7/2/2562 大乘威儀摘要 จริยาวตั รคณะสงฆจ์ ีนนิกาย โดยยอ่ เรียบเรียงทําเลม่ ใหม่ โดย หลวงจีนใบฎีกา สมชยั แซล่ วิ ้ (เสย่ี เทีย้ ว) 徐國隆老師 วดั โพธ์ิแมนคณุ าราม 323 สาธปุ ระดิษฐ์ 19 ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120
大乘僧伽威儀摘要 1 จริยาวตั รคณะสงฆ์จีนนิกาย โดยย่อ 是日已過,命亦隨減, 如少水魚,斯有何樂? 大眾! 當勤精進,如救頭然, 但念無常,慎勿放逸! 是日已過,命亦隨減,如少水魚,斯有何樂? 當勤精進,如救頭燃,但念無常,慎勿放逸。 1 พระอาจารยเ์ ยน็ บุญ หลวงจีนธรรมนนั ทจ์ ีนประพทั ธ์ (เยน็ เช้ียว) พ.ศ.2520
บทท่ี 1 เคารพครูบาอาจารย์ 第一 禮敬師長 1.ครูบาอาจารยอ์ บรมสงั่ สอนเรา จึงตอ้ งมีความกตญั �ูกตเวทีต่อครูบาอาจารย์ 一、師長慈悲管教,應該知恩報恩。 2.ตอ้ งทาํ ตนเป็นผรู้ ับใชค้ รูบาอาจารย์ ขอใหอ้ าจารยช์ ่วยสงั่ สอนตกั เตือน เพ่อื จะไดท้ ราบวา่ ตนทาํ ผดิ อะไรไป บา้ ง เมื่อรู้วา่ ผดิ อะไร ตอ้ งแกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ ง 二、應該奉事師長,請求教誡,令知自已過失,有則改之。 3.ถา้ ไดท้ าํ ผดิ ไป และเม่ือถูกวา่ กล่าวตกั เตือนอยา่ บ่นวา่ อาจารย์ และคิดโกรธแคน้ 三、若有過失,受責嫌時,不可口出怨言,心中憎恨。 4.ตอ้ งนึกขอบคุณอาจารยท์ ี่ไดด้ ูแลปกครอง ชมช่ืนในระเบียบการปกครองของวดั ซ่ึงเขม้ งวดในทางท่ีชอบ 四、應該多謝師長,管教之恩,讚美寺規,嚴格有方之惠。 5.ทุกเชา้ เยน็ จะตอ้ งทาํ ความเคารพครูบาอาจารยร์ วมท้งั เคารพผมู้ ีอาวโุ สกวา่ 五、朝暮宜向師長恭敬作禮,對諸長輩,亦應如是恭敬。 6.เมื่อถึงวนั 1ค่าํ ข้ึน15ค่าํ ตอ้ งไปกราบเจา้ อาวาส รวมท้งั พระอาวโุ ส ท้งั น้ีเป็นการแสดงความเคารพต่อครูบา อาจารยแ์ ละพระธรรม 六、凡逢初一及十五日,當往頂禮上座,及諸長輩,是為尊師重道。 7.ภิกษุและสามเณรบวชใหม่ ตอ้ งเคารพสมณท่ีบวชอยกู่ ่อน 七、新學比丘沙彌,必須敬敬重先學沙門。 8.หา้ มวิจารณ์ครูบาอาจารย์ รวมท้งั พระในวดั หรือบรรดาคฤหสั ถ์ เพราะเป็นกรรมบาป 八、不可批評師長,及諸同住或居士,應知此惡業。
บทที่ 2 คณะสงฆ์ 第二 和合僧眾 1.เม่ือต้งั ใจออกบวช ร่วมอยใู่ นคณะสงฆ์ ยอ่ มตอ้ งปฎิบตั ิตามระเบียบสงฆแ์ ละพระวนิ ยั โดยดี 一、既有心出家,常住寺院,應該遵守寺規,嚴持律儀。 2.การร่วมอยขู่ องคณะสงฆ์ จะตอ้ งมีความสามคั คีกนั มีความเคารพนบั ถือซ่ึงกนั 二、僧伽共住,應該上和下睦,互相敬重。 3.คาํ วา่ สงฆแ์ ปลวา่ สามคั คีกนั จึงตอ้ งมีความเขา้ ใจดีต่อกนั อภยั แก่กนั ตกั เตือนเรื่องการปฎิบตั ิธรรมซ่ึงกนั และ กนั 三、僧伽意義是和合,故宜互相了解寬恕,共同勉勵修持。 4.ถา้ มีการโตเ้ ถียงกนั ใหป้ รองดองกนั โดยดี อยา่ ยดึ ความเห็นของตน ทาํ ใหส้ งฆแ์ ตกกนั 四、若有意見爭執,須互相調解,勿執個人意見,破和合僧。 5.การร่วมอยขู่ องสงฆ์ อยา่ มีการใส่ร้ายกนั ตาํ หนิลบั หลงั กนั 五、僧伽共住,不可互相誹謗。 6.งานธุระส่วนรวม ตอ้ งร่วมกนั หารือ อยา่ ทาํ ลายส่วนรวมเพอื่ ส่วนตวั 六、常住公事,應該合作。共謀弘揚佛法,不可毀公為私。 7.อยา่ เกียจคร้านงาน อยา่ เอาแต่ความสบาย อยา่ ละทิ้งงานสงฆ์ เพ่ือความสุขส่วนตวั 七、不可偷惰好閒,放棄公職,只求己樂。 8.อยา่ เอาของสงฆส์ ่วนรวมไปใช้ ถา้ ตอ้ งการใชเ้ พราะความจาํ เป็น ตอ้ งขออนุญาตกบั พระผคู้ วบคุมดูแลส่ิงของ น้นั ก่อน 八、不得濫用常住公物,若有必要,應先報告管理人。
บทท่ี 3 จริยาวตั ร 第三 威儀 1.เวลาเดินตอ้ งตวั ตรงเรียบร้อย อยา่ สนั่ กายแกวง่ แขน วงิ่ หรือกระโดด 一、行路須要端嚴,不搖身掉臂,奔馳跑跳。 2.เมื่อประทกั ษิณพระพทุ ธรูปหรือจงกรม อยา่ เหลียวซา้ ยแลขวา หยอกลอ้ หรือคุยกนั 二、繞佛或經行,不得左右顧視,嬉弄談笑。 3.เมื่อร่วมกบั สงฆอ์ อกไปนอกวดั ไม่วา่ จะเดินจะนงั่ ตอ้ งเรียงตามลาํ ดบั พรรษามากนอ้ ย 三、合眾出外,或行若坐,應照尊卑次序,整齊排列。 4.เม่ือเดินสวนทางกบั อาจารย์ ตอ้ งหลีกยนื ตรงขา้ งทางดว้ ยความเคารพ ใหอ้ าจารยเ์ ดินผา่ นไปก่อน 四、在路上逢師長,須恭敬避立一傍,讓師長先過。 5.นงั่ หรือยนื อยา่ ใชม้ ือเทา้ เอวหรือกอดที่หนา้ อกขมวดคิ้วหลิ่วตา อนั เป็นกิริยาไม่งาม 五、坐立時,手不得叉腰攬胸,眉眼皺動。 6.เม่ือคุยกบั ใคร อยา่ ยกมือยกเทา้ ขาํ เรืองดูไปทางอื่น 六、與人相談,不得亂舉手足,眼角斜視。 7.นงั่ หรือยนื ตอ้ งตวั ตรง อยา่ เอียงศีรษะหรือทาํ หลงั โกง อนั เป็นกิริยาไม่เหมาะสม 七、應該端身正立,不得頭斜腰彎,喪失僧伽威儀。 8.เมื่อไปประกอบพิธีนอกวดั ตอ้ งมีความสง่างามไม่วา่ จะนง่ั ยนื หรือเดิน 八、應邀出外禮誦,行立住坐之時,必須具足莊嚴威儀。
บทท่ี 4 การน่ังและนอน 第四 坐臥威儀 1.ขณะนง่ั ตอ้ งมีความสงบเรียบร้อย ควิ้ ตาไม่หลุกหลิกลุกลน ตอ้ งใหจ้ ิตใจสบาย 一、坐時應當嚴肅,眉眼端正,心氣和平,勿失僧儀。 2.ถา้ นงั่ บนเกา้ อ้ี เทา้ ท้งั สองจะตอ้ งปล่อยหอ้ ยลงมา มือท้งั สองวางบนเข่า อยา่ ใหม้ ืองอมาก 二、若坐椅上,兩足垂下,兩手放置膝上,不得彎曲。 3.ถา้ นง่ั ที่พ้นื ไหล่ท้งั สองจะตอ้ งมีระดบั เดียวกนั ตวั ตรง 三、坐於地上,兩肩須要平齊,身體應正直端坐。 4.เม่ือไปบา้ นคฤหสั ถ์ อยา่ นง่ั ยองๆ อยา่ นง่ั ในท่ีที่ต่าํ กวา่ คฤหสั ถ์ 四、入俗人家內,不得蹲坐,不可在比俗人低處坐。 5.เวลานอน ตอ้ งนอนในแบบ \"มงคลไสยาสน์\"คือสีขา้ งดา้ นขวาลงนอน จะนอนหงายนอนคว่าํ หรือนอนดว้ ย สีขา้ งซา้ ยไม่ได้ 五、臥須右脅,名吉祥臥,不得仰臥,覆臥,及左脅臥。 6.ถอดจีวรช้นั ในนอนตวั เปล่าไม่ได้ คุยเสียงดงั หวั เราะเอะอะไม่ได้ 六、不得脫內衣臥,亦不得笑語高聲。 7.เม่ือลุกจากท่ีนอน จะตอ้ งเกบ็ ผา้ ห่มและสิ่งอ่ืนๆใหเ้ รียบร้อย จดั วางใหเ้ ป็นระเบียบ จะเท่ียวทิ้งขวา้ งไม่ได้ 七、起身之時,被單臥具,必須收拾安妥,不得亂抛亂棄。 8.ก่อนนอน ตอ้ งนง่ั สงบแลว้ ต้งั จิตขอใหส้ ตั วโ์ ลกต่างไดน้ อนโดยสงบ ไม่กระวนกระวาย 八、臨睡,當靜坐後。念念當願眾生,身得安隱,心無動亂。
บทท่ี 5 นมสั การพธิ ี 第五 禮拜威儀 1.เมื่อเขา้ โบสถป์ ระกอบนมสั การพิธี อยา่ ยนื กลางโบสถ์ เพราะตรงกลางน้นั เป็นที่ของเจา้ อาวาส 一、禮拜不得站立殿中央,中央是主持位。 2.ถา้ มีผอู้ ่ืนนมสั การอยู่ หรือนง่ั สมาธิหรือสวดมนต์ อยา่ เดินผา่ นหนา้ ของผนู้ ้นั 二、有人禮佛,或靜坐,或誦經,不得在彼人面前越過。 3.การนมสั การพระพทุ ธรูป เป็นการสร้างสมบุญบารมี ตอ้ งต้งั จิตนอบนอ้ ม นมสั การดว้ ยความเรียบร้อยสงบ 三、禮拜是求福法門,須專心誠懇,頂禮須安詳。 4.เม่ือร่วมนมสั การกบั สงฆ์ ตอ้ งเรียงลาํ ดบั เป็นแถว มีความเรียบร้อยไม่สบั สน 四、合眾禮誦,應當排成隊列,整齊不亂。 บทท่ี 6 ทาํ วตั รในโบสถ์ 第六 上殿課誦 1.การทาํ วตั ร เป็นคุณธรรมของภิกษแุ ละเป็นระเบียบของวดั จะตอ้ งปฎิบตั ิตามโดยเคร่งครัด 一、上殿課誦,乃是僧伽之美德,亦是叢林清規,須當遵守。 2.มีเหตุขดั ขอ้ งไม่สามารถทาํ วตั รได้ ตอ้ งขอลาต่อเจา้ อาวาส ไม่ทาํ วตั รโดยไม่มีเหตจุ าํ เป็นจะตอ้ งถูกลงโทษ 二、有緣不能上殿,必須告假上座,無故不上殿者,當受懲罰。 3.เม่ือทาํ วตั ร จะตอ้ งครองจีวรใหเ้ รียบร้อย อยา่ เดินไปครองไป หรือครองในโบสถห์ รือหนา้ โบสถ์ 三、袍衣應當被著莊嚴,不得在路中、或殿內,或殿前被著。
4.เม่ือทาํ วตั รสวดมนต์ ตอ้ งทาํ ใจใหส้ งบ อยา่ เหลียวหนา้ เหลียวหลงั อยา่ แอบคุยกนั ยมิ้ กนั 四、禮誦須攝念澄心,不得東西顧視,交頭接耳戲笑。 5.การพนมมือ นิ้วท้งั สิบจะตอ้ งชิดกนั เรียบร้อยต้งั อยทู่ ี่หนา้ อก สูงต่าํ พอเหมาะ ตาเพง่ ที่จมูก จมูกเพง่ ท่ีจิต 五、不得十指參差,須平胸高低得體,眼視鼻,鼻觀心。 6.ตอ้ งเรียงลาํ ดบั อาวโุ ส นมสั การตามเสียงระฆงั นาํ ลงกราบหรือลุกข้ึนพร้อมเพรียงกนั 六、應照尊卑次序而立,禮拜宜聽引磬領眾,起落齊整。 7.เวลาสวดมนต์ อยา่ เร็วนกั อยา่ ชา้ นกั ตอ้ งใหช้ ดั ทุกคาํ และอุทิศส่วนกศุ ลดว้ ยศรัทธาจิต 七、念誦不得太快,一字一字分明,至心迴向功德。 8.เวลาทาํ ประทกั ษิณ ตอ้ งเดินโดยสงบเรียบร้อย อยา่ ใหแ้ ถวเสียแนวตรง 八、繞佛要莊嚴,不得左右偏曲。 บทที่ 7 ร่วมฉันในหมู่สงฆ์ 第七 隨眾應齋 1.ฉนั ในหมู่สงฆ์ จะตอ้ งมีความสงบเรียบร้อยอยา่ หวั เราะคุยกนั อยา่ มีเสียงเค้ียวด่ืม 一、在齋當應靜肅,不得笑談雜語,及嚼食有聲。 2.อยา่ ฉนั เร็วหรือชา้ ไป ขณะเค้ยี ว อยา่ พดู 二、食不得太速太慢,含飯談話。 3.ในขณะฉนั ใหต้ ้งั จิตนึกวา่ ขอใหส้ ตั วโ์ ลกละบาปท้งั หลาย บาํ เพญ็ กศุ ลทุกสิ่ง 三、臨食當念,願斷一切惡,願修一切善。
4.อยา่ วางมือลงบนโตะ๊ อยา่ สบดั มือ อยา่ ใชล้ ิ้นเลียอาหารหรือภาชนะ อยา่ สูดเขา้ ปาก อยา่ อมไวท้ ี่แกม้ อยา่ ทาํ ขา้ วสุกหลดุ หล่นจากปาก 四、不得置手於棹上,不得振手,舌舐,大吸食,頰食,遺落飯食。 5.เม่ือนงั่ ฉนั ที่ใด อยา่ ลุกข้นึ ไปฉนั ที่อ่ืนต่อ ในขณะฉนั อยา่ ลุกไปจากโตะ๊ แลว้ กลบั มาฉนั อีก 五、當一坐食,應食訖,不得離座後更坐食。食時亦不得起座。 6.ชอ้ น ชาม ตะเกียบ ตอ้ งหยบิ ถือตามระเบียบ เมื่อฉนั เสร็จอยา่ เที่ยววางทิ้ง 六、湯匙碗筷,宜如法執拿,不得亂放。 7.เมื่อมีคฤหสั ถม์ าถวายภตั ตาหาร อยา่ ไปแตะตอ้ งจนกวา่ จะไดร้ ับประเคน เมื่อรับประเคนแลว้ กอ็ ยา่ ใหค้ นอื่น (คฤหสั ถ)์ มาแตะตอ้ งอีก 七、施主未手供養羮飯,不得先觸,供養後,施主亦不得觸。 8.อยา่ เห็นแก่ความอร่อยแลว้ เกิดความโลภ ตอ้ งนึกอยวู่ า่ เรามีคุณธรรมนอ้ ย ตอ้ งฉนั ดว้ ยความมีสติถ่อมตน 八、不可見美味而生貪心,應該思己德行,謙恭應供。 บทท่ี 8 เข้าออกวดั 第八 出入寺院 1.การเขา้ ออก ตอ้ งไปนมสั การเจา้ อาวาสหรือรองเจา้ อาวาสก่อน จะเขา้ ออกตามชอบใจไม่ได้ 一、出入寺院,應先頂禮上座及副寺,不得自出自入。 2.ถา้ คณะสงฆม์ ีกิจสาํ คญั ท่ีจะตอ้ งทาํ หากไม่มีความจาํ เป็นจริงๆ อยา่ ออกจากวดั เป็นอนั ขาด 二、當住若有佛事,無重要事情,不得外出。
3.ก่อนจะออกจากวดั หรือกลบั เขา้ ถึงวดั ตอ้ งไปนมสั การพระพทุ ธรูปที่โบสถ์ ถา้ ระหวา่ งทางพบครูบาอาจารย์ และพระผมู้ ีอาวโุ สกวา่ ตอ้ งพนมมือนมสั การท่าน 三、凡出入寺,須至大殿禮佛,若逢師長及長輩,須合掌敬禮。 4.ไปคา้ งแรมวดั อ่ืน เม่ือกลบั ถึงวดั ตอ้ งไปกราบเจา้ อาวาสและพระอาวโุ ส 四、有事在外止宿,返寺時,必須頂禮上座及長輩。 บทที่ 9 ไปในเมืองหรือชนบท 第九 進入鄉市 1.เม่ือสนทนากบั คฤหสั ถอ์ ่ืนใด ตอ้ งชมเชยระเบียบของวดั วา่ เรียบร้อยงดงาม รวมท้งั สรรเสริญการอบรมของครู บาอาจารย์ 一、遇人談話,須稱讚寺規之美,儀範莊嚴,以及師長管教之恩。 2.เมื่อเดินไปหลายรูปดว้ ยกนั อยา่ เดินคุยสนุกเฮฮาหรือเดินจูงมือกนั 二、在路行時,不得雜話戲笑,攜手同行。 3.ไม่มีธุระจาํ เป็น อยา่ ออกไปเดินเล่น และอยา่ เดินเป็นหมู่เป็นพวกทาํ นองเดินเล่น 三、若無要緣,不得外出馳行,亦不得結群成黨,閒遊街道。 4.อยา่ คบหาคฤหสั ถโ์ ดยไม่มีขอบเขต อยา่ ไปมาหาสู่สตรีที่ไม่ใช่ญาติ 四、不得濫交俗人,更不得與非親屬女人,私相探問,喪失寺譽。 บทท่ี 10 ศึกษาพระธรรม 第十 上堂學法 1.ตอ้ งเขา้ เรียนตามกาํ หนดเวลา ฝึกเรียนการสวดมนต์ จริยาวตั ร เรียนรู้ระเบียบวดั และพระธรรมวนิ ยั 一、依時上堂,學習禮誦威儀、清規、佛法。廣植道心。
2.เมื่อเขา้ หอ้ งศึกษาธรรม ตอ้ งนงั่ ตวั ตรง จีวรเรียบร้อย อยา่ พดู เร่ืองอ่ืน 二、聽講學誦,坐必端嚴,衣服整齊,不得閒談。擾亂秩序。 3.ตอ้ งวริ ิยะพยายามศึกษา อยา่ เกียจคร้าน 三、學習須慇懃精進,斷除懈怠,決心勤讀。 4.การฝึกสวดมนต์ เป็นธรรมของสงฆ์ เพ่มิ พนู บุญกศุ ลและสติปัญญา จึงตอ้ งฝึกเรียนดว้ ยความต้งั ใจ 四、當思禮誦乃是僧伽道業,資助福慧,須至誠習誦。 บทที่ 11 การสนทนา 第十一 交談禮儀 1.อยา่ พดู เสียงดงั อยา่ ใชค้ าํ หยาบ และคาํ ที่เป็นบาป อยา่ พดู เป็นการยแุ หย่ 一、不得高聲及口出粗語惡語,妄說是非。 2.อยา่ เรียกช่ือพระรูปอ่ืนหว้ นๆ ตอ้ งเรียกตามอาวโุ สพรรษา โดยการเคารพยกยอ่ งต่อกนั 二、不得呼叫名號,宜分尊卑稱呼,互相敬重讚美。 3.การพดู จะตอ้ งสุภาพอ่อนโยน อยา่ ตาํ หนิคณะสงฆ์ ตอ้ งใชค้ าํ ที่ดีงาม พดู เอาใจต่อกนั 三、語言必須文雅,不可誹謗清眾,應以良言互相勉慰。 4.ตอ้ งไม่พดู เทจ็ ไม่พดู หยาบ ไม่พดู ส่อเสียด ไม่พดู เหลวไหล 四、當修口四善業,不妄語、不惡口、不兩舌、不綺語。
บทที่ 12 จริยาในวดั 第十二 在寺威儀 1.หา้ มเขา้ ไปในกฏุ ิพระรูปอ่ืนเพอื่ พดู นินทาหรือเร่ืองไร้สาระ อนั เป็นการลบกวนพระรูปน้นั 一、不得隨便闖進各僧房,廣談是非,惱亂他人。 2.หา้ มร่วมกนั คุยเรื่องทางโลก และวจิ ารณ์คนอื่น 二、不得成群結黨,談論世事,批評他人。 3.ตอ้ งมีจริยาสุภาพสงบ อยา่ ทาํ ตนเป็นผหู้ ยาบคาย ทาํ ใหเ้ สียความเป็นสมณะ 三、行動宜斯文雅觀,切勿粗蠻魯莾,令失僧格。 4.ถา้ ไปเรียนถามท่านเจา้ อาวาส ตอ้ งคุกเขา่ พนมมือ ฟังดว้ ยความเคารพ 四、若向上座請益,應合掌恭敬,澄心諦聽。 5.หา้ มนง่ั หรือยนื ในโบสถ์ ประตูวดั ประตูโบสถ์ และทางเดินโดยไม่มีกิจจาํ เป็น อนั จะทาํ ใหเ้ ส่ือมเสียความสง่า งามของวดั 五、佛殿、寺門、殿門、階道,不得亂坐亂站,致失莊嚴。 บทที่ 13 จริยาในการเข้าวดั อ่ืน 第十三 入寺禮節 1.เมื่อเขา้ ถึงวดั ตอ้ งไปนมสั การพระพทุ ธรูปที่โบสถก์ ่อน แลว้ ไปนมสั การเจา้ อาวาส 一、凡入寺院,須先禮佛,後即往頂禮住持。 2.เวลาเดินเขา้ ประตู หา้ มเดินผา่ นกลางประตู ตอ้ งเดินชิดซา้ ยหรือขวา 二、入門不得行中央,須緣左右邊行。
3.เม่ือเขา้ โบสถห์ รือบริเวณเจดีย์ หา้ มสวมรองเทา้ หา้ มบว้ นน้าํ ลายในบริเวณใกลเ้ คียงกบั โบสถห์ รือเจดีย์ 三、凡登大殿、佛塔、不得穿鞋,亦不得在殿塔鄰近涕唾。 บทท่ี 14 การเข้าห้องนํา้ หรือสรงนํา้ 第十四 入浴禮儀 1.สรงและชาํ ระร่างกายใหส้ ะอาด ไม่ตอ้ งรีบร้อน หา้ มสาดน้าํ เล่น ทาํ เสียงเอะอะ คุยกนั 一、沐浴時應當徐徐洗浴,不得粗躁濺水,共人語笑。 2.จะปัสสาวะหรืออุจจาระ อยา่ ยนื ถ่าย ในท่ีท่ีมีหญา้ หรือผกั พชื หา้ มปัสสาวะหรืออุจจาระและบว้ นน้าํ ลายเสมหะ ลงบนพชื 二、大小便時,不宜立住,生草菜上亦不可大小便或涕唾。 3.ก่อนเขา้ หอ้ งน้าํ ผา้ เชด็ ตวั ตอ้ งพบั เรียบร้อยพาดไวท้ ่ีแขน หา้ มพนั ไวท้ ี่คอ คลุมศรีษะหรือวางบนไหล่ 三、臨入浴時,浴巾宜放於手腕上,不得纏頸覆頭,或放肩上。 4.ตอ้ งช่วยกนั รักษาความสะอาดของหอ้ งน้าํ ตอ้ งใชน้ ้าํ ลา้ งโถสว้ มและบริเวณน้นั ใหส้ ะอาด 四、應保持廁所及浴室之清潔,大小便後,用水沖洗潔淨。 บทที่ 15 จริยาวตั รทวั่ ไป 第十五 應行規範 1.ตอ้ งระลึกอยเู่ สมอวา่ เราตอ้ งมีความเพยี รพยายาม ตอ้ งทาํ ลายกองกิเลส ตอ้ งตดั ความเกียจคร้าน 一、應當覺知,常行精進,破煩惱惡,斷除懈怠。 2.สละส่วนตวั เพอื่ คนอื่น ต้งั ตนอยใู่ นศีลธรรม และชกั ชวนใหผ้ อู้ ่ืนต้งั อยใู่ นศีลธรรม 二、捨己利他,己立立人,乃是佛弟子美德。
3.เมื่อมีโอกาส ตอ้ งแนะนาํ ญาติโยมใหเ้ กิดความเลื่อมใสในพระพทุ ธศาสนา ต้งั ใจประกอบกศุ ลกรรม สะสมบุญ วาสนา 三、若有因緣,應勸父母六親眷屬,皈依佛法,至心修善,廣植福緣。 4.มีโอกาสอุปสมบท นบั วา่ มีบุญบารมีมากซ่ึงไดส้ ร้างไวใ้ นหลายๆปางก่อน ตอ้ งทาํ จิตใจร่างกายใหบ้ ริสุทธ์ิ สะอาด ปฏิบตั ิตามอริยมรรค 四、有緣出家,乃是多生難得福德,須淨潔身心,趨向聖道。 5.เมื่อมีญาติมิตรมาเยยี่ มที่วดั ตอ้ งพาไปนมสั การพระพทุ ธรูปท่ีโบสถก์ ่อน แลว้ นาํ ไปกราบท่านเจา้ อาวาส 五、若有親朋戚友來寺拜訪,先領往各殿禮佛,及頂禮住持。 6.ถา้ พบกบั พระเถระ กต็ อ้ งบอกญาติโยมน้นั ทราบ เพ่อื แสดงความเคารพ 六、若遇執事長老諸師,必介紹禮拜。 7.ญาติโยมมาที่วดั ไม่ควรพาไปนงั่ คุยท่ีกฏุ ิ ควรนง่ั สนทนาที่หอ้ งรับแขกทว่ั ไป 七、父母親戚來訪之時,不宜邀往僧房坐談,須在客廳款待。 8.เม่ือจะเขา้ ไปกฏุ ิใด ตอ้ งเคาะประตูกฏุ ิก่อน เพื่อใหพ้ ระในกฏุ ิไดท้ ราบ 八、有事必要進入各僧房,應當先扣門三下,令其知覺。 9.เวลาทาํ วตั รในโบสถ์ หา้ มสวมรองเทา้ ตอ้ งครองจีวรใหญ่ เจริญพระพทุ ธมนตด์ ว้ ยศรัทธาจิตร 九、禮誦之時,須露頂赤足,披著僧衣,至心念誦。 10.เมื่อไปในงานฌาปนกิจหรืออาบน้าํ ศพ หา้ มสวมรองเทา้ 十、參加荼毗典禮,不得著鞋上火葬台,浴屍洒水之時亦是如是。
11.ไม่ทาํ ความเคารพแบบสามญั ชนต่อโยม หรือญาติผใู้ หญ่ รวมท้งั ภูติผเี ทวดา 十一、不得禮拜俗人,乃至父母王臣,以及一切鬼神。 12.นมสั การเจา้ อาวาส หา้ มอยขู่ า้ งหลงั คฤหสั ถ์ หรือในท่ีนง่ั ที่ต่าํ กวา่ คฤหสั ถ์ 十二、頂禮上座,不得在俗人後邊及低位。 13.นงั่ กบั เพศหญิงไม่ได้ ตอ้ งมีชายคนั่ หรือสิ่งของใหญ่คน่ั อยู่ 十三、不得與女人共一座坐,須有男子及一物中隔。 14.เมื่อเพศหญิงถวายของ รับจากมือหญิงไม่ได้ ตอ้ งใหว้ างไวใ้ นพานหรือบนผา้ หรือโตะ๊ เกา้ อ้ี แลว้ จึงรับได้ 十四、受女人供物時,不得親手接受,須令其放在一布巾或盤,或棹 几上,然後持取。 15.เม่ือเดินเขา้ วดั หรือเขา้ บา้ นคฤหสั ถ์ หา้ มเหยยี บธรณีประตู ตอ้ งขา้ มธรณีประตูไป 十五、入寺門或在家人門戶,不得踐踏門檻(門弟)越過。 16.หา้ มสูบบหุ ร่ี เพราะเป็นสิ่งที่เป็นภยั แก่ร่างกาย 十六、香煙乃是有害之物,妨碍修持,必須戒之。 17.หา้ มหุงตม้ อาหารในวดั เพื่อส่วนตวั 十七、禁止私人在寺內燒煮食物。
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: