Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย 1_2565

วิจัย 1_2565

Published by chonlapat456, 2022-08-30 04:38:29

Description: วิจัย 1_2565

Search

Read the Text Version

การพัฒนาทกั ษะการอ่านอาขยานและเขียนคามาตราตวั สะกด โดยใช้แบบฝกึ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรรษรตั น์ พรมมินทร์ ครู ชานาญการ โรงเรยี นโคกสาโรงวิทยา อาเภอโคกสาโรง จังหวดั ลพบรุ ี สงั กัดสานักงานเขตพื้นทม่ี ัธยมศึกษา

สารบัญ หนา้ 1 เรื่อง 1 บทที่ 1 บทนา......................................................................................................................... 2 2 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา........................................................... 2 1.2 จดุ มุง่ หมายของการวจิ ัย................................................................................... 2 1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั ....................................................................................... 2 1.4 ตัวแปรท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ................................................................................... 3 1.5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ............................................................................................... 3 ประโยชน์ทค่ี าดว่า จะได้รับ..................................................................................... 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง 5 2.1 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551............................... 7 2.2 คณุ ภาพของผู้เรยี น............................................................................................. 12 2.3 การอา่ น............................................................................................................ 13 2.4 การเขียน........................................................................................................... 14 2.5 แบบฝึกทักษะ................................................................................................. 14 2.6 งานวิจัยท่ีเกย่ี วขอ้ ง........................................................................................... 14 บทที่ 3 วิธดี าเนินการวจิ ยั 14 3.1 ประชาการและกลมุ่ ตัวอยา่ ง.............................................................................. 15 3.2 เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวจิ ยั .................................................................................... 15 3.3 ขน้ั ตอนการดาเนินการ....................................................................................... 17 3.4 การสร้างและหาคณุ ภาพของเคร่อื งมอื ............................................................. 17 3.5 สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู ....................................................................... 17 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 17 4.1 สญั ลักษณ์ที่ใชใ้ นการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล....................................... 4.2 ลาดบั ขั้น ตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล............................................. 4.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู .......................................................................................

บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ.............................................................. 19 5.1 วตั ถุประสงค์ของการศึกษา............................................................................ 19 5.2 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง............................................................................ 19 5.3 สรปุ ผลการวจิ ยั ............................................................................................. 19 5.4 อภิปรายผล.................................................................................................. 19 5.5 ขอ้ เสนอแนะ................................................................................................ 20 ภาคผนวก

บทคดั ย่องานวจิ ัย เรือ่ งการพฒั นาทักษะการอา่ นอาขยานและเขียนคามาตราตวั สะกดโดยใช้แบบฝึก กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปี ที่ 1/8 เรื่องงานวิจยั การพัฒนาทกั ษะการอา่ นอาขยานและเขียนคามาตราตัวสะกดโดยใชแ้ บบฝึกกลุ่ม สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1/8 ผ้วู ิจัย นางสาวพรรษรตั น์ พรมมนิ ทร์ ปีการศกึ ษา 2564 บทคดั ย่อ การวิจยั คร้ังนี้มวี ัตถุประสงค์เพ่อื พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและความสามารถในการอา่ น อาขยานของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1/8 และเพ่ือพฒั นาแบบฝึกทักษะกลุ่มสาระภาษาไทย ประสิทธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน 75/75 โดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี นกลุ่มตัวอย่างเป็น ช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/8 ภาคเรยี นท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรยี นโคกสาโรงวิทยา จานวน 33 คน ซึ่งได้มา โดยการเลือกสุม่ แบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการวิจยั แผนการจดั การเรียนรู้ เรื่อง นิราศภเู ขาทอง จานวน 3 แบบฝึก เพื่อวัด ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น กาวิเคราะห์ข้อมลู ใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ผลการวิจยั พบว่า แบบฝกึ ทักษะการอ่านอาขยานของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1/8 จานวน 3 แบบฝึก มี ประสิทธิภาพ 82.5/ 75 หมายถึงนักเรยี นได้คะแนนเฉล่ยี จากการอ่านบทอาขยาน เรื่องนริ าศภูเขาทอง ทง้ั 3 แบบฝกึ คิดเป็นร้อยละ 75.30 และได้คะแนนเฉลยี่ จากการทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ดา้ นการอ่านอ่านอาขยาน คิดเป็นร้อยละ 82.5แสดงว่า การจัดกจิ กรรมพัฒนาทักษะการอ่านอาขยานของ นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/8 โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ ที่ผู้วิจยั สรา้ งขน้ึ มปี ระสิทธภิ าพสูงกวา่ เกณฑ์ มาตรฐาน 75/75 ทตี่ ้ังไวค้ ะแนนแบบทดสอบหลังเรียนคิดเปน็ รอ้ ยละ82.5 คะแนนทดสอบก่อนเรยี นคิด เป็นร้อยละ75.00 แสดงใหเ้ หน็ ว่าการจดั การเรยี นรู้โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอ่านอาขยานของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 1/8 ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ด้านการอ่านอาขยานของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/8 มีการพฒั นาการรอ้ ยละ7.5

บทท่ี 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา ภาษาไทยเป็นเอกลักษณข์ องชาติเปน็ สมบัตทิ างวัฒนธรรม อันก่อใหเ้ กิดความเป็นเอกภาพและ เสริมสร้างบคุ ลิกภาพของคนในชาตใิ ห้มคี วามเป็นไทยเปน็ เครื่องมือในการติดต่อสอื่ สารเพ่ือสรา้ งความ เข้าใจและความสมั พันธท์ ีด่ ตี ่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุรการงานและดาเนนิ ชีวิตรว่ มกันในสงั คม ประชาธิปไตยได้อย่างสันตสิ ุขและเปน็ เคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณจ์ ากแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศตา่ ง ๆ เพ่ือพัฒนาความรกู้ ระบวนการคิดวิเคราะห์วิจารณแ์ ละสรา้ งสรรค์ให้ทัน ต่อการ เปล่ยี นแปลงทางสังคมและความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยตี ลอดจนนา ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ ให้ความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเปน็ สอื่ แสดงถึงภมู ปิ ญั ญาของบรรพบรุ ุษดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี สุนทรยี ภาพเป็นสมบัติลา้ ค่าควรแก่การเรียนรูอ้ นุรักษ์ และสบื สานให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป กระทรวงศึกษาธกิ าร (2551 : 37) ด้วยความสาคัญ ดงั กล่าวหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้น พุพืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 มุ่งพัฒนา นกั เรียนทกุ คน ซ่งึ เป็นกาลังของชาติใหเ้ ป็นมนุษย์ที่มคี วามสมดลุ ทั้ง ด้านรา่ งกายความรู้คณุ ธรรม มีจติ สานึก ในความเปน็ พลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยึดมนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพนื้ ฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเปน็ ต่อการศึกษาต่อการประกอบ อาชพี และการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ บนพน้ื ฐานความเชอื่ ว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ กระทรวงศึกษาธกิ าร (2551 : 4) เด็กไทยทุกคนควรเรยี นรู้และใช้ ภาษาไทยไดอย่างถูกต้องทุกโอกาส ซ่ึงการเรยี นการสอนภาษาไทยเปน็ ทักษะท่ีต้องฝกึ ฝนจนเกดิ ความ ชานาญ ในการใชภ้ าษาเพื่อการสอ่ื สาร การอา่ นและการฟงั เป็นทักษะของการรบั ร้เู รื่องราว ความรู้ ประสบการณ์สว่ นการพดูและการเขยี นเป็นทักษะของการแสดงออกด้วยการแสดงความคิดเหน็ ความรแู้ ละ ประสบการณ์การเรยี นภาษาไทยจึงต้องเรียนเพื่อการสื่อสารให้สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างพินจิ พิเคราะห์ สามารถนาความรู้ ความคดิ มาเลอื กใชเ้ รยี บเรยี งคามาใช้ตามหลกั ภาษาได้ถกู ต้องตรงตาม ความหมายกาลเทศะและใช้ภาษาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ วิมลรตั น์สนุ ทรโรจน(์ 2549 : 80) จากข้อมูลสภาพปัญหา ผู้วจิ ัยได้รบั มอบหมายใหร้ ับผิดชอบในการจดั การเรียนการสอนวิชา ภาษาไทย ได้ทาการทดสอบภาษาไทย ปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1/8 นกั เรยี นมปี ญั หาทางด้านการเขยี นสะกดคา ไม่ถูกต้องและอ่านไม่เปน็ ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนต้องมีผลตอ่ การเรยี นการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่นื อีกด้วย ผู้วจิ ยั ได้ศึกษาจงึ พบว่า การใช้

แบบฝึกทกั ษะ ทาให้สามารถพัฒนาทักษะการอา่ นอาขยานของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1/8 มี พฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทยมีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งข้ึน จุดมงุ่ หมายของการวจิ ัย 1.เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการอ่านอาขยานของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/8 2. เพ่ือพัฒนาแบบฝึกทักษะกลุ่มสาระภาษาไทย ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 ขอบเขตของการวจิ ยั 1.กลุม่ ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการวจิ ัย ได้แก่ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/8 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนโคกสาโรงวิทยา จานวน 33 คน ซง่ึ ไดม้ าโดยการเลือกสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 2.ระยะเวลาในการศกึ ษา ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศกึ ษา คือ ภาคเรยี นที่ 1 ปี การศกึ ษา 2564 จานวน 40 ชั่วโมง ท้ังน้ีไม่รวมเวลาท่ีใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น 3. เนอื้ หาทใี่ ช้ในการวิจัยได้แก่ อ่านบทอาขยาน เรือ่ งนิราศภเู ขาทอง จานวน 5 บท ตวั แปรทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั - ตวั แปรตน้ ได้แก่ แบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี นพ้ืนฐาน - ตัวแปรตาม ได้แกผ่ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้านการอ่านอาขยาน นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ แบบฝึกทกั ษะการอา่ นอาขยาน หมายถึง แบบฝึกทกั ษะการอา่ นอาขยาน ตามมาตราตัวสะกด กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/8 ที่ผู้วิจัยไดน้ าบทอาขยานเร่อื งนริ าศภูเขาทอง จานวน 5 บท ประสิทธิภาพของแบบฝึก หมายถึงแบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี นสะกดคา กล่มุ สาระการ เรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1/8 ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละของนักเรยี นที่ได้จากการทาแบบทดสอบ 80 ตัวหลงั หมายถงึ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละท่ีได้จากการทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ด้านการอ่านและการเขยี นสะกดคาหลังเรยี น ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หมายถึงความรู้ ความสามารถในการเรยี นภาษาไทยของนักเรยี นที่เรยี น โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านอาขยาน ตามมาตรา ตวั สะกด ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/8 ได้จากคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอ่านอาขยาน ที่ ผ้วู จิ ยั นามาใหอ้ ่าน

ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ 1 .ไดแ้ บบฝึกทักษะการอ่านอาขยาน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/8

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้อง การดาเนินการวิจัยคร้ังนี้เพื่อพัฒนาทกั ษะการอา่ นอาขยาน โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะการอ่านอาขยาน บทอาขยาน เร่อื งโคลงโลกนิติ จานวน 5 บท กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1/8 โรงเรียนโคกสาโรงวทิ ยา โดยไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง ดังต่อไปน้ี 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 2. การอ่าน 2.1 ความหมายของการอา่ น 2.2 ความสาคัญของการอ่าน 3. การเขียน 3.1 ปญั หาของการเขยี น 3.2 ความสาคัญของการเขยี น 4. แบบฝึกทกั ษะ 4.1 ความหมายและความสาคญั ของแบบฝึกทักษะ 4.2 ลักษณะของแบบฝึกทักษะท่ีดี 4.3 ประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ 4.4 หลกั การสรา้ งแบบฝึกทกั ษะ 4.5 ส่วนประกอบของแบบฝกึ ทักษะ 4.6 ขนั้ ตอนการสรา้ งแบบฝึกทักษะ 5. งานวิจัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 5.1 งานวจิ ัยในประเทศ 5.2 งานวิจัยตา่ งประเทศ 1.หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดสาระและมาตรฐานการ เรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 25551 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย กาหนด สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ไว้ดังนี้ (กรมวิชาการ. 2545 : 3-17) สาระที่ 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคดิ เพอื่ นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาใน การดาเนนิ ชวี ิตและมนี สิ ัยรักการอา่ น

สาระที่ 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวใน รูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษา ค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ ความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา และ พลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ มาตรฐาน ท 4.2 สามารใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสรมิ สร้างลักษณะนสิ ัยบุคลิกภาพและความสัมพันธ์ ระหว่างภาษากบั วัฒนธรรม อาชีพ สงั คม และชวี ติ ประจาวนั สาระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรมไทย มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่าและนา มาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง 2.คุณภาพผู้เรยี น เมอื่ เรียนจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยแล้ว ผเู้ รียนตอ้ งมีความรู้ ความสามารถคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม (กรมวิชาการ. 2545 : 9-13) ดังน้ี 2.1 สามารถใช้ภาษาส่อื สารได้อยา่ งดี 2.2 สามารถอ่าน เขยี น ฟัง ดูและพูด ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2.3 มีความคิดสร้างสรรค์คิดอย่างมเี หตผุ ล และคิดเป็นระบบ 2.4 มีนสิ ัยรกั การอา่ น การเขียน การแสวงหาความรู้และใช้ภาษาไทยในการพัฒนาตน และ สร้างสรรค์งานอาชีพ 2.5 ตระหนักในวัฒนธรรมการใชภ้ าษาและความเป็นไทยภูมิใจแจและชื่นชมในวรรณคดีและ วรรณกรรมซ่ึงเปน็ ภมู ิปัญญาของคนไทย 2.6 สามารถนาทักษะทางภาษามาประยุกต์ ใชใ่ นชีวิตจรงิ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและถูกต้องตาม สถานการณ์และบุคคล 2.7 มีมนุษยสัมพันธ์ทด่ี ีและสรา้ งความสามัคคีในความเป็นชาติไทย 2.8 มีคณุ ธรรม จริยธรรม วิสัยทศั นโ์ ลกทัศน์ทกี่ วา้ งไกลและลกึ ซึ้งเมอื่ จบแตล่ ะชว่ งชั้นนักเรียนต้อง มีความรู้ความสามารถคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมตามทกี่ าหนด ความสามารถและคุณธรรม และ คา่ นยิ มดงั น้ี 1. อ่านอยา่ งมสี มรรถภาพและอ่านได้เร็วยิง่ ข้นึ

2. เข้าใจวงคาศัพท์ทก่ี ว้างขน้ึ สานวนและโวหารทล่ี ึกซ้ึงแสดงความคดิ เหน็ เชิงวิเคราะหป์ ระเมินค่า เร่ืองท่ีอ่านอย่างมเี หตผุ ล 3. เลอื กอา่ นหนังสือและสื่อสารสนเทศจากแหล่งเรียนรไู้ ด้อย่างกวา้ งขวางตามจุดประสงค์ 4. เขียนเรียงความ ย่อความ และจดหมายเขยี นอธิบาย ชี้แจงรายงาน เขยี นแสดงความคิดเห็น แสดงการโตแ้ ย้ง และเขยี นเชิงสร้างสรรค์ 5.สรุปความ จับประเด็นสาคัญวเิ คราะห์วินจิ ฉยั ข้อเทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็น และจุดประสงคข์ องเรื่องท่ี ฟงั และดู 6.ร้จู ักเลือกใช้ภาษาเรยี บเรยี งขอ้ ความ ได้อยา่ งประณีต จัดลาดับความคดิ ขนั้ ตอนในการนาเสนอ ตามรูปแบบของงานเขยี นประเภทต่าง ๆ 7.พดู นาเสนอความรู้ ความคิด การวิเคราะหแ์ ละการประเมนิ เร่ืองราวต่าง ๆ พูดเชิญชวน อวยพร และพูดในโอกาสต่าง ๆ อย่างเหมาะสม 8. เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและการนาภาษาตา่ งประเทศมาใช้ในภาษาไทย 9. ใช้ภาษาแสดงความคดิ เหน็ สรา้ งความเข้าใจโน้มนา้ วใจ ปฏเิ สธเจรจาตอ่ รองด้วยภาษาและ กิริยาท่าทางทส่ี ภุ าพ 10. ใชท้ กั ษะทางภาษาในการแสวงหาความรกู้ ารทา งาน และใช้อย่างสรา้ งสรรค์เป็นประโยชน์ 11.ใช้หลกั การพินิจวรรณคดแี ละวรรณกรรมพิจารณาวรรณคดแี ละวรรณกรรมใหเ้ หน็ คุณค่าและ นาประโยชนไ์ ปใชใ้ นชีวติ 12. แต่งกาพย์กลอน และโคลง 13. ท่องจาบทร้อยกรองที่ไพเราะและนาไปใช้การในการพูดและการเขยี น 14. รอ้ งเลน่ หรอื ถา่ ยทอดเพลงพืน้ บา้ นและบทกล่อมเด็กในท้องถน่ิ 15. มมี ารยาทในการอ่าน การเขียน การฟังการดูและการพูด 16. มีนิสยั รักการอ่าน การเขียน 3. การอ่าน การอ่านเป็นทักษะทางภาษาท่ีสาคัญและจาเป็นมากในการดารงชีวิตของมนุษย์ ใน ชีวิตประจาวนั ตอ้ งอาศยั การอ่านจงึ จะสามารถเข้าใจและสือ่ ความหมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 2.1 ความหมายของการอ่าน ฉวลี ักษณ์ บญุ กาญจน (2547 : 3) ไดใ้ หค้ วามหมายของการอ่าน คือการบริโภคคา ท่ีถกู เขยี น ออกมาเป็นตัวหนงั สือหรอื สัญลักษณ์โดยมีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่เี รม่ิ จาก “แสง”ที่ถูกสะท้อนมา จากตวั หนังสือผ่านเลนสน์ ัยน์ตาและประสาทตา เข้าส่เู ซลสมองไปเปน็ ความคดิ (Idea) ความรับรู้ (Perception) และความจา ทั้งระยะส้ันและระยะยาว สรุปความหมายของการอ่าน หมายถงึ การเข้าใจ ความหมายของคา ประโยคข้อความ และเร่ืองที่อ่าน และเรอ่ื งที่อ่านมีความสาคัญ ต่อประเทศชาติและ

พฒั นาตนเองให้ก้าวหน้าผู้อ่านมากนอกจากได้รบั ความรู้อย่างกว้างขวางแล้ว ยังทาให้ผ่อนคลาย ความเครยี ด ซง่ึ เป็นประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากการอา่ น น่ันเอง การอา่ นเปน็ กระบวนการทางสมองที่ต้องใช้ สายตาสัมผัสตัวหนังสอื หรอื ส่ิงพิมพ์ตา่ งๆ รบั รแู้ ละ เขา้ ใจความหมายของคา ท่ีใช่สื่อความคดิ ความรู้ความ เข้าใจระหว่างผูเ้ ขยี นกบั ผู้อ่าน ใหเ้ ข้าใจตรงกนั และผู้อ่านสามารถนาเอาความหมายน้ันๆ ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 2.2 ความสาคัญ ของการอ่าน วรรณี โสมประยูร (2544 : 121-123) ได้อธิบายถึงความสาคัญ ของการอ่านหนังสือมผี ลต่อ ผู้อา่ น 2 ประการคือ ประการแรกอ่านแล้วได“้ อรรถ” ประการท่ีสองอ่านแล้วได้“รส”ถ้าผู้อา่ นสานกึ อย่ตู ลอดเวลา ถึงผลสาคัญ ของสองประการน้ียอ่ มจะได้รบั ประโยชนอ์ ย่างเต็มที่จากหนังสอื ตรงตามเจตนารมณ์ของผ้เู ขยี น เสมอการอา่ นมีความสาคัญ ต่อทกุ คนทุกเพศทุกวัยและทุกสาขาอาชพี ซ่ึงพอสรปุ ได้ดังน้ี 2.2.1การอา่ นเปน็ เคร่ืองมือที่สาคัญยิ่ง ในการศกึ ษาเลา่ เรยี นทกุ ระดับผู้เรยี นจา เปน็ ต้องอาศยั ทักษะการอ่านทาความเขา้ ใจเน้ือหาสาระของวิชาการต่างๆ เพื่อให้ตนเองได้รบั ความรูแ้ ละประสบการณ์ ตามทต่ี ้องการ 2.2.2 ในชวี ิตประจาวันโดยท่ัวไป คนเราต้องอาศยั การอา่ นติดตอ่ สื่อสารเพ่ือทาความเขา้ ใจ บุคคล อืน่ รว่ มไปกบั ทกั ษะการฟังการพดู การ เขยี น ท้ังในดา้ นภารกจิ สว่ นตัวและการประกอบอาชพี การงานต่างๆ ในสงั คม 2.2.3 การอา่ นสามารถชว่ ยให้บคุ คลสามารถนาความรแู้ ละประสบการณ์จากสิง่ ที่อา่ นไปปรับปรงุ และพัฒนาอาชพี หรือธรุ กิจการงานทีต่ ัวเองกระทา อยากให้เจรญิ กา้ วหน้าและประสบความสาเรจ็ ได้ในทส่ี ดุ 2.2.4 การอ่านสามารถสนองความต้องการพ้ืนฐานของบคุ คลในดา้ นตา่ งๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี เช่น ช่วย ให้ความมน่ั คงปลอดภัย ช่วยให้ไดร้ ับประสบการณ์ใหมช่ ่วยใหเ้ ปน็ ทยี่ อมรับของสงั คมชว่ ยใหเ้ กียรติยศและ ชื่อเสยี ง ฯลฯ 2.2.5 การอา่ นทั้งหลายจะส่งเสรมิ ใหบ้ ุคคลได้ขยายความรแู้ ละประสบการณเ์ พ่มิ ขน้ึ อย่างลกึ ซง้ึ และ กว้างขวาง ทาให้เป็นผู้รอบร้เู กิดความม่ันใจในการพูดปราศรัยการบรรยายหรืออภปิ รายปัญหาตา่ งๆ นับวา่ เปน็ การเพิ่มบคุ ลกิ ภาพและความนา่ เชื่อถือให้แกต่ ัวเอง 2.2.6 การอา่ นหนังสือหรอื สงิ่ พิมพ์หลายชนิดนับวา่ เป็นกจิ กรรมนันทนาการที่ นา่ สนใจมากเช่น อา่ นหนังสอื พิมพน์ ิตยสารวารสาร นวนิยายการ์ตนู ฯลฯ เป็นการชว่ ยให้บคุ คลร้จู ักใช้เวลาว่างใหเ้ กิด ประโยชน์และเกดิ ความเพลิดเพลินสนกุ สนานได้เปน็ อย่างดี 2.2.7การอา่ นเรื่องราวต่างๆ ในอดีต เช่น อา่ นศลิ าจารึก ประวัตศิ าสตรเ์ อกสาร สาคัญวรรณคดี ฯลฯ จะช่วยให้ อนชุ นร่นุ หลังรจู้ ักอนรุ ักษม์ รดกทางวัฒนธรรมของคนไทยเอาไว้และสามารถพัฒนาให้ เจริญรุง่ เรืองต่อไปได้ สรปุ ความสาคัญ ของการอา่ นว่าเป็นเครอ่ื งมือทส่ี าคญั ย่ิงในการแสวงหาความรู้การเรยี นรู้และ พฒั นาสตปิ ัญญาของคนในสังคม พัฒนาไปส่สู ิง่ ทด่ี ที ส่ี ุดในชวี ิต

3. การเขยี น สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา (2550 : ภาคผนวก 2/8) ไดใ้ ห้ความหมาย การเขยี นว่า หมายถงึ การสื่อสารด้วยตัวอักษรเพ่ือถา่ ยทอดความรู้ความคิด อารมณ์ความรสู้ ึก ประสบการณ์ ขา่ วสารและ จติ นาการโดยการใช้ภาษาทถี่ ูกต้องเหมาะสมตามหลักการใช้ภาษาและตรงตามเจตนาของผเู้ ขียน สรปุ การเขียนสะกดคา มคี วามสาคัญต่อการดารงชวี ิตประจาวัน และความเป็นอยู่ของบุคคลใน ปัจจบุ ัน เพราะการเขียนสะกดคาที่ถูกจะชว่ ยใหผ้ ูเ้ ขียน อา่ นและเขยี นหนังสือได้ถกู ต้อง สือ่ ความหมายได้ แจม่ ชัดและมีความมนั่ ใจในการเขยี นทาให้ผลงานทีเ่ ขยี นมีคุณค่าเพม่ิ ขึน้ นอกจากน้ียังอาจจะเป็นตัวบ่งชี้ถงึ คณุ ภาพการศึกษาของบุคคลน้ันอกี ดว้ ย 3.1 ปัญหาของการเขียน การเขียนสะกดคาเป็นปญั หาท่สี าคญั ของนักเรียนและครูสอนไม่ตรงมาตราตัวสะกดเขียนคาทม่ี ี ตัวการันตผ์ ดิ คา ทสี่ ระเสียงสน้ั และเสียงยาวเขยี นสลับกนั เขยี นคา ควบกลา้ ผิด เขียนพยัญชนะบางตวั ในคา เบยี ดกนั บางตัวห่างออกไป และเขียนคาทม่ี าจากภาษาตา่ งประเทศผิด 1. เว้นวรรคตอนย่อหน้าไม่ถูกต้อง 2. ใช้คาไมเ่ หมาะสมนาภาษาพูด มาใช้เป็นภาษาเขยี น 3. เขยี นคาทใี่ ช้อกั ษรย่อไมถ่ ูกต้อง 4. ลาดับความคดิ ในการเขยี นไมไ่ ด้ 5. ลายมืออา่ นยาก 6. ไม่มคี วามคดิ ในการเขยี น จากปญั หาที่กลา่ วมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าปัญหาที่สาคัญของการเขยี นสะกดคาผิดข้นึ อยู่กับครูผู้สอน ตัวนักเรยี นเองและวิธีการสอนของครู ดังนั้นผู้ทเ่ี กย่ี วข้องจึงควรตระหนักถงึ ปัญหาเหล่าน้ัน เป็นสาคญั 3.2 ความสาคัญของการสอนเขยี น การเขยี นนับว่า เปน็ ส่งิ จาเป็นอย่างยงิ่ ในการส่ือความหมาย อย่างหนึ่งของมนุษย์สามารถตรวจสอบได้และคงทนถาวร ซึ่งมนี กั การศึกษาให้ความสาคัญของการเขียนได้ ดังนี้ เรวดี อาษานาม (2537 : 151) ได้สรปุ ความสาคญั ของการเขยี นไวด้ งั นคี้ ือ เด็กที่มีความสามารถ ในการอ่านและประสบความสาเร็จในการเขียนมากจะมจี ินตนาการในการใช้ภาษาได้เพราะ ไดม้ โี อกาส เรียนรู้แนวทางการใช้คาตา่ งๆ จากสานวนภาษาในหนังสอื ต่างๆ ทอี่ ่านพบ โดยปกติครูมักสอนใหเ้ ดก็ อ่านได้ ก่อนจึงให้เขยี นคาท่ีตนอา่ นได้ แต่ทกั ษะในการเขียนเป็นทักษะท่ีสลับ ซับซ้อนกว่าทกั ษะอ่ืน เดก็ จึง จาเปน็ ต้องมีความพร้อมโดยฝึกทักษะการฟังการพดู และการอา่ นได้ก่อนแล้วจึงเริ่มทักษะการเขยี น ใน ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี1-2 มุ่งเนน้ ทักษะพืน้ ฐานในการเขียนและยั่วยุให้เขยี นด้วยความสนุกสนาน ไม่เบ่ือ โดยจัดกจิ กรรมต่างๆ ให้ฝึกจากง่ายไปหายากและให้สัมพันธ์กบั การพดูและอา่ น

3.3 จุดม่งุ หมายของการเขยี น วรรณี โสมประยูร (วมิ ลรัตน์ สุนทรโรจน์. 2549 : 103 ) ได้อธบิ ายจุดม่งุ หมายการสอนภาษาไทย ดังน้ี 1.เพื่อคดั ลายมอื หรือเขียนให้ถกู ต้องตามลักษณะตัวอักษรใหเ้ ป็นระเบยี บชัดเจนหรอื เข้าใจงา่ ย 2. เพือ่ เปน็ การฝกึ ทักษะการเขียนให้พฒั นางอกงามขน้ึ ตามควรแกว่ ัย 3. เพื่อให้การเขียนสะกดคาถูกต้องตามอกั ขรวิธี เขยี นวรรคตอนถูกต้อง 4. เพอ่ื ให้รู้จกั ภาษาเขียนที่ดีมีคณุ ภาพเหมาะสมกับบคุ คลและโอกาส 5. เพื่อให้สามารถรวบรวมและลาดบั ความคดิ แล้วจดบันทึก สรุปและย่อใจความเร่อื งทอี่ ่านหรือฟงั ได้ 6. เพอื่ ใหส้ ามารถสงั เกตจดจาและเลอื กเฟ้นถอ้ ยคาหรอื สานวนโวหารใหถ้ ูกต้อง 7. เพือ่ ให้รู้ทักษะการเขยี นประเภทตา่ งๆ 8. เพอ่ื เปน็ การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 9.เพอื่ ให้เหน็ ความสาคัญ และคณุ คา่ ของการเขยี นว่า มีประโยชนต์ อ่ การประกอบอาชพี การศกึ ษา หาความรแู้ ละอื่นๆ 4. แบบฝึกทกั ษะ 4.1 ความหมายและความสาคญั ของแบบฝึกทกั ษะ วรรณภา ไชยวรรณ (2549 : 40) ไดส้ รปุ ความหมายและความสาคญั ของแบบฝึกได้ว่าแบบฝึกคือ แบบฝึกหดั หรือชดุ ฝกึ ท่ีครจู ัดให้นกั เรยี น เพ่ือให้ ทักษะเพิ่มขึ้นหลังจากท่ีไดเ้ รยี นรู้เรอื่ งนนั้ ๆ มาบ้างแล้วโดยแบบฝกึ ต้องมที ิศทางตรงตามจุดประสงค์ประกอบ กจิ กรรมทนี่ ่าสนใจและสนุกสนาน ผวู้ จิ ยั ไดศ้ ึกษาความหมายและความสาคัญ ของแบบฝึกทกั ษะแล้วพอสรุปได้ แบบฝกึ ทักษะ หมายถึง ชดุ ฝกึ ทักษะท่ีครูสร้างข้ึนให้นักเรยี นได้ทบทวนเน้ือหาทเ่ี รียนร้มู าแล้วเพื่อสร้างความเข้าใจ และช่วย เพม่ิ ทักษะความชานาญและฝึกกระบวนการคดิ ให้มากขึ้น ทาให้ครทู ราบความเขา้ ใจของนักเรยี นทม่ี ตี ่อ บทเรียน ฝกึ ให้เด็กมคี วามเช่ือม่ัน และสามารถประเมนิ ผลของตนเองได้ท้ังยังมี ประโยชน์ชว่ ยลดภาระ การ สอนของครแู ละยังช่วยพัฒนาตามความแตกตา่ ง 4.2 ลกั ษณะของแบบฝึกท่ีดี แบบฝึกเปน็ เครื่องมือทีส่ าคัญ ทีจ่ ะช่วยเสริมสรา้ งทักษะให้การเรยี น การสร้างแบบฝึกให้มี ประสิทธภิ าพจึงจาเป็นจะต้องศกึ ษาองค์ประกอบและลักษณะของแบบฝึกเพื่อใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ระดบั ความสามารถของนกั เรยี น วรรณภา ไชยวรรณ (2549 : 43) ไดอ้ ธบิ ายถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดี คือ ควรมีความหลากหลาย รปู แบบ เพอ่ื ไม่ให้เกดิ ความเบ่ือหนา่ ยและต้องมีลักษณะท่เี ร้าย่ัวยจุ ูงใจไดใ้ ห้ คิดพิจารณาได้ศึกษาคน้ คว้าจน เกิดความรู้ความเข้าใจทักษะแบบฝึกควรมภี าพดงึ ดูดความสนใจเหมาะสมกับวัยของผ้เู รียนตรงกบั จดุ ประสงค์

การเรียนรมู้ เี นื้อหาพอเหมาะ สรุปลกั ษณะของแบบฝึกท่ีดีเป็นแบบฝกึ ท่ดี ีและมีประสิทธิภาพ ช่วยทาให้ นักเรยี นประสบความสาเร็จในการฝกึ ทักษะได้เป็นอย่างดี และแบบฝกึ ท่ดี เี ปรยี บเสมือนผู้ชว่ ยทส่ี าคญั ของครู ทาใหค้ รูลดภาระการสอนลงไดท้ าให้ผู้เรยี นพัฒนาความสามารถของตนเพ่ือความมั่นใจในการเรยี นไดเ้ ป็น อย่างดี ดังน้ันครูยังจาเป็นต้องศึกษาเทคนิควิธีการข้ันตอน ในการฝกึ ทักษะต่างๆ มีประสิทธภิ าพทสี่ ุด อัน ส่งผลให้ ผเู้ รยี นมีการพัฒนาทักษะต่างๆ ได้อยา่ งเตม็ ท่ีและแบบฝึกท่ีดีนั้นจะต้องคานงึ ถงึ องคป์ ระกอบหลายๆ ดา้ นตรงตามเน้ือหา เหมาะสมกับวัย เวลาความสามารถความสนใจและสภาพปัญหาของผ้เู รียน 4.3 ประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ สวุ ิทย์ มูลคา และสุนนั ทา สุนทรประเสริฐ (2550 : 53 - 54) ได้สรปุ ประโยชนข์ องแบบฝึกทักษะได้ ดังนี้ 1. ทาให้เข้าใจบทเรยี นดีข้ึน เพราะเป็นเครอื่ งอานวยประโยชนใ์ นการเรยี นรู้ 2. ทาให้ครทู ราบความเข้าใจของนักเรยี นท่มี ีตอ่ บทเรยี น 3. ฝกึ ใหเ้ ด็กมีความเชื่อมั่นและสามารถประเมินผลของตนเองได้ 4. ฝกึ ให้เดก็ ทางานตามลาพัง โดยมีความรับผิดชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมาย 5. ช่วยลดภาระครู 6. ชว่ ยใหเ้ ดก็ ฝึกฝนได้อย่างเต็มท่ี 7. ช่วยพัฒนาตามความแตกต่างระหว่างบคุ คล 8. ช่วยเสรมิ ให้ทกั ษะคงทน ซึ่งลักษณะการฝึกเพ่ือช่วยให้เกิดผลดังกล่ากลา่ วน้ันได้แก่ 8.1 ฝึกทันทหี ลงั จากทีเ่ ด็กไดเ้ รียนรูใ้ นเรือ่ งน้ันๆ 8.2 ฝึกซ้าหลายๆ คร้งั 8.3 เน้นเฉพาะในเร่ืองทผี่ ดิ 9. เปน็ เครื่องมือวัดผลการเรยี นหลังจากจบบทเรยี นในแตล่ ะครง้ั 10. ใชเ้ ป็นแนวทางเพื่อทบทวนด้วยตนเอง 11. ชว่ ยให้ครูมองเห็นจุดเด่นหรือปญั หาต่างๆของเด็กได้ชัดเจน 12. ประหยัดค่าใช้จา่ ยแรงงานและเวลาของครู สรุปไดว้ ่าแบบฝึกมีความสาคญั และจาเป็นต่อการ เรยี นทกั ษะทางภาษามากเพราะจะช่วยให้ผูเ้ รยี นเขา้ ใจบทเรียนได้ดีขนึ้ สามารถจดจาเนื้อหาในบทเรียนและ คาศัพทต์ ่างๆ ไดค้ งทนทาให้เกิดความสนุกสนาน ในขณะเรียนทราบความก้าวหน้าของตนเองและครู มองเหน็ จดุ เด่นหรือปัญหาต่างๆ ของเดก็ ได้ ชัดเจน สามารถนา แบบฝกึ ทักษะมาทบทวนเนอ้ื หาเดิมดว้ ย ตนเอง ตลอดจนสามารถทราบข้อบกพร่องของ นักเรยี นและนาไปปรับปรุงได้ทันทว่ งที ซ่ึงจะมผี ลทาให้ครู ประหยัดเวลาประหยัดค่าใช้จา่ ย

4.4 หลักการสร้างแบบฝึก สวุ ทิ ย์ มูลคา และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550 : 54 - 55) ไดส้ รปุ หลกั ในการสร้าง แบบฝึกว่า ต้องมีการกาหนดเง่ือนไขทจี่ ะชว่ ยให้ผเู้ รยี นทุกคนสามารถผ่านลาดบั ขนั้ ตอนของทกุ หนว่ ยการเรยี นได้ถ้า นกั เรยี นไดเ้ รียนตามอัตราการเรียนของตนก็จะทาให้นักเรยี นประสบความสาเรจ็ มากขึ้น 5.5 ส่วนประกอบของแบบฝึก สวุ ิทย์ มูลคา และสุนนั ทา สุนทรประเสรฐิ (2550 : 61 - 62) ไดก้ าหนดส่วนประกอบของแบบฝึก ทักษะได้ดังนี้ 1. คมู่ ือการใช้แบบฝึกเป็นเอกสารสาคญั ประกอบการใช้แบบฝกึ ว่าใช้ เพ่ืออะไรและมีวิธใี ชอ้ ย่าง ไรเชน่ ใชเ้ ปน็ งานฝกึ ท้ายบทเรยี นใช้เปน็ การบ้าน หรือใช้สอนซอ่ มเสรมิ ประกอบด้วย - สว่ นประกอบของแบบฝึกจะระบุวา่ ในแบบฝกึ ชุดน้ีมแี บบฝึกทั้งหมดกี่ชดุ อะไรบ้างและมี ส่วนประกอบอ่นื ๆ หรือไม่ เช่น แบบทดสอบ หรือแบบบันทกึ ผล การประเมิน - สง่ิ ท่ีครหู รือนักเรียนต้องเตรียม (ถา้ มี) จะเปน็ การบอกให้ครูหรอื นักเรียนเตรยี มตัวให้พรอ้ ม ลว่ งหนา้ กอ่ นเรยี น - จุดประสงค์ในการใช้แบบฝึก ขน้ั ตอนในการใช้บอกข้อตามลาดบั การใช้และอาจเขียนในรูปแบบของแนวการสอนหรอื แผนการ สอนจะชัดเจนย่ิงขึ้น - เฉลยแบบฝึกในแตล่ ะชุด 2. แบบฝึก เป็นสอ่ื ทส่ี รา้ งขึน้ เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นฝึกทักษะเพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ท่ีถาวรควรมีองค์ประกอบ ดังน้ี - ชอ่ื ชดุ ฝึกในแตล่ ะชดุ ยอ่ ย - จดุ ประสงค์ - คาส่ัง - ตวั อยา่ ง - ชุดฝึก - ภาพประกอบ - ข้อทดสอบกอ่ นและหลังเรียน - แบบประเมินบันทึกผลการใช้ 4.6 รูปแบบการสรา้ งแบบฝึก สุวทิ ย์ มูลคา และสนุ ันทา สุนทรประเสรฐิ (2550 : 62 - 64) ได้เสนอแนะรปู แบบการสร้างแบบฝึก โดยอธิบายว่า การสร้างแบบฝึกรปู แบบกเ็ ป็นส่ิงสาคญั ในการทจี่ ะจูงใจให้ผเู้ รียนได้ทดลอง ปฏิบตั แิ บบฝึกจงึ ควรมรี ปู แบบที่หลากหลาย มิใช่ใช้แบบเดยี วจะเกิดความจาเจน่าเบอ่ื หน่ายไม่ทา้ ทายให้ อยากรอู้ ยากลองจึง ขอเสนอรปู แบบท่ีเปน็ หลักใหญไ่ ว้ก่อน สว่ นผู้สร้างจะนาไปประยุกตใ์ ช้ ปรับเปล่ยี นรปู แบบอืน่ ๆ กแ็ ล้วแต่ เทคนิคของแตล่ ะคน ซ่ึงจะเรียงลาดับจากง่ายไปหายาก ดังน้ี

1.แบบถกู ผดิ เป็นแบบฝึกทีเ่ ป็นประโยคบอกเลา่ ใหผ้ เู้ รยี นอ่านแล้วใสเ่ ครอื่ งหมายถกู หรือผดิ ตาม ดุลยพนิ จิ ของผู้เรยี น 2. แบบจับคู่ เปน็ แบบฝึกที่ประกอบด้วยตัวคา ถามหรอื ตวั ปญั หา ซึ่งเป็นตัวไว้ในสดมภ์ซ้ายมอื โดย มีทีว่ ่างไว้หนา้ ข้อเพ่ือให้ผเู้ รียนเลอื กหาคาตอบท่กี าหนดไว้ในสดมภ์ขวามอื มาจับคูก่ ับคาถามให้สอดคล้องกนั โดยใช้หมายเลขหรือรหัสคาตอบไปวางไว้ ทห่ี นา้ ข้อความหรอื จะใช้การโยงเส้นกไ็ ด้ 3. แบบเติมคาหรือเตมิ ข้อความ เปน็ แบบฝึกท่ีมขี ้อความไว้ให้แตจ่ ะเว้นชอ่ งว่างไว้ ใหผ้ ูเ้ รยี นเติมคา หรอื ขอ้ ความท่ีขาดหายไป ซ่ึงคาหรอื ข้อความทีน่ ามาเติมอาจให้เตมิ อย่างอสิ ระหรือกาหนด ตวั เลอื กให้เติมก็ ได้ 4. แบบหมายตัวเลอื ก เปน็ แบบฝึกเชิงแบบทดสอบ โดยจะมี 2 สว่ น คอื ส่วนทีเ่ ป็นคาถาม ซึ่ง จะตอ้ งเป็นประโยคคาถามทส่ี มบูรณ์ชัดเจนไม่คลุมเครือ สว่ นท่ี 2 เป็นตัวเลือก คือคาตอบซ่งึ อาจจะมี 3-5 ตัวเลือกก็ได้ตัวเลอื กทั้งหมดจะมีตัวเลอื กทถ่ี ูกทส่ี ดุ เพียงตัวเลอื กเดียวส่วนท่เี หลือเป็นตัวลวง 5. แบบอตั นัย คือความเรยี งเป็นแบบฝกึ ท่ีตวั คาถาม ผู้เรยี นต้องเขียนบรรยายตอบอย่างเสรีตาม ความรู้ความสามารถโดยไมจ่ ากัดคาตอบ แต่กาจดั คาตอบ แต่จากัดในเรื่องเวลาอาจใช้คาถาม ในรปู ท่ัวๆ ไป หรอื เปน็ คาสั่งให้เขียนเรือ่ งราวตา่ งๆ กไ็ ด้ สวุ ิทย์ มลู คา และสนุ ันทา สนุ ทรประเสรฐิ (2550 : 65) ไดเ้ สนอแนะการสรา้ งแบบฝึกวา่ ขั้นตอน การสร้างแบบฝกึ จะคลายคลึงกับการสร้างนวัตกรรมทางการศกึ ษาประเภทอ่นื ๆ ซึ่งมีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. วิเคราะห์ปญั หาและสาเหตจุ ากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เชน่ -ปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นในขณะทาการสอน - ปัญหาการผ่านจดุ ประสงค์ของนักเรยี น - ผลจากการสังเกตพฤติกรรมที่ไม่พงึ ประสงค์ผลสัมฤทธ์ทางการเรียน 2. ศกึ ษารายละเอียดในหลักสูตรเพ่ือวเิ คราะหเ์ นื้อหาจดุ ประสงคแ์ ละกจิ กรรม 3. พิจารณาแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนจากข้อ 1 โดยการสรา้ งแบบฝึกและเลือกเน้ือหาในสว่ น ทจ่ี ะสร้างแบบฝึกน้ันว่าจะทาเรอ่ื งใดบา้ งกาหนดเป็นโครงเร่ืองไว้ 4. ศกึ ษารปู แบบของการสร้างแบบฝึกจากเอกสารตัวอย่าง 5. ออกแบบชดุ ฝกึ แต่ละชดุ ใหม่รูปแบบทห่ี ลากหลายนา่ สนใจ 6. ลงมือสรา้ งแบบฝึกในแตล่ ะชดุ พร้อมท้ังขอ้ ทดสอบกอ่ นและหลังเรยี นให้สอดคล้องกบั เนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ 7. สง่ ใหผ้ ู้เชยี่ วชาญตรวจสอบ 8. นาไปทดลองใชแ้ ล้วบันทกึ ผลเพอื่ นามาปรับปรงุ แก้ไขส่วนที่บกพร่อง 9. ปรบั ปรุงจนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ทต่ี ้ังไว้ 10. นาไปใช้จรงิ และเผยแพร่ต่อไป ถวัลย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 21) ได้อธิบายข้ันตอนการสร้างแบบฝึกทักษะ ดังน้ี

1. ศึกษาเนื้อหาสาระสาหรับการจัดทาแบบฝกึ หัด แบบฝกึ ทกัษะ 2. วิเคราะห์เนื้อหาสาระโดยละเอยี ดเพ่ือกาหนดจดุ ประสงค์ในการจัดทา 3. ออกแบบการจัดทาแบบฝึกหัด แบบฝึกทักษะตามจดุ ประสงค์ 4. สร้างแบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะและส่วนประกอบอ่ืนๆ เช่น 4.1 แบบทดสอบกอ่ นฝึก 4.2 บตั รคาสั่ง 4.3 ขนั้ ตอนกิจกรรมที่ผเู้ รียนตอ้ งปฏบิ ัติ 4.4 แบบทดสอบหลงั ฝึก 5. นาแบบฝกึ หดั แบบฝกึ ทักษะไปใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6. ปรับปรุงพฒั นาให้สมบูรณ์ 5. งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง 5.1 งานวจิ ัยในประเทศ สมใจ นาคศรสี ังข์ (2549 : บทคดั ย่อ) ได้ศึกษาค้นควา้ เรือ่ งการสรา้ ง แบบฝกึ การอา่ นและ เขียนสะกดคาจากแหล่งเรียนรใู้ นท้องถ่นิ ชั้นประถมศึกษาที่ปี 4 โรงเรียนตลาดเกาะ แรตสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษานครปฐมเขต 2 ในปี การศกึ ษา 2549 จานวน 21 คน พบว่าผลสมั ฤทธ์ ทางการเรียนสูงขน้ึ กว่าเป้าหมายท่กี าหนดไว้แบบฝกึ ทักษะมีประสิทธภิ าพ 83.98/84.46 และผลการ ประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ีตอ่ แบบฝกึ ทักษะโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทส่ี ดุ สรุปผลการศกึ ษางานวิจยั ในประเทศแสดงใหเ้ ห็นความสาคัญ ของการจัดกจิ กรรมการพัฒนาการ อา่ นและการเขยี นสะกดคาเพราะแบบฝกึ ทักษะเปน็ สิ่งสาคัญในการพัฒนาการเรียนรู้ทาให้การจดั กิจกรรม การเรยี นการสอนประสบความสาเร็จตามจดุ มุ่งหมายของหลักสตู รอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 5.2 งานวิจยั ต่างประเทศ เบาชารด์ (Bouchard. 2002 : Web Site) ไดศ้ ึกษาความรูเ้ รอื่ งคา ของ นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 จากความผิดพลาดในการอ่านกับการสะกดคา แมว้ ่าเขามคี วามพยายาม อย่างมากระหว่างการอ่านและการ สะกดคาแต่การปฏบิ ัตงิ านการอา่ นและการสะกดคา ของนักเรียนก็ มักจะยังแสดงให้เหน็ ความแตกต่างอย่าง มีนยั สาคัญในความถูกต้องและความผิดพลาดของคา การวิจยั คร้งั นี้ไดก้ ารสะกดคา ตามความรู้เร่ืองคา เชงิ พฒั นาใน 4 ดา้ นผลการวเิ คราะห์พบว่า การปฏิบัติงานการอา่ น ของนักเรียนดกี ว่า การปฏิบัตกิ ารสะกดคาอย่างมีนยั สาคัญ และพบว่ามผี ลของรายงานอย่างมนี ยั สาคัญ ต่อ ระดบั ความรเู้ ร่ืองของคาของนักเรยี นความผิดพลาดดา้ นการอา่ นและการเขียนสะกดคา ของนักเรยี นตอ่ ไป พบว่า ความผิดพลาดเกี่ยวข้องกับลักษณะทางอักขรวธที ่เี หมือนกันในทกุ งานในทส่ี ดุ จากการศกึ ษาการให้ คะแนนผลสมั ฤทธท์ างการสะกดคา และความรูเ้ รื่องคา ของทกั ษะชั้นประถมศึกษาปที ี่3 ของครูพบว่า การ ให้คะแนนมคี วามสัมพันธอ์ ย่างมนี ยั สาคัญ กับการปฏิบัติจริงของนักเรยี นในผลสมั ฤทธ์ทางการสะกดคา และความร้เู รื่องคา แตก่ ย็ ังไม่เพยี งพอสาหรับการตัดสนิ ใจในการสอน

จากการคน้ คว้างานวิจยั ที่เก่ยี วข้องท่ีกล่าวมาข้างตน้ ทาให้ทราบวา่ ความสามารถในการอา่ นและ การเขยี นของนักเรยี น เกิดจากวิธีสอนของครูและสื่อการเรียนการสอนทชี่ ว่ ยให้นักเรยี นเกิดการเรยี นรู้ได้ ยิ่งขน้ึ ผู้รายงานได้ศึกษาค้นคว้าเพ่ือพัฒนาแบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี นสะกดคาให้นกั เรียนได้ฝึก ทักษะการอ่านและการเขียนให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน

บทที่ 3 วธิ ดี าเนินการ การวิจยั ในครง้ั นผ้ี ู้รายงานได้ดาเนนิ การรายงานการพัฒนาทักษะการอา่ นอาขยานและเขียนคา มาตราตวั สะกดโดยใชแ้ บบฝกึ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1/8 ปี การศกึ ษา 2564 ซงึ่ สรปุ ได้ดงั นี้ 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง 2. เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการศึกษา 3. แบบแผนการทดลอง และข้ันตอนการทดลอง 4. การสร้างและการหาคณุ ภาพเคร่ืองมือทใี่ ช้ในการศึกษา 5. การวเิ คราะหข์ ้อมลู 6. สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 1.กล่มุ ตวั อย่างท่ีใช้ในการวิจัยครงั้ นีไ้ ดแ้ ก่ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1/8 ภาคเรยี นที่ 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนโคกสาโรงวิทยา จานวน 33 คนซงึ่ ได้มาโดยการเลือกส่มุ แบบเจาะ (Purposive Sampling) 2. เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวจิ ยั 2.1 แบบฝึกทักษะการอา่ นอาขยานและการเขยี นคามาตราตวั สะกดโดยใช้แบบฝึกกล่มุ สาระการ เรยี นรู้ภาษาไทยของนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 1/8 ที่ผู้วจิ ัยสรา้ งข้ึนเพื่อใช้ฝึกปฏบิ ัตดิ ้านการอ่านและการ เขยี น จานวน 3 แบบฝึก 2.2แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ างด้านทักษะการอ่านอาขยานและการเขียนคามาตราตัวสะกดโดย ใชแ้ บบฝึกกล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปี ท่ี 1/8 เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย ชนดิ เลือกตอบ 3 ตวั เลือกจานวน 10 ข้อ 3. ข้นั ตอนการดาเนินการ การดาเนนิ การวิจยั ในครั้งน้ไี ด้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ รื่องการพัฒนาทักษะการอ่าน อาขยานและการเขยี นคามาตราตัวสะกดโดยใช้แบบฝึกทักษะของช้นั มัธยมศึกษาปี ท่ี 1/8 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2564 โดยมีลาดับขน้ั ตอนการดาเนนิ การ ดังนี้

1. ทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test ) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทางการเรยี น เรือ่ ง การอา่ น อาขยานและการเขียนคามาตราตวั สะกดโดยใชแ้ บบฝกึ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จานวน 10 ข้อ 2. ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ ระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรยี น การสอนได้บันทึกคะแนนการทากจิ กรรมกล่มุ และการทาแบบฝกึ ทักษะ 3.เมอ่ื ดาเนินการสอนครบทกุ แผนแล้วทาการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทางการเรียนหลังเรยี น(Post- test) 4. การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือ ผู้วิจัย ไดด้ าเนินการสร้างเคร่ืองมือในการศึกษาตามลาดับดังนี้ 1.การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านอาขยานและการเขียนคามาตราตัวสะกดโดยใช้แบบฝกึ ทักษะของชน้ั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1/8 ผวู้ ิจัยไดด้ าเนินการสร้างเคร่อื งมอื ในการวิจัย ดังน้ี 1.1 ศึกษาหลักสตู รคน้ คว้าข้อมลู คู่มือการจัดการเรยี นรู้ 1.2 ศกึ ษาการสร้างแบบฝึกทักษะการอา่ นอาขยานและการเขยี นคามาตราตัวสะกดโดยใช้แบบฝกึ ทักษะของช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1/8 1.3 ดาเนินการสรา้ งแบบฝึกทักษะการอา่ นอาขยานและการเขียนคามาตราตวั สะกดโดยใช้แบบฝึก ทักษะของชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1/8 จานวน 3 ชุด 2. การสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทางการเรียน เรือ่ ง การอ่านอาขยานและการเขยี นคามาตรา ตวั สะกดโดยใช้แบบฝกึ ทักษะของชน้ั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1/8 โดยใช้แบบฝึกทักษะผู้รายงานได้ดาเนนิ การสรา้ ง ตามลาดบั ดงั น้ี 2.1 ศึกษาแนวคดิ ทฤษฎหี ลักเกณฑ์และวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทางการเรียนแบบ องิ เกณฑ์ของบุญชม ศรสี ะอาด (2545 : 89-90) 2.2 ศกึ ษาหลักสูตรคมู่ ือการวัดผลและประเมนิ ผลตามหลักสตู รมัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นโคกสาโรงวทิ ยาพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2551) 2.3 กาหนดเน้ือหาและกาหนดจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ให้สอดคล้องกบั เนื้อหาสาระ 2.4 สรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ างการเรียนแบบปรนัย ชนดิ เลอื กตอบ 3 ตัวเลอื กจานวน 10 ข้อ 5. สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู 1 การวิเคราะห์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ างการเรียน สถติ ทิ ใ่ี ชไ้ ด้แก่ 1. ร้อยละ (Percentage ) ใช้สตู ร P ของบุญชม ศรสี ะอาด ( 2545 : 104 )

2. คา่ เฉล่ีย(Arithmetic Mean) ของคะแนน โดยใช้สตู รของ บุญชม ศรีสะอาด( 2545 : 105 ) 3. สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) โดยใช้สูตร S.D. ของ บุญชม ศรสี ะอาด( 2545 : 106 )

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การพฒั นาทักษะการอ่านอาขยานและเขียนคามาตราตวั สะกดโดยใชแ้ บบฝกึ กลุ่มสาระการ เรียนรูภ้ าษาไทยของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปี ที่ 1/8 ผวู้ ิจัยไดเ้ สนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลตามลาดบั ขน้ั ดังน้ี 1. สญั ลักษณท์ ่ีใชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู 2. ลาดบั ขน้ั ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู 3. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 1. สญั ลักษณท์ ี่ใชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ผู้รายงานไดก้ าหนดสญั ลักษณ์ท่ีใช้ในการแปลความหมายผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ดังน้ี 2.ลาดับขน้ั ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ในการวิเคราะหข์ ้อมูลผู้รายงานไดด้ าเนนิ การตามลาดบั ขนั้ ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 วิเคราะห์หาประสิทธภิ าพของแบบฝกึ ทักษะการอ่านอาขยานและเขยี นคามาตรา ตัวสะกดโดยใชแ้ บบฝกึ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1/8 ตามเกณฑ์ มาตรฐาน 75/75 ตอนท่ี 2 การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ างการเรียนดา้ นการอ่านอาขยานและเขียนคามาตรา ตัวสะกด ก่อนเรยี นและหลังเรียน โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ตอนที่ 1 การหาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทักษะการอา่ นอาขยานและเขียนคามาตราตัวสะกดโดย ใชแ้ บบฝึกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปี ท่ี 1/8 ตามเกณฑ์ 75/75 ปรากฏผล ดงั ตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 คะแนนเฉลยี่ และร้อยละ เพื่อหาประสทิ ธิภาพของแบบฝกึ ทักษะการอ่านอาขยานและ เขยี นคามาตราตวั สะกดโดยใช้แบบฝกึ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 1/8

จากตารางท่ี 2 แบบฝึกทักษะการอ่านอาขยานและเขยี นคามาตราตวั สะกดโดยใช้แบบฝกึ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1/8 จานวน 3 แบบฝึก มีคะแนนเฉล่ยี 22.59 คิด เป็นร้อยละ 75.30 ดงั น้ัน แบบฝึกทักษะทส่ี รา้ งขน้ึ มีประสทิ ธภิ าพเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 ที่ตงั้ ไว้ ตอนที่ 2 วเิ คราะหห์ าความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน ผล การวิเคราะหข์ ้อมูลปรากฎดังในตารางที่ 3 ดงั น้ี ตารางท่ี 3 ตารางแสดงคะแนนเฉล่ียและคา่ ร้อยละของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น คะแนน จานวนนกั เรียน คะแนนเต็ม คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ย รอ้ ยละ กอ่ นเรยี น 33 10 200 6.06 60.60 หลงั เรียน 10 250 7.57 75.75 จากตารางที่ 3 พบวา่ คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการอ่านอาขยานและเขยี นคามาตราตัวสะกด โดยใชแ้ บบฝกึ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 ภาษาไทยจากการทดสอบ ก่อนเรียน เทา่ กับ 6.06 คิดเป็นร้อยละ 60.60 ทดสอบหลังเรยี นเทา่ กับ 7.57 คดิ เปน็ ร้อยละ 75.75 แสดง ให้เหน็ วา่ นักเรียนมคี วามก้าวหนา้ ในการอ่านอาขยานการเขยี นคาในภาษาไทยสงู ข้ึน

บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ งานวจิ ัยในคร้ังนผ้ี วู้ จิ ยั ได้พัฒนาทกั ษะการอา่ นอาขยานและเขยี นคามาตราตวั สะกดโดยใชแ้ บบฝึก กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทยของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1/8 ซ่ึงสรุปไดด้ งั นี้ 1. วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3. สรุปผลการวจิ ัย 4. อภปิ รายผล 5. ข้อเสนอแนะ 1. วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 1.1 เพอื่ พัฒนาผลสัมฤทธ์ทางการเรยี นและความสามารถในการอ่านอาขยานและเขียนคามาตรา ตัวสะกดโดยใชแ้ บบฝกึ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1/8 1.2 เพ่อื พัฒนาแบบฝึกทกั ษะสาระภาษาไทย ให้มีประสทิ ธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน 75/75 2. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 2.1 กล่มุ ตวั อย่างทใี่ ชใ้ นการวิจัย ไดแ้ กน่ ักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1/8 โรงเรยี นโคกสาโรงวทิ ยา ภาคเรยี นท่ี 2 ปี การศึกษา 2564 จานวน 1 ห้องเรียน จานวน 33 คนซงึ่ ได้มาโดยการเลอื กสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3. สรปุ ผลการวจิ ยั การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทางการเรยี นและความสามารถในการอา่ นอาขยานและเขยี นคามาตรา ตวั สะกดโดยใชแ้ บบฝึกกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทยของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/8 มีประสิทธิภาพ 75.75/ 75 ซง่ึ ได้ตามเกณฑ์75/75 ทตี่ ง้ั ไว้ 4. อภิปรายผล จากการวจิ ัยผลการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทางการเรยี นและความสามารถในการอ่านอาขยานและเขียน คามาตราตวั สะกดโดยใชแ้ บบฝกึ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/8 นามา อภปิ รายผล ดังน้ี

4.1 แบบฝกึ ทักษะการอ่านอาขยานและเขียนคามาตราตัวสะกดโดยใช้แบบฝึกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทยของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/8 ทผี่ ู้วิจยั สรา้ งขน้ึ จานวน 3 แบบฝึก มีประสิทธภิ าพ 75.75/ 75 หมายถงึ นกั เรยี นไดค้ ะแนนเฉล่ียจากการทาแบบฝึกทกั ษะการอา่ นอาขยานและการเขียนคามาตรา ตัวสะกดทงั้ 3 แบบฝึก คิดเป็นรอ้ ยละ 60.60 และไดค้ ะแนนเฉลีย่ จากการทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ ทางการเรยี นด้านการอา่ นและการเขยี น คดิ เป็นร้อยละ 75.75 แสดงวา่ การจดั กจิ กรรมพัฒนาทักษะการ อ่านอาขยานและเขยี นคามาตราตัวสะกดโดยใชแ้ บบฝกึ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนกั เรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/8 โดยใช้แบบฝึกทกั ษะ ทผ่ี ้วู ิจัยสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑม์ าตรฐาน 75/75 ท่ตี งั้ ไว้อาจเนือ่ งมาจากการจดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะทน่ี าไปใช้จริงกบั กล่มุ ตวั อย่าง ซ่งึ แบบฝึกทักษะช่วยให้นกั เรียนเข้าในเนื้อหาได้ดีขนึ้ จดจาความรไู้ ด้คงทน รวมทงั้ พฒั นาความรทู้ กั ษะและ เจตคตดิ า้ นต่างๆ ของนกั เรียนใหด้ ดู ยี ิง่ ข้ึน ซ่งึ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ พนมวัน วรดุล (2542 : บทคดั ย่อ ) ไดศ้ ึกษาการสร้างแบบบันทกึ ทกั ษะการเขยี นคามาตราตัวสะกด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 พบว่า แบบฝกึ ทกั ษะการเขยี นสะกดคามาตราตวั สะกด มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 87.74/82.11 และ ผลสมั ฤทธท์ างการเรยี นสูงข้ึนมีนัยสาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 4.2 คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียนคดิ เป็นร้อยละ82.5 คะแนนทดสอบก่อนเรยี นคิดเปน็ ร้อยละ 75.00 แสดงใหเ้ ห็นวา่ การจดั การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอา่ นและการเขยี นสะกดคามาตราตัวสะกด ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ทาให้ผลสัมฤทธ์ทางการเรยี น ดา้ นการอา่ นและการเขยี นคามาตราตัวสะกดมีการ พัฒนารอ้ ยละ7.5 อาจเนอื่ งมาจากนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ทางการเรียนหลังเรยี นสงู ขึ้นได้เรียนรทู้ ีละน้อยตาม ขนั้ ตอนที่ครเู ตรยี มการสอนมาแล้ว ทาให้นกั เรียนมีกาลังใจที่จะเรียนรเู้ นื้อหาใหม่ต่อไป และการใชแ้ บบฝึก ทักษะการอา่ นและการเขยี นสะกดคามาตราตวั สะกด ได้ยดึ หลกั การสอนตามความต้องการของผเู้ รยี นมีสว่ น รว่ มในกจิ กรรมการเรียนต้ังแต่เร่ิมฟังอา่ น พูด และเขียน นักเรยี นเรยี นรู้ด้วยความเขา้ ใจ ทางานร่วมกับ เพ่อื นเป็นกลุ่มเพอ่ื ใช้ให้นักเรียนเข้าใจการเรียนรู้แบบประสบการณ์เน้ือหาเหมาะสมกับความสามารถในการ รับรขู้ องนักเรียนระดบั มัธยมศึกษา ทาให้นักเรยี นเกดิ ความเพลิดเพลนิ สนกุ สนาน มีความกระตือรอื ร้น 5. ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ 1.การเลอื กเน้ือหาทนี่ ามาจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เปน็ สิง่ สาคัญควรคานึงถึงความเหมาะสม ของเพศ วยั และระดบั ความสามารถในการเรียนของนักเรยี นด้วย หากเนื้อหาใดท่ีนักเรียนสนใจ นักเรียนจะเกดิ ความกระตอื รือร้นการเรยี นรูเ้ พม่ิ มากขึ้น 2.ในระหว่างการดา เนินการจัดกจิ กรรมครูควรสงั เกตพฤติกรรมนักเรียนทมี่ ีการเรียนรู้ชา้ หรือ ต้องการความช่วยเหลอื ควรใช้ การเสริมแรงกระตุ้นใหน้ กั เรียนสนใจ หรืออธิบายใหเ้ ข้าใจชดั เจนอีกคร้ัง

ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครั้งตอ่ ไป 1.ควรมีการนาแบบฝึกทักษะทสี่ รา้ งขึ้นไปทดลองใช้กับ นักเรยี นโรงเรยี นอ่นื เพื่อจะไดข้ ้อสรปุ ผลการวิจยั ที่กว้างมากข้ึน 2. ควรมกี ารสร้างแบบฝึกทักษะในกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทยในเนื้อหาที่นักเรยี นสนใจและ อยากเรียนรู้และสรา้ งในรปู แบบต่างๆ เพ่ือให้นักเรยี นหันมาสนใจและอยากเรียนรู้

บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. คู่มอื การจัดการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : องค์การรบั ส่งสนิ ค้าและ พัสดภุ ณั ฑ.์ 2544. ----------. คู่มือแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตามหลักสตู ร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว, 2546. กรรณิการ์ พวงเกษม. ปัญหาและกลวิธกี ารสอนภาษาไทยในโรงเรียนประถม. พิมพ์ครง้ั ท1่ี . กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, 2533. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. กรมวชิ าการ. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551. ฉวลี ักษณ์ บุญกาญจน. จติ วิทยาการอ่าน. กรุงเทพฯ : บริษัท 21 เซน็ จรู ี่จา กดั, 2547 ถวลั ย์ มาศจรสั และคณะ. แบบฝึกหดั แบบฝกึ ทักษะเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ผู้เรียนและการจดั ทา ผลงานวิชาการของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา. พมิ พ์ครง้ั ที่2. กรุงเทพฯ ธารอกั ษร, 2550 บุญชม ศรสี ะอาด. การวิจัยเบ้ืองต้น. พิมพ์ครง้ั ที่7. กรงุ เทพฯ : สุวรี ยิ าสาสน์ , 2545. พนมวนั วรดุลย.์ การสรา้ งแบบฝกึ ทักษะการเขียนสะกดคาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2. ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ม. สงขลา : มหาวิทยาลยั ทักษิณ, 2542. เรวดี อาษานาม. พฤตกิ รรมการสอนภาษาไทยระดับประถมศกึ ษา. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน. มหาสารคาม : สถาบนั ราชภัฏมหาสารคาม, 2537 วรรณภา ไชยวรรณ. การพฒั นาแผนการอ่านภาษาไทย เรอื่ ง อักษรควบและอักษรนา ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3. การศึกษาค้นควา้ อสิ ระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2549. วรรณี โสมประยรู . การสอนภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา. พมิ พ์ครงั้ ท่ี4 กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช, 2544. วมิ ลรตั น์ สนุ ทรโรจน์. นวตั กรรมตามแนวคิด Backward Design. ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2549. สมใจ นาคศรสี งั ข์. การสรา้ งแบบฝกึ การอา่ นและเขยี นสะกดคาจากแหล่งเรยี นรู้ในทอ้ งถิ่น ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4. การศึกษาค้นคว้าอสิ ระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัย มหาสารคาม, 2549. สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. สรุปผลการประชุมสัมมนาประสานแผนและแลกเปล่ียน

องค์ความรู้การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2550. สวุ ิทย์ มูลคา และ สุนันทา สุนทรประเสรฐิ . ผลงานทางวิชาการสู่...การเลื่อนวทิ ยฐานะ. กรุงเทพฯ : อี เค บคุ ส์, 2550. Bouchard, Margarct Pray. “An Imvestigation of Students’ Word Knowledge as Demonstratedby Their Reading and Spelling Error, ” Dissertation Abstracts International. 63 (2) :541-4; August, 2002. http //wwwlib.Umi.com/dissertations/fullcit/3010800 March 3, 2004.

ภาคผนวก

แบบฝกึ ท่ี 1 การอ่านอาขยานและเขียนตามมาตราสะกด ชือ่ ...............................................................................................ชัน้ ...................... ........เลขท่.ี ........................ คาชี้แจง จงอ่านบทอาขยานตอ่ ไปนี้ ให้ถูกต้องทกุ คา และตรงตามมาตราตัวสะกด

แบบฝึกท่ี 2 การอา่ นอาขยานและเขียนตามมาตราสะกด ชอื่ ...............................................................................................ช้นั ...................... ........เลขที่......................... 1.พระสมทุ ร 2.คณนา 3. หยงั่ 4. วัดวา 5.มนุษย์

แบบฝึกที่ 3 การอา่ นอาขยานและเขยี นตามมาตราสะกด ชือ่ ...............................................................................................ชน้ั ...................... ........เลขท.ี่ ........................ คาชแ้ี จง จงเตมิ คาในบทอาขยานต่อไปนี้ ให้ถกู ตอ้ งทุกคา และตรงตามมาตราตัวสะกด โคลงโลกนิติ รนู้ ้อย....มากรู้ เริง............. .............เกดิ อยู่ใน ...........จอ้ ย ไป่เห็น...........ไกล กลาง.............. ชมว่า................... มาก.............เหลือฯ

เลขท่ี คะแนนสอบยอ่ ย รวม 30 คะแนน เฉล่ยี หลังเรยี น 10 คะแนน 1(10) 2(10) 3(10) 10 0 0 00 0 20 0 0 00 0 30 0 0 00 0 49 6 7 22 10 50 0 0 00 0 69 5 7 21 9 70 0 0 00 0 80 0 0 00 0 90 0 0 00 0 10 3 4 5 12 8 11 7 5 8 20 9 12 0 0 0 00 0 13 7 5 8 20 9 14 0 0 0 00 0 15 7 5 8 21 9 16 8 7 6 21 9 17 5 8 7 20 8 18 0 0 0 00 0 19 0 0 0 00 0 20 0 0 0 00 0 21 9 6 8 23 10 22 0 0 0 00 0 23 5 6 9 20 8 24 0 0 0 00 0 25 0 0 0 00 0 26 0 0 0 00 0 27 0 0 0 00 0 28 0 0 0 00 0 29 0 0 0 00 0

เลขท่ี คะแนนสอบยอ่ ย รวม 30 คะแนน เฉลี่ย หลงั เรยี น 10 คะแนน 1(10) 2(10) 3(10) 30 0 0 0 00 0 31 0 0 0 00 0 32 0 0 0 00 0 33 0 0 0 00 0 รวม 200 250 6.06 7.57 ร้อยละ 60.60 75.75 S.D




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook