพันภาษาทาให้มนษุ ย์ ติดต่อกันได้บ้างไม่ได้บ้างอาจเกิดความรู้สึกขัดแย้งดหู ม่ินเหยยี ดหยามกันได้การสื่อสารด้วยภาษาที่แตกตา่ งกัน ต้องพยายามทาใจเป็นกลางมองในแง่ดีเพราะบางครั้งการตีความของภาษาไม่ตรงหรือไม่ถูกต้องอาจทาให้ จุดประสงคห์ รอื มิตรภาพบดิ เบอื นได้ 12. กฎหมายขนบธรรมเนียมประเพณีมีส่วนทาให้เกิดความแตกต่างเช่นประเทศเคนยาได้กาหนด แก้ไขกฎหมายว่าด้วยการสมรสให้ผู้ชายสามารถมีภรรยาได้หลายคนโดยไม่ผิดกฎหมายซึ่งกฎหมายฉบับนี้ สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของชนเผ่าต่าง ๆ ในประเทศเช่นชนเผามาไซเป็นต้น (ASTV. 2557: ออนไลน์) อาหรับอนุญาตให้ชายมีภรรยาได้ถึง 5 คนโดยไม่ผิดกฎหมาย แต่เมืองไทยถือว่าคนเดียวเท่านั้นท่ี ถูกต้องตามกฎหมาย 13. อิทธิพลของกลุ่มการมีอิทธิพลของส่ิงใดสิ่งหน่ึงเข้าครอบงาอาจทาให้ความคิดความเช่ือการ ประพฤติปฏิบัติเปลี่ยนไปเช่นหากอยู่ในกลุ่มอิทธิพลซ่ึงมีแนวความคิดดีสร้างสรรค์จะทาให้เป็นคนดีอยู่ในกลุ่ม โจรก็กลายเปน็ คนไม่ดตี ามกลมุ่ ไป 14. การอาชพี มอี ิทธิพลต่อลักษณะบทบาทและพฤตกิ รรมของมนุษย์เช่นอาชพี นกั บวชจาเป็นตอ้ งสุขุม เรียบร้อยขอทานต้องทากิรยิ าทา่ ทางนา่ สงสารพนักงานขายต้องพูดเกง่ อธั ยาศัยดี

12 รปู ท่ี 2.6 ความแตกต่างดา้ นอาชีพ ท่ีมา: https://static.thairath.co.th/media/dFQROr7oWzulq5FZYji6FtFceSRFnsklCQVYZhOhQBByIl8iT yCIra4z9bbB7qAAHhP.jpg 2.3.2 สรุปปัจจัยที่ทาให้มนษุ ยม์ ีความแตกตา่ งกันมดี ังนี้ 1. กรรมพนั ธุ์ (Heredity) คอื ส่งิ ท่ไี ด้รบั การถา่ ยทอดจากบดิ ามารดาหรอื บรรพบุรุษ 2. สิ่งแวดล้อม (Environment) คือสิ่งที่อย่รู อบตัวและมีอทิ ธิพลต่อมนุษย์แบง่ ได้เป็น (1) สิ่งแวดล้อมก่อนเกิด ได้แก่ สภาพนับตั้งแต่ปฏิสนธิอยใู่ นครรภม์ ารดาและสภาพมดลกู ของมารดา ก่อนคลอดปัจจัยท่ีมีอิทธิพลจัดเป็นส่ิงแวดล้อมก่อนเกิด ได้แก่ สุขภาพของแม่อารมณ์ของแม่อาหารสารพิษ และส่งิ เสพตดิ ทแ่ี ม่ได้รับทัศนคตขิ องพ่อแม่ต่อการตั้งครรภฐ์ านะทางเศรษฐกจิ การศึกษา (2) ส่ิงแวดลอ้ มขณะเกดิ ได้แก่ วิธกี ารคลอดอุบตั ิเหตุระหว่างการคลอด (3) สง่ิ แวดลอ้ มหลงั เกิด ได้แก่ การเลีย้ งดูการสั่งสอนการศึกษาทีไ่ ด้รบั / โรงเรยี นส่อื มวลชนกลมุ่ 3. กรรม / การกระทา (Action) คือการกระทาของบุคคลซ่งึ แบง่ ไดด้ งั น้ี (1) กรรมเก่าหมายถึงผลของการกระทาของตนเองหรือผู้ให้กาเนิดรวมท้ังด้านร่างกายและจิตใจเช่น ส่ิงทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามพนั ธุกรรมกถ็ ือได้วา่ เป็นเร่ืองของกรรมเก่า (2) กรรมใหมห่ มายถงึ การกระทาของมนุษยใ์ นปจั จบุ ันและอนาคตซ่ึงจะส่งผลทีท่ าให้มนุษยแ์ ตกต่าง กัน

13 2.3.3 ประโยชนข์ องความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ในแงป่ ระโยชน์ของความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลนั้นอาจกลา่ วไดว้ ่าการที่บุคคลมลี ักษณะแตกตา่ งกัน สามารถนาความแตกต่างมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการทางานได้เป็นอย่างดีตัวอย่างเชน่ ความสามารถของบุคคล ท่ีไม่เหมือนกันจะทาให้บุคคลสามารถทางานในองค์การในด้านท่ีแตกต่างกันไปหากบุคคลมี ความสามารถ เหมือนกันจะไม่เกิดประโยชน์ต่อองค์การเท่าที่ควรหรือผู้ท่ีเรียนมาต่างสาขากันย่อมทาหน้าที่แตกต่างกันใน องค์การซ่ึงเป็นประโยชนท์ ั้งสองฝา่ ยนอกจากน้ีความแตกต่างกันยังสง่ เสรมิ ให้บุคคลเรยี นร้คู วามคิดที่กวา้ งขวาง มากข้ึนจากบุคคลอื่น ๆ ความคิดที่หลากหลายเพ่ิมข้ึนมานาไปสู่การตัดสินใจได้อย่างฉลาดและถูกต้องมากขึ้น รวมทั้งจะสร้างแรงจูงใจให้แต่ละคนได้ทุ่มเทในการคิดทาสิ่งต่าง ๆ มากกว่าเดิมด้วยหรืออาจจะมองในแง่ของ การเกดิ แรงบนั ดาลใจในการแขง่ ขนั ระหว่างสมาชิกด้วย 2.4 2.4.1 ความหมายของพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ พฤติกรรมคือการกระทาของบุคคลในทุกลักษณะเป็นการประพฤติปฏิบัติของบุคคลเพ่ือ ปรับตัวต่อส่ิงแวดล้อมซึ่งอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวเป็นการกระทาท่ีสังเกตได้โดยอาจใช้ประสาทสัมผัสธรรมดา หรอื ใช้เครอ่ื งมือชว่ ยการสงั เกต 2.4.2 ประเภทของพฤตกิ รรม นกั จติ วิทยานยิ มแบ่งพฤตกิ รรมเป็น 2 ประเภทดังน้ี 1. พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) เป็นพฤติกรรมท่ีสังเกตได้โดยชัดเจนแยกเป็น 2 ชนดิ คือ (1) พฤติกรรมที่สังเกตได้โดยไม่ต้องใช้เคร่ืองมือช่วยเช่นการพูดการหัวเราะการร้องไห้การ เคลือ่ นไหวของร่างกายหรอื แม้แตก่ ารเต้นของหวั ใจซึ่งผู้อน่ื สังเกตไดโ้ ดยอาศัยประสาทสัมผสั (2) พฤติกรรมท่ีต้องใช้เคร่ืองมือหรือการวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์เช่นการเปลี่ยนแปลงของ สารเคมีหรือปรมิ าณน้าตาลในกระแสเลอื ดการทางานของกระเพาะอาหารและลาไสซ้ ่งึ ไมส่ ามารถสังเกตได้ด้วย ตาเปลา่ หรือประสาทสมั ผัสเปลา่

14 รูป พฤติกรรมภายนอกท่สี งั เกตไดโ้ ดยไม่ตอ้ งใช้เครอ่ื งมอื ช่วย) (ท่ีมา : https://obs.line-scdn.ne) 2. พฤติกรรมภายในหรือ“ ความในใจ” (Covert Behavior) เป็นพฤติกรรมท่ีตนเองเท่าน้ันที่ รู้ถ้าไม่บอกใครไม่แสดงออกก็ไม่มใี ครร้ไู ด้ดเี ช่นการจาการรบั รู้การเข้าใจการไดก้ ล่ินการได้ยนิ การฝนั การหวิ การ โกรธความคิดการตดั สนิ ใจเจตคติจินตนาการเป็นต้น พฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายในมีความสัมพันธ์กันโดยพฤติกรรมภายในเป็นตัวกาหนด พฤติกรรมภายนอกเช่นมนุษย์ย่อมพูดหรือแสดงกิริยาโดยสอดคล้องกับความรู้สึกความคิดภายในถ้าต้องการ ศึกษาให้เข้าใจเก่ียวกับ“ จิตใจ” หรือพฤติกรรมภายในของมนุษย์ต้องศึกษาจากส่วนท่ีสัมผัสได้ชัดแจ้งคือ พฤติกรรมภายนอกซึ่งเป็นแนวทางสู่ความเข้าใจพฤติกรรมที่เป็นความในใจและการจะเข้าใจพฤติกรรมต่าง ๆ ทม่ี นุษย์แสดงออกอนั เปน็ พฤติกรรมภายนอกตอ้ งศกึ ษาให้เข้าใจธรรมชาติของการคดิ การตัดสินใจการรับรู้การ รสู้ ึก ฯลฯ ซ่งึ เปน็ พฤติกรรมภายใน 2.5 ในหลักธรรมคาสอนเร่ือง“ ความพอเพียง” ซ่ึงหมายถึงความพอประมาณความมีเหตุผลรวมถึงความ จาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ัง ภายนอกและภายในท้ังน้ีจะต้องอาศัยความรอบรู้ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาหลัก วิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐาน จิตใจของคนในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรมความซ่ือสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสมดาเนินชีวิต ดว้ ยความอดทนความเพียรมีสติปัญญาและความรอบคอบเพอื่ ให้สมดุล

15 และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขว างทั้งด้านวัตถุสังคมส่ิงแวดล้อมและ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี ดังน้ันวิถีการดารงอยู่ของสิ่งมีชีวิตทั้งมวลล้วนข้ึนอยู่กับ“ ความพอเพียง” ส่ิงมีชีวิตเกือบทุกประเภททั้ง ใหญ่ไปถึงชีวติ ในระดับจลุ ภาคที่เป็นสารชวี เคมีจะเห็นว่าวิถีการดารงอยู่ของส่ิงมชี ีวิตท้งั หมดล้วนต้ังอยู่บนฐาน ของ“ ความพอเพียง” ท้ังน้ันพืชแต่ละชนิดต้องการน้าแสงแดดแร่ธาตุลักษณะคุณภาพของดินมากน้อยไม่ เท่ากันเหล่านี้คือเร่ืองของ“ ความพอเพียง” ท่ีพืชแต่ละชนิดมีความต้องการตามธรรมชาติท่ีแตกต่างกันหากมี มากเกนิ ไปหรือน้อยเกินไปพืชชนดิ นัน้ ๆ จะไมแ่ ข็งแรงไม่งอกงามหรืออาจตายได้ ในสัตว์ก็เช่นเดียวกันทุกอิริยาบถหากมากเกินไปหรือน้อยเกินไปก็ล้วนมีผลต่อสุขภาพและการดารงอยู่ ทั้งนั้นส่วนมนุษย์จะมีค่าปกติซ่ึงจะเป็นลักษณะค่าสูงและต่าของปริมาณสารชีวเคมีซึ่งเป็นค่าปกติของร่างกาย มนุษย์เช่นระดับน้าตาลในเลือดปกติมีค่าระหว่าง 70-110 mg / dL หรือระดับของคอเลสเตอรอล (Cholesterol) ในเลือดซ่ึงปกติมีค่า 120-220 mg / dL หากตรวจพบว่ามีค่าท่ีต่ากว่าหรือสูงกว่าค่าปกติน้ีก็ เป็นสัญญาณเตือนว่าระบบของร่างกายเริ่มไม่ปกติกาลังมีอันตรายและเกิดปัญหาสุขภาพข้ึนจาเป็นต้องหา สาเหตุเพื่อป้องกันและรักษาสุขภาพต่อไปค่าสูงและต่าที่ค้นพบน้ีอันที่จริงคือเร่ืองของ“ ความพอเพียงไม่น้อย เกินไปและไม่มากเกินไป” ซ่ึงธรรมชาติมีกฎเกณฑ์ให้สิ่งมชี ีวิตตอ้ งดารงชีพอยู่ในหลกั ของความพอเพยี ง” จึงจะ อยไู่ ดอ้ ย่างปกตสิ ขุ และย่ังยนื รูปท่ี 2.8 ตัวอย่างอาหารทสี่ ่งผลต่อระดับคอเลสเตอรอล (ที่มาhttps://us-fbcloud.net/wb/data/953/953904-img.rqnnj0.o59n.jpg) 2.5.1 ความเหมือนกันของระบบในธรรมชาตกิ ับระบบในร่างกายของมนุษย์ ระบบของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติมีลักษณะเช่นเดียวกับระบบในร่างกายมนุษย์มนุษย์โดยท่ัวไปยัง ศกึ ษาและให้ความสาคัญกับเร่ือง“ ภาวะความพอเพียง” ในระบบของธรรมชาตนิ ้อยเกินไปในธรรมชาติมี ดวง อาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ มคี วามร้อน ความมืด-สว่างแผน่ ดิน น้า ลม เมฆ ฝน หมิ ะ

16 นา้ แข็งภูเขาป่าไม้แม่น้าลาคลอง ฯลฯ ส่ิงเหลา่ นคี้ ือ“ ระบบอวัยวะของธรรมชาติท่ีทาหน้าทีร่ ักษาส่ิงต่าง ๆ ที่มี อยู่ในธรรมชาติให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขเช่นเดียวกับ“ ระบบอวัยวะในร่างกายมนุษย์” ท่ีทา หน้าที่รักษาชีวิตของมนุษย์ให้สามารถอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขซ่ึงมนุษย์ไม่ได้มองหรือตระหนักรู้ในเรื่องน้ีจึงได้ กระทากับธรรมชาติตามอาเภอใจอย่างไม่ปรานีปราศรัยโดยมีตัวกระตุ้นที่สาคัญคือความโลภท่ีต้องการการ ตอบสนองในการบริโภคเพื่อความอยู่ดีกินดีของตนอย่างไม่ จากัด และไม่รู้จกั พอโดยไม่ได้รู้สึกว่าสงิ่ ท่ีกระทาน้ี เป็นการทาลายระบบอวัยวะของธรรมชาติซ่ึงจะส่งผลร้ายต่อการดารงอยู่ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดเปรียบได้กับ อวยั วะในร่างกายของมนษุ ยท์ ่ีกาลังถกู ทาลาย 2.5.2 ความสามารถของมนุษยใ์ นการทาลายสิง่ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติ มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเดียวท่ีสามารถทาลายสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติได้สัตว์อ่ืน ๆ นั้นมี ความสามารถ จากัด เท่าท่ีสัญชาตญาณให้มาจึงมีความเป็นอยู่ไปตามธรรมชาติเท่าน้ันไม่สามารถทาอะไร เกินไปกว่าที่ธรรมชาติให้มาการดารงชีวิตของสัตว์อน่ื ๆ จึงไมม่ กี ารทาลายธรรมชาติการทาลายธรรมชาตทิ ่ผี า่ น มายังไม่ส่งผลให้เห็นชัดเจนนักเพราะยังเหลือส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติมากพอท่ีจะรักษา“ ภาวะความพอเพียง \"หรือความสมดุลของธรรมชาติไว้ได้ แต่ปัจจุบันส่ิงแวดล้อมในธรรมชาติถูกทาลายมากเกินไปจนถึงระดับท่ีไม่ สามารถรักษา“ ภาวะความพอเพียง” หรือความสมดุลของธรรมชาติได้อีกต่อไปภัยธรรมชาติต่าง ๆ จึงเกิดให้ เห็นมากข้ึนเช่นภัยท่ีเกิดจากภาวะโลกร้อนซึ่งส่งผลให้สภาพดนิ ฟ้าอากาศฤดูกาลเปลี่ยนแปลงไปการก่อตัวของ ลมและพายุที่บ่อยครั้งขึ้นและรุนแรงยิ่งขึ้นตามลาดบั รวมถงึ ภัยแล้งและภยั น้าทว่ มในอนาคตภัยที่นา่ กลัวคือภัย อันเกิดจากธารน้าแข็งของขั้วโลกกาลังละลายอย่างรวดเร็วซ่ึงจะส่งผลให้เกาะและแผ่นดินที่อยู่ต่าตามชายฝ่ัง ทะเลถูกน้าท่วมและหายไปจากแผนท่ีตลอดจนภัยท่ีเกิดจากการขาดแคลนน้าจืดเพราะแหล่งต้นน้าลาธารถูก ทาลายแม่น้าลาคลองแห้งและถูกทาให้กลายเป็นเสมือนท่อระบายน้าทิ้งภัยอันเกิดจากมลพิษซ่ึงเกิดข้ึนจาก กระบวนการผลิตหรือแม้แต่ผลผลติ ต่าง ๆ ทม่ี นุษย์สร้างขนึ้ ส่งผลให้เกิดมลพิษอย่างมหาศาลทั้งบนผืนดนิ แหล่ง น้าอากาศอาหารหรือส่ิงของอุปโภคบริโภคต่าง ๆ ล้วนมาจากธรรมชาติความต้องการของมนุษย์ท่ีไม่มีส้ินสุด ท้งั สิน้

17 รปู ท่ี 2.9 ความสามารถของมนษุ ย์ในการทาลายธรรมชาติ (ท่ีมา https://static.thairath.co.th/media) 2.5.3 ความพอเพียงในทางจิตใจของมนษุ ย์ ความรู้สึกเป็นนามธรรมเป็นเร่ืองของจิตใจที่ขึ้นอยู่กับ“ ความพอเพียง” สังเกตได้ง่ายใน ชีวติ ประจาวันเชน่ -ดใี จมากเกินไปอาจทาใหช้ อ็ กได้ -เสยี ใจมากเกนิ ไปอาจตรอมใจและถึงกบั เสียชวี ิตได้ -คดิ มากเกนิ ไปอาจทาใหเ้ ปน็ โรคจิตและโรคประสาทได้ -โกรธมากเกินไปอาจทาให้เสน้ เลอื ดในสมองแตกได้ ดงั นั้นในเร่ืองของความรู้สึกนึกคิดจาเป็นต้องเรียนรู้และพยายามรักษาให้อยู่ในภาวะท่ีพอเพียง เช่นกันเพ่อื ใหส้ ง่ิ ตา่ ง ๆ ภายในจิตเป็นไปด้วยดไี ม่เกิดปัญหา “ความพอเพียง” ไม่เฉพาะเป็นเรื่องของ“ปริมาณ” แต่ยังเป็นเรื่องของ“ คุณภาพ” ด้วยเช่น การจะทาอะไรใหป้ ระสบความสาเร็จต้องมีองค์ประกอบซง่ึ เปน็ คุณภาพภายในทีส่ าคญั 4 อยา่ งด้วยกนั คอื 1. ความพอใจ (ฉันทะ) 2. ความเพยี ร (วริ ิยะ) 3. ความมงุ่ มัน่ แนว่ แน่ (จิตตะ) 4. การไตรต่ รอง (วมิ ังสา) การปฏิบัติธรรมในหลักคาสอนของพระพทุ ธศาสนานอกจากจะปฏิบัติตามข้อธรรมแล้วยังต้อง ปฏิบัติให้มากเป็นประจาและต่อเนอื่ งเพอื่ ใหเ้ กิดความชานาญจนเกิดส่ิงท่ีเรียกวา่ “ อนิ ทรีย์

18 (เป็นใหญ่) หรือ“พละ” (พลัง) จึงจะพอเพียงท่ีจะทาให้การปฏิบัติธรรมน้ัน ๆ ประสบความสาเร็จขึ้นมาได้ แม้แต่เรอื่ งของการพัฒนาจติ ท่ลี กึ ซึง้ เพ่ือมงุ่ ส่คู วามเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนากอ็ ยบู่ นรากฐานของ “ความพอเพียง” เช่นกนั อาจกลา่ วได้ว่า“ ความพอเพียง” ในทางจิตใจของมนุษย์เป็นต้นเหตุสาคัญหรือนับเปน็ เร่อื งทส่ี าคัญ ท่สี ุดท่ีทาให้เกิดผลกระทบต่อ“ ความพอเพียง” ต่าง ๆ ดังคาสอนในพระพุทธศาสนาที่ว่า“ ธรรมทั้งหลายมีใจ เปน็ ใหญ่เป็นประธานมใี จถงึ ก่อนมใี จเป็นตวั นา” ดงั นั้นหากมนษุ ย์ไมม่ ี“ ความพอเพียง” ในทางจิตใจแล้วกย็ าก ท่ีจะทาให้เกิด“ ความพอเพียง” ในด้านอื่น ๆ ได้เพราะมนุษย์ไม่มี“ ความพอเพียง” ในทางจิตใจนี้เองจึงเป็น ตน้ เหตุสาคัญทีไ่ ปทาลาย“ ความพอเพียง” ในด้านต่าง ๆ จนทาใหเ้ กดิ วิกฤตการณ์และภยั พิบตั มิ ากมายอยา่ งท่ี กาลังประสบกนั อยู่ รูปที่ 2.10 ธรุ กิจโรงแรมสร้างบ้านพกั รุกลา้ ทะเล (ที่มา: https://www.posttoday.com) 2.5.4 ความพอเพียงกบั ทางรอดของมนษุ ย์และสงั คม ความพอเพียงคือทางรอดของมนุษย์และสังคมกล่าวคือระบบของธรรมชาติคือระบบความพอเพียง เนอื่ งด้วยส่ิงแวดลอ้ มในธรรมชาติวิถีการดารงอย่ขู องสิ่งมีชีวิตหรอื ชวี ติ ในสว่ นของมนษุ ย์หรือเร่ืองของจิตใจหาก จะใหเ้ ป็นไปโดยปกติสุขและยง่ั ยืนแล้วลว้ นต้องมีรากฐานอย่บู นเร่อื ง“ ความพอเพียง” ท้ังส้ินทงั้ น้ีเพราะระบบ ของธรรมชาตคิ ือระบบความพอเพียงหากมนุษย์ไมด่ าเนินชีวิตให้ถูกต้องตามหลักแห่งความพอเพียงแล้วมนุษย์ จะประสบปัญหาความทุกข์และภัยพิบัติต่าง ๆ และจะทวีความรุนแรงขึ้นจนถึงที่สุดคือความหายนะหรือที่ เรียกว่าการล้างโลกเพื่อปรับให้กลับคืนสู่“ ความพอเพยี ง” ดังนั้นจึงเป็นเร่ืองสาคัญท่ีสุดที่มนุษย์จะต้องเรียนรู้ และดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักความพอเพียงในเรื่องนั้น ๆ จะส่งผลให้มนุษย์ สามารถดาเนนิ ชีวิตและดารงอยู่ได้เปน็ ปกติสุขและยัง่ ยืน

19 หรืออาจกล่าวได้ว่า“ ความพอเพียง” เป็นทางรอดของมนุษย์และสังคมในโลกปัจจุบันและโลกอนาคตท่ีกาลัง สูญเสียในเรือ่ งความพอเพียงในทกุ ด้านและกาลงั ต้องการความพอเพียงมาเยียวยารักษาอย่างเร่งดว่ น 2.6 ถือเป็นหัวใจหรือรากฐานในการดาเนินและดารงอยู่ของชีวิตท่ีเป็นปกติสุขและยั่งยืนสิ่งสาคัญต่อไปคือ การปฏิบัติหรือประยุกต์ท่ีเกี่ยวข้องกับความพอเพียงในบริบทต่าง ๆ เพื่อให้นาไปปฏิบัติได้จริงและเกิดผลจริง ดังน้ันจึงจาเป็นต้องทราบเรื่อง“ ความพอเพียง” ทุกเรื่อง แต่ให้เลือกปฏิบัติในส่วนท่ีเป็นหัวใจหรือประเด็น สาคัญเท่านัน้ เมอ่ื ปฏบิ ัติในเร่ืองเหล่านี้ถูกตอ้ งแล้วจะมผี ลไปถึงเร่ืองอื่น ๆ เองโดยอัตโนมัติอาจจาแนกไดเ้ ป็น 4 เรื่องทส่ี าคญั คือเร่ืองสงิ่ แวดล้อมในธรรมชาตเิ รอื่ งเกี่ยวกับกิจกรรมตา่ ง ๆ ของมนุษยเ์ รือ่ งการบรหิ ารและพฒั นา กายและเรื่องการบรหิ ารและพัฒนาจิต 2.6.1 การประยุกต์“ ความพอเพียงและธรรมชาติของมนุษย์” กับส่ิงแวดล้อมในธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อมในธรรมชาติ เป็นเสมือน“ อวัยวะของธรรมชาติ” เหมือนอวัยวะของร่างกายซึ่งล้วนเป็นส่ิงสาคัญและมีหน้าที่ แตกตา่ งกันไปมที ั้งส่วนท่ีไม่สามารถควบคุมไดเ้ ช่นการทางานของหัวใจและอวัยวะภายในท้ังหลายและมีส่วนท่ี สามารถควบคุมไดเ้ ชน่ ระบบกล้ามเน้อื ลายท่ีทาให้อวัยวะตา่ ง ๆ สามารถเคล่ือนไหวไดเ้ ช่นการเดนิ การหยิบการ กะพริบตาเป็นต้น แต่การทางานของอวัยวะที่สาคัญจริง ๆ ของรา่ งกายน้ันเราไม่สามารถควบคุมและสั่งการได้ ซึ่งอาจนับว่าเป็นข้อดีเพราะหากเข้าไปควบคุมและสั่งการได้การทางานของอวัยวะต่าง ๆ อาจผิดปกติและไม่ สามารถทนอยไู่ ดน้ านเช่นเดียวกับสงิ่ แวดล้อมในธรรมชาติที่มที ้งั ในส่วนท่ีไมส่ ามารถเข้าไปบรหิ ารและจัดการได้ ซึ่งเป็นส่วนหรืออวัยวะทสี่ าคัญทส่ี ุดของธรรมชาติเชน่ ดวงอาทติ ย์ลมฝนหิมะเป็นต้น ดังน้ัน การกระทาท่ีกระทบต่อ“ ธาตุไฟ” และทาให้“ ธาตุไฟ” หรืออุณหภูมิในธรรมชาติเกิดการ เปลี่ยนแปลงดังการปรากฏของ“ ภาวะโลกร้อน” ในปัจจุบันจึงเป็นเร่ืองใหญ่ที่ร้ายแรงและสามารถส่งผล กระทบต่อส่ิงแวดล้อมรวมถึงส่ิงมีชีวิตทั้งหลายเพราะไปกระทบส่วนท่ีเป็นรากฐานที่รองรับความสมดุลของ ธรรมชาติท้ังหมดซึ่งเป็นส่ิงที่ต้องตระหนักที่สุดและต้องช่วยกันแก้ไขอย่างรีบด่วนก่อนท่ีความหายนะอันใหญ่ หลวงจะตามมา

20 ปัจจุบันการเผาผลาญเช้ือเพลิงของมนุษย์เพื่อใช้เป็นพลังงานในด้านต่าง ๆ เพ่ิมขึ้นอย่างมหาศาล ประกอบกับคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาผลาญเช้ือเพลิงน้ันก่อให้เกิดปฏิกิริยาเรือนกระจกกักความ ร้อนเอาไว้ในโลกไม่ให้ระบายออกไปในชั้นของบรรยากาศได้ทาให้ความร้อนหรืออุณหภูมิเฉล่ียของโลกสูงขึ้น เกิดปญั หา“ ภาวะโลกร้อน” ทาให้ลมฟา้ อากาศฤดูกาลทศิ ทางการพดั ความแรงลมการไหลของน้าในมหาสมทุ ร เปลี่ยนแปลงท่ีเหน็ ชดั เจนคือการละลายอยา่ งรวดเร็วของธารนา้ แขง็ บนขวั้ โลกซง่ึ เป็นมหันตภยั ที่อันตรายดงั น้ัน เพือ่ แก้ปัญหาท่เี กิดข้ึนนีม้ นุษย์จึงควรจะตระหนกั และหนั มากาหนดมาตรการตา่ ง ๆ ท่ีจะชว่ ยลดการใช้พลังงาน ต่าง ๆ โดยรู้จกั ใชอ้ ยา่ งพอเพียงหวั ใจสาคัญในการลดการใช้พลงั งานคือ“ รจู้ ักกิน-อยู่ แต่พอดี” “ การรู้จักกิน-อยู่ แต่พอดี” นน้ั มีรากฐานมาจากความรู้ความเข้าใจถึงเร่ืองของชีวิตและคุณค่าของส่ิง ต่าง ๆ ท่ีมีต่อชีวิตอย่างถูกต้องรู้ว่าชีวิตคืออะไรต้องการอะไรเพ่ืออะไรจะทาให้รู้จักแสวงหารู้จักบริโภคและใช้ สิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติให้พอดีกับความจาเป็นท่ีแท้จริงปัญหาต่าง ๆ เกิดจากมนุษย์บริโภคใช้สอยส่ิงต่าง ๆ ตามที่ตนอยากและพอใจและเป็นความอยากทไี่ ม่รู้จักพอส่ิงเหล่าน้ีเป็นต้นเหตุสาคัญในการเผาผลาญเชื้อเพลิง ทีจ่ ะนาไปเป็นพลังงานในการสร้างสง่ิ ตอบสนองความอยากความต้องการอันไม่รู้จกั พอของมนุษย์นเ้ี องจนทาให้ เกิดปัญหา“ ภาวะโลกรอ้ น” ทีท่ กุ ชีวติ กาลังเผชิญชะตากรรมอยู่ รูปที่ 2.11 การใชพ้ ลังงานเชื้อเพลงิ เพ่ือการคมนาคม (ท่มี า: http://v-reform.org/v-report/congestioncharge/) “ การกินอยู่ตามความอยาก” ก่อปัญหานานัปการท้ังในด้านการผลาญทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่ให้ หมดสิ้นไปอย่างรวดเร็วก่อให้เกิดขยะหรือของเสียตกคา้ งที่เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมหาศาลและยังเป็น ปจั จัยกระตุ้นใหเ้ กดิ การแขง่ ขันแย่งชงิ กนั ในสังคมทาใหเ้ กดิ การทจุ รติ ในรูปแบบต่าง ๆ

21 จนเกิดความตกต่าและเส่ือมโทรมทางด้านจิตใจในมนุษยชาติมากขึ้นจะเห็นว่าความหลงใหลในเรื่อง“ การกิน อยตู่ ามความอยาก \"น้ีเองทเ่ี ปน็ ปัญหาพน้ื ฐานของมนษุ ยชาติในปจั จบุ ัน 2.6.2 การประยกุ ต์“ความพอเพียงและธรรมชาตขิ องมนุษย์” กับการดาเนินกจิ กรรมของ มนษุ ย์ ธรรมชาติมีระบบการจัดการส่ิงที่เป็น\" ของเสีย” และส่ิงท่ีตกค้างจะไม่ก่อให้เกิดมลพิษใน ธรรมชาติเลยเป็นระบบการจัดการท่ีพอเพียงของธรรมชาติส่วนมนุษย์นั้นมีศักยภาพสูงท่ีสามารถคิดค้นและ สร้างสรรค์ส่งิ ใหม่ ๆ ใหเ้ กิดขน้ึ นอกเหนือไปจากที่ธรรมชาติมีอยู่สิ่งใหม่ ๆ ทม่ี นุษยส์ ร้างขนึ้ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ที่ เป็นผลพวงจากการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์สามารถส่งผลกระทบต่อธรรมชาติในด้านต่าง ๆ ไมม่ ากกน็ ้อยซึง่ ใน ปัจจุบันพบว่าสิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นมานั้นได้กลายเป็นของเสียหรือมลพิษท่ีนั่นทอนและทาลายการดารง อยู่อย่างปกติสุขและย่ังยืนทงั้ ตอ่ ส่ิงมีชีวิตทั่วไปรวมถึงระบบความสมดุลของธรรมชาติโดยรวมเป็นอย่างมากจน กล่าวได้ว่าความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์อย่างท่ีกาลังเป็นอยู่ในปัจจุบันกาลังนามาซ่ึงความเจริญ -สร้างสรรค์ หรือความเสื่อมทาลายกันแนม่ ลพษิ น้าเสียทั้งในแม่น้าลาคลองและตามชายฝ่ังทะเลอากาศเสียดินเสียและขยะ ในรูปแบบต่าง ๆ หรือช้ันบรรยากาศเสียเช่นปรากฏการณ์เรือนกระจกหรือเร่ืองของโอโซนท่ีมีอยู่ในช้ัน บรรยากาศซ่ึงทาหน้าท่ีกั้นและกรองรังสีอัลตราไวโอเลตจากแสงของดวงอาทิตย์ก็ถูกทาลายจากสารคลอโร ฟลูออโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon: CFC) จนเป็นช่องโหว่ปัจจุบันมีขนาดประมาณทวีปอเมริกาเหนือ (NASA, 2014: Online) มลพษิ ทีเ่ กิดขน้ึ เหล่านีส้ ่วนใหญ่เกดิ ข้ึนจากการเผาผลาญเชือ้ เพลงิ เพื่อใชเ้ ปน็ พลงั งาน ในด้านต่าง ๆ จากโรงงานอุตสาหกรรมปัญหาทั้งหมดนี้สามารถช่วยกันได้ระดับหนึ่งด้วยวิธี“ การกิน-อยู่ แต่ พอดี” ท่ีสาคัญควรจัดให้มีระบบควบคุมในการคิดค้นและผลิตส่ิงต่าง ๆ ของมนุษย์ให้เข้มงวดมากขึ้นโดย จะต้องไม่ทาให้เกิด“ ของเสีย” หรือ“ มลพิษ” ตกค้างในธรรมชาติการอนุญาตให้ผลิตสิ่งต่าง ๆ หรือการตั้ง โรงงานอุตสาหกรรมจะต้องตั้งอยู่บนเง่ือนไขที่ว่าระบบการจัดการท้ังหมดนั้นสามารถพิสูจน์ได้ว่าไม่มีการทาให้ เกิด“ ของเสีย” หรือ“ มลพิษ” เกิดขึ้นเป็นส่ิงตกค้างในธรรมชาติที่จะมีผลทาลายการดารงชีวิตท่ีเป็นปกติสุข และยัง่ ยืนของส่งิ มชี ีวิตและธรรมชาติโดยรวม 2.6.3 วธิ กี ารประยกุ ต์“ความพอเพียงและธรรมชาตขิ องมนษุ ย์”“ความพอเพียง” กบั การ บริหารและพัฒนากาย การดูแลและบริหารร่างกายให้เป็นปกติและแข็งแรงต้องดาเนินไปตามหลัก “ความพอเพียง” เช่นกนั คอื ให้ดแู ลและปฏบิ ตั ติ นให้พอเพยี งใน 5 เร่ืองหรอื มีชอ่ื เรยี กวา่ หลัก 5 อ. ดงั นี้

22 1. อาหาร รบั ประทานอาหารให้พอเพียงทั้งในดา้ นปริมาณและคณุ ภาพควรระวังการรับประทาน อาหารท่ีมีรสเค็มหวานมันมากเกินไปรับประทานอาหารมื้อเช้าซึ่งเป็นมื้อสาคัญที่สุดให้พอเพียงทางการแพทย์ ได้แนะนาใหก้ นิ ผกั และผลไมว้ ันละประมาณ 5 ทัพพเี ปน็ ตน้ 2. อากาศ ควรอยู่ในท่ีมีอากาศดีเพราะมลพิษในอากาศเช่นฝุ่นละอองจากท่อไอเสียการก่อสร้าง ควันต่าง ๆ มีผลกระทบต่อสุขภาพทาให้เกิดโรคทางระบบหายใจและอาจเป็นสาเหตุท่ีทาให้ผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคเบาหวานและโรคปอดมีอาการปว่ ยเฉยี บพลนั (U.S.EPA, 2009: Online) รูปที่ 2.12 มลพิษในอากาศ (ทมี่ า https://storage.thaipost.net/main/uploads/photos/big/20200202/image_big_5e364e9e48b2f.jpg) 3. ออกกาลังกาย ต้องออกกาลังกายหรือบริหารร่างกายใหพ้ อเพียงร่างกายจงึ จะมีความแข็งแรง หลักทางการแพทย์ได้แนะนาให้ออกกาลังกายต่อเนื่องประมาณ 20-30 นาทีซึ่งจะมีผลทาให้มีการหลั่งของ ฮอร์โมนเอนดอร์ฟิน (Endorphins) ทาใหม้ กี ารต่ืนตวั กระฉับกระเฉงมีสมาธมิ ากขนึ้ ลดความเครียดนอกจากนั้น ยังชว่ ยกระตุ้นให้ไขกระดูกสรา้ งเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวได้มากขึน้ ทาให้มีภูมติ ้านทานโรคทดี่ ีข้นึ 4. อุจจาระ การขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายควรจะฝึกฝนให้เป็นปกติทุกวันและเป็นเวลา โดยเฉพาะชว่ งท่เี หมาะสมคอื หลงั อาหารเช้า 5. อารมณ์ การรักษาอารมณ์ให้เป็นปกติสงบหรือมีอารมณ์ดีไม่แปรปรวนมากเกินไปเพราะ อารมณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนสามารถส่งผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกายท้ังสิ้นเช่นอารมณ์โกรธทาให้หัว ใจเต้นเรว็ และแรงขึน้ ความดนั ของเลือดสูงขึ้นกลา้ มเน้ือตา่ ง ๆ ของร่างกายหดตวั และเกรง็ มากข้ึน

23 ความเครียดเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดโรคต่าง ๆ มากมายเช่นโรคจิตโรคประสาทโรคความดันโลหิตโรค กระเพาะรวมถึงโรคมะเร็งด้วย 2.6.4 วิธีการประยุกต์“ ความพอเพียงและธรรมชาติของมนุษย์” กับการบริหาและ พัฒนาจติ \"จิต\" ต้องมพี ื้นฐานหรือมีความตอ้ งการในเรือ่ ง“ ความพอเพียง” เชน่ กนั เช่นจิตจะต้องมีสติ สมาธิและปญั ญาพอเพยี งในระดบั หนง่ึ จึงทาใหจ้ ติ อยู่ในภาวะปกตแิ ละพร้อมทาหน้าทีต่ ่อไปได้ ผทู้ ่ีไม่ม“ี สติ” ย่อมทาอะไรขาด ๆ เกิน ๆ ตก ๆ หลน่ ๆ ผทู้ ี่“ เสยี สติ” คือผ้ทู ่ขี าดความยงั้ คิดควบคุมตนเองไม่ได้ ผทู้ ี่“ ส้ินสตคิ ือผู้ท่ีอยู่ในภาวะไมร่ ู้สึกตัว ผทู้ ี่ไมม่ “ี สมาธิ” ยอ่ มขาดความต้งั ใจและทาอะไรไม่จริงจัง ผู้ท่ีไม่ม“ี ปัญญา” ย่อมทาอะไรผดิ พลาดและทาใหเ้ กิดปญั หา ดังน้ันโดยทั่วไป“ จิต \"จะต้องมีสติสมาธิและปัญญาเป็นพ้ืนฐานและพอเพียงในระดับหนึ่งซึ่ง โดยทัว่ ไปสามารถฝกึ ฝนไดด้ ้วยการฝกึ หัดให้ร้สู กึ ตัวอยู่เสมอว่า ขณะน้ีกาลังทาอะไร (สติ) ต้องทาอยา่ งไรและเพอื่ อะไร (ปญั ญา) มีใจจดจอ่ และตงั้ ใจทาในสงิ่ นนั้ ๆ (สมาธิ) หรือหากประสงค์จะฝึกฝนให้เป็นเลิศและพิเศษก็สามารถศึกษาและปฏิบัติได้ตามคาสอนใน พระพุทธศาสนาในระดบั ต่าง ๆ เป็นตน้ แม้แต่ในการฝึกฝนจิตในระดับของพระอริยบุคคลยังต้องมี“ ความพอเพียง” ที่สอดคล้องใน แตล่ ะระดับจงึ จะสามารถบรรลคุ วามเปน็ พระอรยิ บคุ คลได้อย่างท่กี ลา่ วไว้ในพระไตรปฎิ กว่า พระโสดาบนั เป็นผทู้ ี่มศี ีลสมบูรณส์ มาธิพอประมาณปัญญาพอประมาณ พระสกิทาคามีเป็นผู้ที่มีศีลสมบูรณ์สมาธิพอประมาณปัญญาพอประมาณ แต่ราคะโทสะ โมหะเบาบางลงกวา่ พระอนาคามีเป็นผู้ท่มี ีศลี สมบูรณส์ มาธสิ มบูรณป์ ัญญาพอประมาณ พระอรหนั ต์เป็นผู้ทม่ี ศี ีลสมบรู ณ์สมาธิสมบูรณ์ปัญญาสมบรู ณ์

24 ความพอประมาณและความสมบูรณ์ในแต่ละระดบั ของพระอริยบุคคลนค้ี อื ความพอเพียงของ ธรรมะท่ีจาเป็นต้องมีนั่นเอง“ ความพอเพียง” ในจิตใจของมนุษย์เป็นสิ่งท่ีสาคัญท่ีสุดและเป็น“ ความ พอเพียง” ในระดับฐานรากท่ีสามารถส่งผลกระทบอย่างมหาศาลต่อ“ ความพอเพียง” ในด้านอื่น ๆ ทั้งหมด หลกั ธรรมในพระพุทธศาสนาไดช้ ้ชี ัดถึงตัวการสาคัญที่เปน็ สาเหตขุ องการทาลาย“ ความพอเพยี ง” ในจติ ใจของ มนษุ ยส์ ่งนั้นคอื “ ตณั หา” หรือ“ ความโลภ” นน่ั เอง “ตัณหา” หรือ“ความโลภ” หมายถึง“ความต้องการ” หรือภาษาธรรมะให้ความหมายว่า “ความทะยานอยาก” เพื่อให้เข้าใจอย่างถอ่ งแท้ต้องเข้าใจความจริงของธรรมชาติชีวิตให้ถูกตอ้ งก่อนวา่ ชีวิตคือ อะไรต้องการอะไรเพื่ออะไรเพราะธรรมชาติของชีวติ เองมคี วามต้องการตามธรรมชาตเิ หมือนกนั ความตอ้ งการของชวี ิตตามธรรมชาติเป็นสิง่ บงั คับชีวิตให้ต้องทาหน้าท่ีแสวงหาสิ่งท่ีเป็นความต้องการซึง่ ไม่ ทาไม่ได้เพราะจะทาให้ธรรมชาติของชีวิตไม่สามารถดาเนินและดารงอยู่ต่อไปได้อย่างปกติสุขและยั่งยืนความ ตอ้ งการของธรรมชาตนิ ้ไี มใ่ ช่“ ตัณหา” หรอื “ ความโลภ” เม่ือเข้าใจความตอ้ งการของชวี ิตตามธรรมชาติที่เป็น จริงแล้วจึงจะรู้จักหรือมองออกว่า“ ตัณหา” หรือ“ ความโลภ” คืออะไรกล่าวโดยสรุป“ ตัณหา” หรือ“ ความ โลภ” คือความต้องการที่เกินเลยไปจากความตอ้ งการของชวี ติ ตามที่เปน็ จริงหรือทีแ่ ทจ้ รงิ ของชีวิต “ ตัณหา” หรือ“ ความโลภ \"ของมนุษย์ทาให้มนุษย์กินและอยู่อย่างไม่ จากัด และไม่รู้จัก พอทาให้มนุษยเ์ ร่งการผลิตส่งิ ต่าง ๆ (ที่ไม่จาเป็นและไมใ่ ช่ความต้องการที่แท้จริงของชวี ิต) อย่างมากมายซึ่งทา ให้มีการเผาผลาญและใช้พลังงานอย่างมหาศาลจนเกิดปัญหา“ ภาวะโลกร้อน” จากการเร่งการผลิตเพ่ือ ตอบสนอง“ ตณั หา” หรือ“ ความโลภ” ทาใหม้ นุษยไ์ ปทาลายสงิ่ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาตอิ ย่างมโหฬารเพอื่ นามาใช้ เป็นวัตถุดบิ และยังไปทาลายป่าต้นน้าป่าบนภูเขาตลอดจนแมน่ ้าลาคลองซง่ึ เปน็ เสมือนหัวใจและเส้นเลือดของ ธรรมชาติจนทาให้เกิดการขาดความสมดุลของธรรมชาติอย่างรุนแรงนอกจากน้ันในกระบวนการผลิตของ มนุษย์หรือแม้แต่สิ่งท่ีมนุษย์ผลิตข้ึนมาส่วนใหญ่ทาให้เกิดสิ่งท่ีเป็น“ ของเสีย” และกลายเป็นมลพิษตกค้างใน ธรรมชาติทาให้เกิดมลพิษท้ังบนผืนดินในแม่น้าลาคลองทะเลมหาสมุทรในอากาศที่หายใจแม้กระทั่งในช้ันของ บรรยากาศที่สูงข้ึนไปซ่ึงส่งผลเสียต่อการดารงอยู่ของมนุษย์และส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ อย่างมากมายและ“ ตัณหา” หรือ“ ความโลภ” ของมนุษย์นี้เองท่ีทาลายระบบการอยู่ร่วมกันและความสัมพันธ์ท่ีดีในสังคมทาให้เกิดการ แข่งขันแย่งชิงกันในทุกกระดับสังคมเต็มไปด้วยความเครียดและความขัดแย้งเกิดความเสื่อมโทรมในด้าน คณุ ธรรมจริยธรรมอยา่ งน่าเปน็ ห่วง

25 การปฏบิ ัตหิ รอื ประยุกตค์ วามพอเพียงในด้านจติ ใจน้ีสาระสาคัญอยูท่ ่ีการอบรมใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจท่ถี ูกตอ้ งอย่างทเ่ี รียกวา่ “ สมั มาทิฏฐิ” ในเร่ืองธรรมชาตขิ องชีวิตให้รูว้ า่ ชีวติ คืออะไรต้องการอะไร เพื่ออะไรธรรมชาติของชีวติ กับธรรมชาติทีเ่ ป็นส่ิงแวดลอ้ มมีความสมั พนั ธต์ อ่ กนั อย่างไรตลอดจนเห็นคุณค่า ความต้องการที่แท้จรงิ ของธรรมชาติซงึ่ ในทน่ี ี้คือ“ ระบบการดาเนนิ ชวี ิตทพ่ี อเพยี งของธรรมชาตนิ ั่นเองซง่ึ เป็น ระบบทจ่ี ะนามนษุ ยชาติใหร้ อดพน้ จากหายนะทั้งปวงอนั เกิดจากการกระทาที่มาจากมนุษยเ์ องและนาไปสูท่ าง รอดคือความปกติสขุ ทีย่ ั่งยืนและแทจ้ รงิ ต่อไป ดังนน้ั ความอยรู่ อดและความเปน็ ปกติสุขของมนุษยแ์ ละสงั คมรวมถงึ ระบบของธรรมชาติจึง ขึ้นอยู่กับสง่ิ เดยี วคอื “ มนุษย”์ วา่ จะสายเกนิ ไปหรอื ไมท่ ่ีจะสามารถเรยี นร้แู ละดารงชีพตามหลักแห่ง“ ความ พอเพียง” ได้

26 บรรณานุกรม หนงั สอื มนุษยสมั พันธใ์ นการทางาน(Human Relations at work)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook