เคมีอุตสาหกรรม อ.ดร.อษุ ารตั น รัตนคํานวณ สาขาวชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลยั แมโจ
เคมอี ตุ สาหกรรม เคมีอุตสาหกรรมเปน กระบวนวชิ าทเ่ี กยี่ วกบั การนําความรู ของเคมีไปใชในอตุ สาหกรรมเพ่ือผลติ เปนผลติ ภัณฑตา งๆ เพอ่ื ตอบสนองความตองการของมนษุ ย ในหัวขอ นี้ จะกลา วถงึ อตุ สาหกรรมปโตรเลียม ปโ ตรเคมี และผลิตภณั ฑจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี เชน พอลิเมอร ปุย ของใชในชวี ิตประจาํ วัน 2 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
เคมอี ตุ สาหกรรม : อุตสาหกรรมปโตรเคมี 3
ปโตรเลยี ม (Petroleum) ปโ ตรเลียม มาจากคําในภาษาละตนิ 2 คําคือ เพตรา (petra) แปลวา หิน และ โอเลยี ม (oleum) ซ่ึงแปลวา น้าํ มัน รวมความแลวหมายถึง นํา้ มนั ทไ่ี ด จากหิน ปโ ตรเลยี มเปน สารประกอบไฮโดรคารบอน ซึง่ ประกอบดวยธาตุคารบ อน (c) กบั ธาตุไฮโดรเจน (H) จับตวั กนั เปนโมเลกลุ โดยเกิดข้ึนเองตาม ธรรมชาติ จากการทับถมของซากสิ่งมชี ีวิตตามชัน้ หิน ดนิ และในทะเล หลายรอยลา นปมาแลว ปโตรเลยี ม แบง ตามสถานะท่สี ําคัญได 2 ชนิด คือ นํา้ มันดิบ (Crude Oil) และ กา ซธรรมชาติ (Natural Gases) 4 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
กาํ เนิดปโตรเลียม ปโตรเลียมเกิดจากการทับถม และแปรสภาพของซากสิ่งมชี วี ิตท้งั พืชและ สตั ว (สารอนิ ทรยี ) ในช้ันหินใตพ้นื ผิวโลกนานหลายรอยป เกิดเปน ช้ัน ตะกอนทบั ถมหนาข้ึนเร่ือยๆ ความกดดันจากจากชั้นหิน ความรอนจากใต ผวิ โลก และการสลายตัวของอนิ ทรียสารทาํ ให ซากพืชซากสัตวสลายตวั กลายเปนนํา้ มันและ แกส ธรรมชาติ 5 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
น้ํามันดิบ (Crude oil) น้ํามนั ดบิ (Crude Oli) คือสารประกอบของไฮโดรคารบอนชนดิ ตางๆ (จาํ นวนคารบ อนในโมเลกลุ ไมเ ทา กนั นํา้ หนกั โมเลกุลตางกนั ) กับสารเคมี อ่นื ๆ จํานวนเลก็ นอย เชน สารประกอบกํามะถัน ไนโตรเจน และออกซิเจน การที่จะนาํ สารตางๆ เหลา นี้ไปใชได พวกมนั จะตองถูกแยกออกออกจาก กนั เสยี กอน กระบวนการแยกเรียกวา การกล่นั (Refining) 6 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
กา ซธรรมชาติ (Natural Gas) กา ซธรรมชาติ (Natural Gas) คือ เชือ้ เพลงิ ประเภทฟอสซิลอยางหนงึ่ ซ่ึงพบไดในแองใตพื้นดิน หรืออาจพบรวมกับนํ้ามนั ดิบ เปน ปโ ตรเลยี มที่อยใู นรูปของ กา ซ ณ อุณหภมู ิ และความดนั ที่ผิวโลก กาซธรรมชาตเิ ปน สารประกอบไฮโดรคารบอน ซงึ่ ประกอบดว ย ธาตุ คารบอน (C) กับธาตไุ ฮโดรเจน (H) จับตวั กันเปนโมเลกุล โดยเกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ จากการทับถมของซากสิ่งมชี ีวติ ตามช้ันหิน ดนิ และใน ทะเลหลายรอ ยลานปม าแลว เชนเดียวกับนาํ้ มนั และเน่ืองจากความ รอนและความกดดนั ของผิวโลกจึงแปรสภาพเปนกาซ 7 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
การกล่ันลําดับสว น (Fractional Distillation) การแยกสารประกอบไฮโดรคารบ อนชนดิ ตางๆออกจากกนั จะใชวธิ ี การกลนั่ ลําดับ สวน (Fractional Distillation) การกล่ันลาํ ดบั สว น ( Fractional distillation) วธิ ีการนคี้ อื การกลั่นน้ํามนั แบบ พ้ืนฐาน ซึ่ง สามารถแยกนาํ้ มันดิบออกเปนสวน (Fractions) ตางๆ กระบวนการนี้ใชห ลกั การจากลักษณะของสว นตางๆ ของนาํ้ มนั ดิบทม่ี คี า อุณหภมู ิ จดุ เดือด ( Boiling point) ทีแ่ ตกตา งกันออกไป สารประกอบไฮโดรคารบ อนที่มีจํานวนคารบอนนอ ยกวาจะมนี ้ําหนักโมเลกลุ และ จดุ เดือดตํ่ากวา จะระเหยออกมากอ น สารประกอบไฮโดรคารบ อนที่มจี ํานวนคารบ อนมากกวาจะมีนํ้าหนกั โมเลกุลและ จุดเดือดสูงกวา จะระเหยออกมาทหี ลงั 8 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
การกล่นั ลําดับสว น (Fractional Distillation) 9 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
การใชป ระโยชนจากนาํ้ มันและกาซธรรมชาติ ผลติ ภณั ฑท่กี ล่ันได ประโยชน กาซมีเทน (C1) เชอื้ เพลิงสําหรบั ผลิตกระแสไฟฟา อดั ใสถังดว ยความดันสงู ใชเปน เช้ือเพลงิ NGL (Natural Gas Liquid) ในรถยนตชนิด NGV (Natural Gas Vehicle) กา ซอเี ทน (C2) ใชเปนวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปโ ตรเคมเี พ่ือผลิตเม็ด พลาสติก เสนใยส่งิ ทอ กา ซโพรเพน (C3) ใชเ ปนวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปโ ตรเคมีเพื่อผลิตเมด็ พลาสติก 10 ใชเปน เช้ือเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม
การใชป ระโยชนจากนาํ้ มันและกาซธรรมชาติ ผลิตภัณฑท กี่ ลั่นได ประโยชน กา ซบวิ เทน (C4) ใชเ ปนวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปโตรเคมี นํา C-3 มาผสม C-4 อัดใสถังเปนกาซปโตรเลียม แนฟทาเบา (C5-C9) เหลว (Liquefied Petroleum Gas,LPG) (กา ซหงุ ตม) แนฟทาหนกั เพื่อเปน เช้อื เพลงิ ในครัวเรอื น หรือสําหรับรถยนต 11 (C5-C10) ใชทาํ สารเคมี ใชท ําเชือ้ เพลิงสาํ หรับเครื่องยนตเ บนซนิ (นํา้ มัน เบนซนิ หรือ gasoline) ใชทําเช้ือเพลงิ สาํ หรบั เคร่ืองยนตเบนซนิ (นา้ํ มัน เบนซิน หรือ gasoline)
การใชประโยชนจากนํ้ามนั และกาซธรรมชาติ ผลิตภณั ฑท ี่กลั่นได ประโยชน น้าํ มันกาด ใชท ําเช้ือเพลงิ สําหรับจดุ ตะเกยี ง และเปนนํ้ามนั (kerosene) สาํ หรบั เคร่ืองบินไอพน (C10-C16) ใชทําเปน เชอื้ เพลงิ สําหรับเครื่องยนตด เี ซล นา้ํ มันดีเซล (diesel) ใชเ ปนนาํ้ มันหลอลน่ื (C14-C20) นํ้ามนั หลอลน่ื (C20-C50) 12
การใชป ระโยชนจากน้าํ มนั และกาซธรรมชาติ ผลิตภณั ฑท ่กี ล่ันได ประโยชน นํ้ามันเตา เปน เชอ้ื เพลิงสาํ หรับเตาตม หมอ นาํ้ และเตาเผาหรอื (C20-C70) เตาหลอมท่ีใชในโรงงานอุตสาหกรรม เครื่องกาํ เนิด ไฟฟา ขนาดใหญ ยางมะตอย (C>70) ใชทําวัสดกุ ันซมึ ใชท ํายางมะตอยราดถนน 13 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
ปโตรเคมี (Petrochemical) คืออะไร ปโตรเคมี เปนสารประกอบไฮโดรคารบอนท่ีไดจากการนํา ปโตรเลียมมาแปรสภาพโดยผานกระบวนการตางๆ ของโรงกลั่น นํ้ามันหรือโรงแยกกาซธรรมชาติ เพ่ือใหเกิดสารตัวใหมที่นําไปใช เปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี ทําใหไดผลิตภัณฑตางๆ มากมาย 14 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
ปโตรเคมี (Petrochemical) สว นจากโรงกลน่ั แปรสภาพ สารปโตรเคมี สารกลมุ โอเลฟน ส :สารประกอบ เอทลิ ีน โพรพลิ ีน (สารต้ังตนใน ไฮโดรคารบอน (C2, C3, C4) เชน อเี ทน, การผลิตเมด็ พลาสตกิ ) โพรเพน, LPG, NGV สารกลมุ อะโรมาตกิ ส: C-2 ถงึ C-8 เบนซนี โทลูอีน ไซลีน เชน คอนเดนเซท รีฟอรม เมท แนพทา (ตวั ทําละลายและสารต้งั ตนใน สังเคราะหพ อลิเมอร) 15 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
วตั ถุดบิ ผลิตภัณฑป โ ตรเคมีขัน้ ตน ข้ันกลางและขนั้ ปลาย อตุ สาหกรรมตอเนื่อง 16 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
เคมีอตุ สาหกรรม : พอลเิ มอร และผลิตภัณฑของใชในชีวิตประจําวนั Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University 17
พอลเิ มอร (Polymer) คอื อะไร? พอลิเมอร (Polymer) มาจากภาษากรีก “Poly” แปลวา มาก (many) และ “mer” แปลวา สว นหรือหนวย (part or unit) ดงั นั้น พอลเิ มอรจึงหมายถึง สารโมเลกุลยาวและมีนํา้ หนักโมเลกลุ สงู ประกอบดว ยหนว ยทซ่ี ํ้าๆกันที่เรียกวา “mer” หรือ “repeating unit” จํานวนมาก มาเชื่อตอ กันดวยพนั ธะโควาเลนต 18 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
มอนอเมอร (Monomer) พอลเิ มอร เกดิ จากการทาํ ปฏกิ ริ ิยาของ มอนอเมอร (monomer) มอนอเมอร คอื สารต้งั ตนท่ีใชท ําปฏิกริ ยิ าเพือ่ เกิดเปน พอลิเมอร ปฏกิ ริ ยิ าการสงั เคราะหพอลิเมอร คอื ปฏิกิรยิ าพอลิเมอรไ รเซชัน (Polymerization) polymerization monomer polymer 19 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
พอลเิ มอร (Polymer) พอลเิ มอร เปนสารประกอบไฮโดรคารบ อนทีม่ ีนา้ํ หนกั โมเลกุลสูง ประกอบดว ยโมเลกุล ซา้ํ ๆ ตอ กันเปนโมเลกลุ สายยาวๆ ประกอบดว ยธาตทุ ่ีสาํ คัญคือ คารบ อน, ไฮโดรเจน นอกจากนี้อาจมีธาตุอน่ื ๆเปน สว นประกอบยอ ย ไดแ ก ออกซเิ จน, ไนโตรเจน, ฟลูออรีน, คลอรีน, และกํามะถนั เปน ตน พอลเิ มอร แบงตามเกณฑก ารเกิดเปน 2 ชนิดคือ พอลิเมอรธรรมชาติ (Natural Polymer) เชน เซลลูโลส แปง โปรตนี ยางธรรมชาติ พอลเิ มอรส ังเคราะห (Synthetic Polymer) เชน พลาสติก เสยใย โฟม กาว 20 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
พอลเิ มอรท่ีเกี่ยวของกบั ชวี ิตประจาํ วนั • พอลิเมอร มักอยูในรูปของวัสดุ ซึง่ แบง ออกตามลกั ษณะการใชง าน คือ 1) พลาสตกิ (plastics) 2) ยาง (rubber or elastomers) 3) เสนใย (fibers) 4) วสั ดเุ คลือบผวิ (surface coatings) 5) กาว (adhesives) เราพบเหน็ พอลิเมอรไ ดท่วั ๆ ไป ของใชตางๆ เชน ถงุ กลอ ง ถงั ตะกรา กาละมัง กระเปา ขวดนํา้ สว นประกอบของเครอื่ งใชไ ฟฟา สีทาบาน ส่ิงทอ 21 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
คุณสมบตั เิ ดนของพอลิเมอร ความตองของพอลิเมอรเพ่ือใชท ดแทนวัสดุดั้งเดิม ไดแก ไม โลหะ แกว และ เซรามกิ เพมิ่ ขึ้นทกุ ป เน่ืองจาก สามารถแปรรปู และข้นึ รูปเปนผลติ ภัณฑทม่ี ีรปู รา งแบบซบั ซอนได ทาํ ใหม ีสสี นั ตามตองการ น้ําหนักเบา และมคี วามแข็งแรง ทนทานตอสารเคมีและการกัดกรอน พอลิเมอรส วนใหญเปนฉนวนไฟฟา และความรอน พอลิเมอรมสี มบัตพิ ิเศษ เชน ความยดื หยุนของยาง และความสามารถใน การรับหรอื ดูดกลนื พลังงาน 22 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
พลาสตกิ วิศวกรรม พลาสตกิ วิศวกกรม คือ พลาสตกิ ซ่ึงมสี มรรถภาพสูง เหมาะสมในการนาํ มา ทาํ เปนสวนประกอบในเครอ่ื งจกั ร หรืองานโครงสราง และประยกุ ตใ ชในงาน อตุ สาหกรรม สามารถใชงานไดอยางตอเน่อื งท่ีอณุ หภมู ิสูงประมาณ 100 C ใชในงานเฉพาะทาง เชน วัสดเุ ชิงประกอบประเภทยานยนตทางอากาศ หรือใชทําแผนเยื่อแยกสารสําหรับของเหลวหรือกา ซ ทาํ ส่ิงทอหรอื ผาทนไฟ สําหรับพลักงานดับเพลนิ ใชในทางการแพทย เชน ทาํ ไหมละลาย ช้ินสว นขา เทียม เปน ตน 23 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
พลาสตกิ กับสิง่ แวดลอม พลาสตกิ ทําใหเกิดปญ หาขยะลนเมือง เน่ืองจาก พลาสตกิ เปนวสั ดุที่มีการใชงานอยา งแพรห ลาย พลาสตกิ คอื พอลเิ มอรซ งึ่ มีโมเลกุลยาว ยอยสลายไดยากในธรรมชาติ 24 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
การแกปญหาขยะพลาสติก 25 Reduce การลดการใช Repair การซอ มแซม Reuse การใชซ าํ้ นําพลาสตกิ กลับมาใชใ หม Recycle การแปรรปู เพ่ือนําพลาสติกกลบั มาใชใ หม Biodegradable Plastic การใชพ ลาสติก ยอยสลายไดทดแทนการใชพลาสติกท่วั ไป เชน พอลิแลกติกแอซดิ หรอื มีพอลเิ มอร ธรรมชาติ เชน แปงเปน สวนประกอบ Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
การแปรรูปเพ่อื นาํ กลบั มาใชใหม (Recycle) ส่งิ สาํ คัญในการรีไซเคิลพลาสติก คือ การคัดแยกประเภทของพลาสตกิ เนอ่ื งจากพลาสติกบางประเภทไมส ามารถผสมกันได ดังนนั้ สมาคมอตุ สาหกรรม พลาสติกจงึ ไดเ สนอระบบเพื่อบงชี้ หรือกาํ หนดประเภทของขวดพลาสติกโดยใช สญั ลกั ษณ ลูกศร 3 เสน วง่ิ ไลกันเปนรูปสามเหลี่ยม (chasing arrows) แทน ความหมาย การรไี ซเคิล ประกอบดว ยตวั เลขและช่ือยอ สําหรับพลาสตกิ 7 ชนิด 26 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
ผลติ ภัณฑข องใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน สบู ผงซักฟอก และสารลดแรงตึงผิว นาํ้ ยาดดั ผม น้ํายายืดผม 27 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
สบแู ละสารลดแรงตึงผวิ (Surfactant) 28 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
ตวั อยา งของสารลดแรงตึงผวิ Anionic Surfactant เชน Sodium lauryl sulphate เปนสวนประกอบใน ผงซกั ฟอก สบู ครมี อาบน้ํา Sodium lauryl sulphate Cationic Surfactant ไดแกส ารจําพวก quaternary ammonium salt เปน สวนประกอบใน ครมี นวดผม นํา้ ยาปรบั ผานมุ Nonionic Surfactant เชน Alkyl phenol ethoxylate เปน สว นประกอบในสบูเ หลวลา งหนา ครีมบาํ รุงผิว Alkyl phenol ethoxylate 29
สบูชาํ ระลางสง่ิ สกปรกไดอยางไร? 1) สง่ิ สกปรกจับบนพื้นผวิ 2) เมื่อเติมสารซกั ลา งลงไป ไอออนของสารซกั ลา งเขาสัมผัสกบั สงิ่ สกปรก สวนท่ีชอบนํ้าจะ ทาํ การจบั น้ํา และสวนทช่ี อบน้ํามนั จะทําการจับสงิ่ สกปรกพวกไขมนั ทไ่ี มสามารถละลาย น้ําได คือจะเอาสวนหัวทม่ี ีประจชุ ีเ้ ขา หาโมเลกลุ ของน้าํ เอาสวนหางจับกับไขมัน 3) สง่ิ สกปรกถกู ดึงหลุดออกไปจากพ้ืนผิวแลว แขวนลอยอยูในนํา้ 4) สิ่งสกปรกถกู หมุ ดวยกลุมโมเลกุลของสารซักลา ง สว นหวั ของสารซกั ลางซ่ึงมปี ระจุจะ ดึงดูดกับโมเลกุลของนา้ํ 30 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
นาํ้ ยาดัดผม นํา้ ยายืดผม น้าํ ยาดัดผมทําใหผ มงอ และน้ํายายืดผมทาํ ใหผมตรงไดอยา งไร? เสนผมคนเราประกอบดวยโปรตีน ท่ีมีชื่อวาเคราติน ซึ่งเคราตินนี้เองจะมีกรดอะมิโนชื่อ ครีสเตอีน (cysteine) เปนองคประกอบอยู คริสเตอีนเหลาน้ีจะเช่ือมกันดวยพันธะได ซลั ไฟด (disulfide bond; มีกาํ มะถันสองอะตอมเช่ือมตอระหวางคริสเตอีน) ผมทุกเสนมี พนั ธะไดซลั ไฟดท ัง้ หมด 31 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
นา้ํ ยาดดั ผม นํ้ายายืดผม น้าํ ยาดัดผมทําใหผ มงอ และนา้ํ ยายดื ผมทําใหผ มตรงไดอยา งไร? น้ํายายืดผมและนํ้ายาดัดผมจะไปทําลายพันธะไดซัลไฟดดว ยสารรีดิวซ สารเคมีท่ีใชในการเปน สารรีดวิ ซเพือ่ ทําลายพันธะไดซลั ไฟดใหขาดออก ไดแก Thiogylcolic acid เม่ือตองการทําใหผ มตรงก็ตามดวยการรีดผมดว ยความรอนแลว ทําให เกดิ พันธะไดซัลไฟดใ หมดวยสารออกซไิ ดส สารเคมีท่ีทําหนา ที่เปนสาร ออกซไิ ดสเพื่อใหพ นั ธะไดซัลไฟดเ กิดขึ้นมาใหม ไดแก Hydrogen Peroxide เมอื่ ตองการทําใหผมหยิกงอกลายเปนผมดัดก็ตามดวยการมวนผมแลว ทาํ ใหเ กิดพันธะไดซัลไฟดใหมดว ยสารออกซไิ ดสเ ชนเดียวกนั นัน่ เอง 32
นา้ํ ยาดดั ผม 33
นา้ํ ยายดื ผม 34
นํ้ายาดดั ผม นํา้ ยายดื ผม 35 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
36 Department of Chemistry, Faculty of Science, Maejo University
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: