ผ้าพน้ื เมอื ง จังหวดั นครราชสมี า
สารบัญ ผ้าโคราช เป็นผ้าท่ีมีอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่น เกิดจากภูมิปัญญา ในทอ้ งถ่ินท่สี บื ทอดกนั มาจากรุ่นสู่รุ่น ทาให้ผ้าโคราชมีชื่อเสียงและได้รับการ ยอมรับ ในด้านการผลิตผ้าที่มีคุณภาพ สร้างช่ือเสียงให้กับชาวโคราช ตั้งแตน่ ้ัน เป็นตน้ มา ประกอบด้วย 1. ผา้ ไหมโคราช 2. ผา้ หางกระรอก (ผ้าประจาจงั หวัดนครราชสีมา) 3. ผา้ ไหมมัดหมล่ี ายหางกระรอก อาเภอปักธงชัย 4. ผ้าไหมมัดหมี่ขน้ั ลายขอนาคนอ้ ย อาเภอบัวลาย 5. ผา้ ไหมมัดหมี่ลายขอทบเชือก อาเภอสดี า 6. ผา้ ไหมมดั หมี่ลายไกแ่ กว้ อาเภอสีดา 7. ผา้ ไหมไขว้ตาล่อง อาเภอลาทะเมนชัย 8. ผา้ ไหมบาติก อาเภอปักธงชัย 9. ผ้าซนิ่ ยวน อาเภอสคี ้ิว 10. ผา้ เงีย่ งนางดา อาเภอสงู เนิน
ผา้ ไหมโคราช ประวัติความเป็นมา ผ้าไหมโคราช เป็นภูมิปัญญาท่ีมาจากลาวเวียงจันทร์ที่ถูกกวาดต้อน มาในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงกวาดต้อนผู้คนจากเวียงจันทร์มาไว้ที่โคราช บริเวณที่ต้ังของอาเภอปักธงชัย จึงได้มีการนาภูมิปัญญาการทอผ้าไหมมาเผยแพร่ ให้แก่ ชาวปักธงชัยทอ่ี าศัยอยู่ในพืน้ ที่ ซึง่ เดิมมีการทอผา้ เพ่อื ใชใ้ นชีวิตประจาวัน เช่น ใช้สวมใส่ ใช้ในงาน พิธตี ่างๆ ถา้ เหลือก็แบ่งปันญาติพ่ีน้อง และจาหน่าย โดยจะมีพ่อค้าคนกลางท่ีเรียกว่า “นายฮ้อย” เป็นผู้รวบรวมผ้าไหมและนาไปจาหน่ายตามเมืองต่างๆ กอร์ปกับผ้าไหมโคราชเป็นผ้าไหม ท่ีมีคุณภาพดี เนือ่ งจากทอจากชา่ งทอทมี่ ฝี มี อื ทาใหผ้ ้าไหมโคราชมีชื่อเสียงในด้านการผลิตผ้าไหม สรา้ งช่ือเสยี งเรื่องของผา้ ไหมปักธงชัยตัง้ แตน่ ้ันเปน็ ต้นมา จุดเด่นผลิตภัณฑ์ มีการนาเทคโนโลยีการทอผ้ามาผสมผสานกับการทอผ้าไหม คือ ก่ีกระตุก นาฟันหวีที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมมาใช้ในกระบวนการทอผ้าไหมซึ่งจะทาให้ผ้าเรียบ เส้นยืน ไมแ่ ทรกขึ้นมา ผ้าไม่เป็นปุ่มปม ผ้าเน้ือแน่น นอกจากน้ียังมีการพัฒนา “ที่ข้นไหม” ให้มีความยาว มากขน้ึ สามารถสาวไหมไดส้ ม่าเสมอ เส้นไหมเรียบไม่มีข้ีไหม ทาให้ได้ผ้าไหมเรียบ และเป็นมันวาว ซักแล้วสีไม่ตก ไม่ซีด เม่ือนาไปตัดเย็บเสื้อผ้าตะเข็บไม่แตกง่าย เมื่อนามาซักเนื้อผ้าไม่ ยุบ เมอื่ นามานุง่ เนื้อผ้าไม่ยว้ ย สามารถผลติ ซา้ ไดใ้ หม้ ีคุณภาพคงเดมิ
ผา้ ไหมโคราช ขน้ั ตอนการผลิต ผ้าที่ทอมักเป็นผ้าพื้น ๒ ตะกอ มีทั้งผ้าเนื้อหนา เน้ือบาง และผ้าเนื้อหยาบ ผ้าหมี่ ผ้าหางกระรอก ผ้าโสร่ง ฯลฯ สาหรับเส้นใยผ้าฝ้าย ใช้ทอผ้าขาวม้า ผ้าเหยียบ ฯลฯ โดยเฉพาะผ้าไหมมัดหม่ีท่ีมีลวดลายสวยงามเป็นที่นิยมช่ืนชอบของคนท่ัวไป กรรมวิธีการทอ ยุ่งยากซับซ้อนต้องอาศัยชา่ งทอทม่ี ีฝมี อื อนั ประณีต พถิ ีพิถันทุกข้ันตอน อีกทั้งการคัดสรรเส้นไหม คุณภาพดีผา่ นกระบวนการย้อมสีจากวตั ถดุ บิ ธรรมชาติ เช่น คร่งั คราม เปลือกมงั คดุ เปลอื กมะพูด แก่นเข แก่นฝาง เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ทาให้ได้ผ้าไหมที่มีความสวยงาม มันวาว คุณภาพดี ไดร้ ับตราสัญลักษณ์พระราชทาน “นกยงู สนี ้าเงิน” เป็นเครื่องการนั ตี การพัฒนาต่อยอด มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จนได้รับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ มผช. OTOP 5 ดาว ตลอดจนมีช่องทางการจาหน่ายบนเว็บไซต์ OTOP Today , Facebook เปิดหนา้ ร้าน , งานจดั แสดงและจาหน่ายสินคา้ ต่างๆ , สง่ ออกตา่ งประเทศและมีมูลค่าการจาหน่าย ตอ่ ปกี ว่า 1,578,506,000 บาท
ผา้ หางกระรอก ประวัติความเป็นมา ผ้าหางกระรอก เป็นผ้าทอโบราณที่มีลักษณะลวดลายเรียบง่าย แต่แฝงด้วยความประณีตและงดงาม โดยใช้เทคนิคการทอผ้าท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่า ไท คือ \"การควบเส้น\" หรือคนไทยเรียกว่า \"ผ้าหางกระรอก\"ผ้าหางกระรอกถือเป็นผ้าโบราณ จังหวดั นครราชสีมา ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งทอผ้าหางกระรอก ท่ีสามารถทอผ้าได้งดงามท่ีสุดแห่งหน่ึง ซ่ึงลักษณะสาคัญ ของผ้าหางกระรอกคือ เป็นผ้าพ้ืนเรียบที่ใช้เทคนิคการทอพิเศษ ท่ีนาเส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นไหม หรือเส้นฝ้าย 2 เส้น 2 สี มาตีเกลียวควบเข้าด้วยกันให้เป็นเส้น เดียว ที่เรียกว่า เส้นลูกลาย หรือ ไหมลูกลาย หรือ เส้นหางกระรอก ใช้อุปกรณ์ในการ ตีคือ ไน และโบก ซึ่งต้องอาศัยทักษะความชานาญของผู้ตีเกลียวท่ีจะทาให้ได้เกลียวถี่ หรือเกลียวห่าง ตามต้องการ สว่ นเสน้ ไหมที่จะนามาตีเกลียวน้ันควรเป็น เส้นไหมน้อยท่ีคัดเป็นพิเศษให้ได้เส้นไหมท่ี สม่าเสมอกัน จากนั้นจึงนาไปเป็นเส้นพุ่งทอผ้า และผ้าท่ีได้จะมีลักษณะลวดลายเล็กๆ ในตัวมีสี เหลือบมันวาวระยับดูคล้ายเส้นขนของหางกระรอก และผ้าหางกระรอกยังเป็นผ้าประจา จังหวัดนครราชสีมา ตามคาขวัญเดิมของจังหวัดท่ีว่า \"นกเขาคารม อ้อยคันร่ม ส้มขี้ม้า ผ้าหางกระรอกดอกสายทอง แมวสีสวาท\" เพราะโคราชมีการทอผา้ หางกระรอกมานานกวา่ รอ้ ยปี
ผา้ ไหมมดั หมี่ลายหางกระรอก ประวัติความเป็นมา ผ้าไหมหางกระรอกมัดหม่ี เป็นผ้าทอโบราณที่มีการสร้างลักษณะ ลวดลายด้วยการมัดลายกอ่ นที่จะทาการย้อม ผสมผสานกับผ้าหางกระรอก ด้วยความประณีตและ งดงามโดยใช้เทคนิคการทอผ้าท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่าไท คือ \"การควบเส้น\" ผ้าไหมหาง กระรอกมัดหมี่ถือเป็นผ้าซ่ึงต้องอาศัยทักษะความชานาญของผู้ตีเกลียวท่ีจะทาให้ได้เกลียวถี่ หรือ เกลียวห่างตามต้องการ ส่วนเส้นไหม ท่ีจะนามาตีเกลียวนั้นควรเป็น เส้นไหมน้อยที่คัดเป็นพิเศษ ให้ได้เส้นไหมท่ีสมา่ เสมอกนั จากนน้ั จึงนาไปเป็นเส้นพุ่งทอผ้า และผ้าท่ีได้จะมีลักษณะลวดลายเล็กๆ ในตัวมีสีเหลือบมันวาวระยับดูคล้ายเส้นขนของหางกระรอก และผ้าหางกระรอกยังเป็นผ้าประจา จังหวดั นครราชสีมา
ผ้าไหมมดั หมขี่ น้ั ลายขอนาคนอ้ ย ประวัติความเป็นมา เกิดจากการคิดค้นของบรรพบุรุษภูมิปัญญาของชาวบ้าน คึมมะอุ-สวนหม่อน ที่จินตนาการจากการไปวัดจากศาสนสถานเช่นบันไดโบสถ์ บันไดศาลา ศาลาการเปรียญ ที่เป็นรูปพญานาคแล้วนามาดัดแปลงลงบนผืนผ้าไหม โดยการมัดหมี่ เป็นลวดลายนาคตัวเล็กๆท่ีเกี่ยวเกาะเป็นลวดลายต่อเนื่อง เป็นล็อคๆ ข้ันสลับไปมา บนผืนผ้า ให้เป็นลวดลายท่ีเห็นในปัจจุบัน หม่ีข้ันลายขอนาคน้อย เป็นผ้าไหมที่มีลวดลายเป็นเอกลักษณ์ ที่ โ ด ด เ ด่ น อ ยู่ ใ น ตั ว มี ท้ั ง ดู อ่ อ น ช้ อ ย แ ล ะ ดู เ ข้ ม แ ข็ ง ดุ จ พ ญ า น า ค ที่ เ ป็ น เ จ้ า บ า ด า ล สีสันสวยงาม ทันสมัย ไม่ตกยุค หญิงสาวชาวบ้านคึมมะอุ-สวนหม่อน ทุกคนต้องทอผ้า หมี่ข้ันหางกระรอกลายขอนาคน้อย จึงถือเป็นของสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งใช้เป็นผ้าไหว้ญาติ ผู้ใหญ่ในงานแต่งงานด้วยสีสันและลวดลายท่ีอ่อนช้อยทาให้มีข้ันลายขอนาคน้อยมีความโดดเด่น คลาสสิก ใช้ได้กับทุกโอกาส สมัยก่อนจะสวมใส่เฉพาะหญิงสูงวัยเท่านั้น ปัจจุบันสามารถสวมใส่ ได้ทุกวัยและทุกเทศกาล นิยมใส่เป็นผ้าถุง หรือโจงกระเบน ปัจจุบันมีการนามาตัดเป็นชุดเส้ือผ้า สาเร็จรูปจนเปน็ ผ้าเอกลกั ษณ์ ประจาอาเภอบัวลาย
ผ้าไหมมัดหมข่ี ัน้ ลายขอนาคนอ้ ย จุดเด่นผลิตภัณฑ์ คือ ลวดลายการทอผ้าไหมมัดหมี่สลับกับการสอดหางกระรอกและสีพื้นให้เกิด ลวดลายท่สี วยงาม แปลกตา คลาสิค เทคนิคการทอใชไ้ หมพน้ื บา้ นท่เี รยี กว่าไหมน้อย ข้ันตอนการผลิต การทอใช้ไหมพื้นบ้านท่ีเรียกว่าไหมน้อย ฟอกกาวและทาการตีเกลียว นาไปทา เป็นเส้นยืน จากนั้นนาส่วนที่เหลือไปทาเป็นเส้นพุ่งโดยเข้าโฮ่งโยกจนเสร็จ แล้วนาไปเข้าโฮ่งมัดซึ่งมัดสี แรกด้วยสีเหลือง จากน้ันล้างออกแล้วมัดสีขาว ย้อมสีแดง มัดสีแดงแล้วย้อมสีพ้ืนตามต้องการ เชน่ เม็ดมะขาม นา้ เงิน สีเขียว ฯลฯ หลงั จากน้นั แกะฟางทม่ี ดั ออกนาไปกลอเข้าหลอดเพ่ือทอโดยใช้ไหม มดั หม่ีลายหมีขั้น ขอนาคน้อย เป็นเสน้ พุ่งไปมาจานวน ๒๘ เสน้ จากนน้ั ใช้ไหมสีเหลือง สอดไปมาสอง สอด ใช้ไหมสีดาสอดไปมาอีก ๒ สอด เหลือง ๒ สอด เขียว ๔ สอด เหลือง ๒ สอด ดา ๒ สอด มะไม ๑ สอด ดา ๒ สอด เหลือง ๑ สอด หางกระกอก ๖ สอด เหลือง ๑ สอด ดา ๒ สอด มะไม ๑ สอด ดา ๒ สอด เหลอื ง ๒ สอด เขียว ๔ สอด เหลือง ๒ สอด ดา ๒ สอด เหลือง ๒ สอด แล้วเป็น ไหมมัดหมส่ี ลับไปมาอย่างนีจ้ นเปน็ ผืนผ้า
ผ้าไหมมดั หมล่ี ายขอทบเชอื ก ประวัติความเป็นมา เกิดจากการคิดค้นของบรรพบุรุษภูมิปัญญาของประชาชน บ้านแฝก-โนนสาราญ ตาบลสามเมือง อาเภอสีดา ท่ีจินตนาการจากการไปประกอบอาชีพ เกษตรกรรมซ่ึงเป็นหลักหลัก เช่นการทานา ปลูกพืช เล้ียงสัตว์ มาตั้งแต่ก่อตั้งหมู่บ้าน บรรพบุรุษ ปู่ ย่า ตา ยาย พอว่างเว้นจากการทานา ก็จะปลูกหม่อน เล้ียงไหม เพื่อเอาเส้นไหม ที่ไดม้ าทอเป็นผนื ผ้าสาหรับตดั เย็บเปน็ เสื้อผ้าใหส้ มาชิกในครัวเรือนได้สวมใส่ โดยเฉพาะการสวมใส่ ในโอกาสไปทาบุญที่วัด งานบุญ งานประเพณีต่าง ๆ ทุกวันท่ีไปทางานนอกบ้านจะมีการห่อข้าวไป เชือกรับประทานเป็นอาหารม้ือเที่ยง พอถึงท่ีพัก (เถียงนา) ก็จะทาเป็นตะขอและมี ห้อยเพื่อ แขวนข้าวห่อเป็นประจาทุกวัน ซึ่งผูกพันกับชีวิตประจาวัน จึงเกิดแรงบันดาลใจ นาลักษณะของ ตะขอ มาดัดแปลงลงบนผนื ผา้ ไหม โดยการมัดหมี่มาทาเป็นลายผ้าไหม ซึ่งเป็นลายขอทบเชือก ดังกล่าวข้ึน เป็นผ้าไหมท่ีมีลวดลาย เป็นเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นอยู่ในตัว ลวดลายเด่นชัด เพราะใช้ เส้นไหมหางกระรอกท่ีตีเกลียว ทาให้เกิดความมันวาว มีสีเหลือบหลายสีเม่ือกระทบกับแสง ทาให้ เป็นเงางาม ซึ่งประชาชนบา้ นแฝก-โนนสาราญ จะสวมใส่ในโอกาสวนั สาคญั ตา่ งๆ งานบุญประเพณี ของหมู่บ้าน ซ่ึงมีไว้ทุกหลังคาเรือน ปัจจุบันมีการนามาตัดเป็นชุดเส้ือผ้าสาเร็จรูป จนเป็นผ้า เอกลักษณ์ของหมบู่ ้านท่องเท่ียววัฒนธรรมไหม
ผ้าไหมมัดหมีล่ ายขอทบเชือก จดุ เดน่ ผลติ ภัณฑ์ ใชไ้ หมพ้ืนบ้านท่ีเรียกว่าไหมน้อย ฟอกกาวและทาการตีเกลียวและนาไปทา เปน็ เสน้ ยืน ผา้ ทที่ อเป็นลายสมัยโบราณโดยได้รับการสืบทอดมาประมาณ ๑๐๔ ปี คือ การมัดลาย ให้ถ่ีขึ้น เพ่ิมสีสันมากขึ้น ซ่ึงเอกลักษณ์หรือจุดเด่นของผลิตภัณฑ์กลุ่มแม่บ้านทอผ้าไหม บา้ นแฝก-โนนสาราญ อยู่ท่ฝี ีมอื การทอ คอื เนือ้ แน่น เนียน เรียบ ละเอยี ด สม่าเสมอ มัดลายเข้าข้อ สีไม่ตก ผืนใหญ่ หนา นุ่ม เนื้อผ้ามันวาว เงางาม สีกลมกลืน เนื้อผ้ามีความละเอียด มีน้าหนัก สีไม่ตก เป็นผ้าไหมท่ีทอด้วยมือ (HandMade)อันเกิดจากการสั่งสมภูมิปัญญาทางด้าน หัตถกรรมท่ีถ่ายทอดสืบทอดต่อกันมารุ่นต่อรุ่นโดยอาศัยการเรียนรู้ภายใน ครอบครัว การแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างกัน ถ้อยทีถ้อยอาศัยซ่ึงกันและกัน อันแสดงถึงความเป็น ปึกแผ่น ของสังคมชนบทอย่างแท้จริง ส่งผลให้มีการสร้างสรรผลงาน ด้วยจิตวิญญาณ ด้วยความรัก ความผกู พนั จนประสบความสาเรจ็ เปน็ ทย่ี อมรับในท้ังภาครัฐและเอกชน และระดับประเทศ
ผ้าไหมมัดหมลี่ ายขอทบเชือก ข้ันตอนการผลิต ๑.คัดเลอื กเส้นไหมใหม้ ีขนาดสมา่ เสมอ เส้นไหมต้องสะอาด ๒.นาเส้นไหม มาฟอกแยกกาวเส้นไหม (ด่อง) แกว่งหรือเกลียวเส้นไหมเพ่ือไม่ให้เส้นไหมแตก ๓.นาเส้นไหมที่ ฟอกแล้วมาย้อมสีเหลือง ประมาณ 30 นาที ล้างสีออกด้วยน้าสะอาด แล้วกระตุกเส้นไหมเพ่ือให้ เส้นเหยียดตรง ผึ่งให้แห้ง ๔.กวักเส้นไหมใส่อัก ๕.ค้นปอยหม่ี ๖.นาเส้นไหมมามัดเป็นลาย ตามทต่ี ้องการ ๗.ย้อมสีปอยหม่ี (ถ้าต้องการหลายสีก็ย้อมหลายครั้ง) ๘.นาเส้นไหมมาย้อมสี เพื่อโอบทับลาย แล้วแกะเชือกท่ีมัดลายออก ตากเส้นไหมให้แห้ง ๙.นาไหมท่ีเป็นเส้นพุ่งกรอ ใส่หลอด ๑๐.นาไหมท่ีจะใช้เป็นเส้นยืนย้อมสี และลงแป้ง ๑๑.กรอเส้นยืนใส่หลอดเดินเส้นยืน ๑๒.นาเส้นไหมเส้นยนื ต่อใส่ฟมื ๑๓.ทอตามลวดลาย การพัฒนาต่อยอด มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จนได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มผช. ตลอดจน มชี ่องทางการจาหนา่ ยบนเวบ็ ไซต์ OTOP Today ,Facebook , เปดิ หนา้ ร้าน , งานจัดแสดง และจาหนา่ ยสินคา้ ต่างๆ , สามารถหาซื้อได้ท่ีกลุ่มทอผ้าไหมบ้านแฝก-โนนสาราญ หรือสั่งซื้อทาง โทรศพั ท์ 089-8476117
ผา้ ไหมมัดหม่ีลายไกแ่ ก้ว ประวัติความเป็นมา เกิดจากการคิดค้นของบรรพบุรุษภูมิปัญญาของประชาชนอาเภอสีดา ท่ีจินตนาการจาก ไก่แก้ว ตามตานานท้าวกาพร้า นางสีดา ซึงเป็นโบราณสถานของอาเภอสีดา ซึง่ นางสีดาเป็นพระธดิ าของทา้ วกะโยงคาพญานาคเจ้าเมืองบาดาล วันหน่ึงแอบข้ึนมาเท่ียวบนโลก มนุษย์ โดยเนรมิตกายให้เป็น “ไก่แก้ว”(ไก่สีขาว) ท้าวกาพร้า (ผู้มีวิชาต่อไก่ บุตรของผัวเมีย กาพรา้ ) ได้มาพบไก่แกว้ จงึ เขา้ ตอ่ ไกไ่ ลจ่ บั ควา้ ไวไ้ ด้แตเ่ พยี งปลายหางเสน้ หนง่ึ ของไก่แก้ว แต่นาง สีดา (ไก่แก้วจาแลง) ก็สามารถหนีลง “รู” กลับไปเมืองบาดาลได้ ปลายขนหางไก่แก้วที่ท้าว กาพร้านากลับมา ได้ส่งกลิ่นหอมชูฟุ้งไปทั่วเขตคราม หอมโชยไปจนถึงวังของพญาจา ตูม (พญากุญชโร)พระองค์จึงมีรับส่ังให้ออกตามหาท่ีมาของกลิ่นหอมชู จากตานานซ่ึงประชาชน ในอาเภอสดี าไดเ้ ลา่ ขาน เคารพนับถือ จึงนาภาพไก่แก้วในจิตนาการซึ่งมีความงดงาม หางสวยงาม แวววาว พร้อมมีกลิ่นหอม มาออกแบบเป็นผ้ามัดหมี่ลายไก่แก้ว เป็นผ้าไหมท่ีมี ลวดลาย เป็นเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นอยู่ในตัว ลวดลายเด่นชัด มีความมันวาว เป็นเงางาม ซ่ึง ประชาชน อาเภอสีดาจะสวมใส่ในโอกาสวันสาคัญต่างๆ งานบุญประเพณีของหมู่บ้าน และงานประจาปี ของอาเภอสีดา ปจั จุบนั มกี ารนามาตัดเปน็ ชุดเสือ้ ผา้ สาเรจ็ รปู จนเป็นผ้าเอกลกั ษณ์ของอาเภอสีดา
ผา้ ไหมมดั หมีล่ ายไกแ่ กว้ ขนั้ ตอนการผลิต ๑.คดั เลอื กเส้นไหมใหม้ ขี นาดสมา่ เสมอ เส้นไหมต้องสะอาด ๒.นาเส้นไหม มาฟอกแยกกาวเส้นไหม (ด่อง) แกว่งหรือเกลียวเส้นไหมเพ่ือไม่ให้เส้นไหมแตก ๓.นาเส้นไหม ที่ฟอกแลว้ มาย้อมสเี หลอื ง ประมาณ 30 นาที ล้างสีออกด้วยน้าสะอาด แล้วกระตุกเส้นไหมเพ่ือให้ เส้นเหยียดตรง ผึ่งให้แห้ง ๔.กวักเส้นไหมใส่อัก ๕.ค้นปอยหมี่ ๖.นาเส้นไหมมามัดเป็นลาย ตามทีต่ ้องการ ๗.ย้อมสีปอยหม่ี (ถ้าต้องการหลายสีก็ย้อมหลายคร้ัง) ๘.นาเส้นไหมมาย้อมสี เพื่อโอบทับลาย แล้วแกะเชือกท่ีมัดลายออก ตากเส้นไหมให้แห้ง ๙.นาไหมท่ีเป็นเส้นพุ่งกรอใส่ หลอด ๑๐.นาไหมท่ีจะใชเ้ ป็นเสน้ ยนื ยอ้ มสี และลงแป้ง ๑๑.กรอเส้นยนื ใส่หลอดเดนิ เสน้ ยืน ๑๒.นาเส้นไหมเส้นยืนตอ่ ใส่ฟมื ๑๓.ทอตามลวดลาย จุดเด่นผลิตภัณฑ์ ลวดลายผ้าไหมมีความสวยงาม ผสมผสานลวดลายที่สืบทอดกันมา แตส่ มยั บรรพบรุ ษุ เช่นลาย คมหา้ คมเก้า ทาให้เกิดลวดลายท่ีสวยงาม มีเอกลักษณ์ ผ้าแต่ละผืน จะมลี วดลายแตกตา่ งกันไปตามการออกแบบ ประยุกต์ลายเข้าดว้ ยกัน ใช้ไหมพื้นบ้านที่เรียบว่าไหม น้อย นาลายผ้าสมัยโบราณมาประยุกต์ ทอผ้าไหมด้วยมือ (HandMade)อันเกิดจากการ ส่งั สมภมู ปิ ัญญาทางด้านหตั ถกรรมที่ถา่ ยทอดสืบทอดต่อกันมารุ่นตอ่ รุน่ โดยอาศัยการเรียนรู้ภายใน ครอบครวั การแลกเปลยี่ นเรียนรูร้ ะหวา่ งกัน ในกล่มุ และประชาชนในอาเภอสีดา
ผา้ ไหมลายไขวต้ าลอ่ ง ♠ ประวตั ิความเป็นมา ผา้ ไหมลายกุดน้าใส (ไขว้ตาล่อง) เกิดจากงานหัตถศิลป์แห่งวิถีชุมชน ผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอันทรงคุณค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ บ้านกุดน้าใส อาเภอลาทะเมนชัย เปน็ ผ้าไหมลายนา้ ทม่ี ลี ายคั่นโดยภาษาถ่ินเรยี กว่า “ตาล่อง” หรือ “ซ่ินตาล่อง” ผ้าลายมีสีแตกต่าง กนั ไปโดยเปรียบเสมือนการไหลของน้า จึงนามาประยกุ ต์เป็นลวดลายของผ้าไหม อันเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะทส่ี ืบทอดการทอมาจากบรรพบุรุษยาวนานกวา่ 100 ปี สามารถนาไปออกแบบตัดเย็บชุดแต่ง กายตามสมยั นยิ มไดอ้ ย่างสวยงามหรือประยุกต์ใช้ได้ในโอกาสต่างๆ ไดต้ ามความต้องการ จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ ทอมือด้วยก่ีบ้าน ใช้ไหมเส้นเล็ก เป็นการนาไหมมาหมัดหม่ีแล้วทอ ดว้ ยมือ ลายมสี ีทแ่ี ตกตา่ ง โดยใช้ 5 สขี นึ้ ไป ซึ่งสีท่ีใชจ้ ะเปน็ สีธรรมชาติ ขั้นตอนการผลิต การทอใช้ไหมพื้นบ้านท่ีเรียบว่าไหมน้อย ฟอกกาวและทาการตีเกลียว และนาไปทาเปน็ เสน้ ยืน ใชเ้ สน้ ไหม 5 สคี น้ เส้นพ่งุ 1 ใช้ 1 สี ทาไปเรื่อยๆ จนได้ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร สอบถามข้อมูลเพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี กลุ่มทอผา้ ไหมบ้านกดุ นา้ ใส โทรศพั ท์ 080-1547269
ผา้ ไหมบาตกิ ประวัตคิ วามเปน็ มา ผา้ บาติกโคราช เปน็ การนาผา้ ไหมมาเขียนลวดลายด้วยเทียน โดยมีการ นาธรรมชาติใกล้ตัวมาสร้างลวดลาย อย่าง ก้อนหิน ต้นไม้ ใบ และสายน้า โดยจุดเด่นคือลวดลาย บนผ้านั้นเป็นการนาเอกลักษณ์ของภาคอีสานทั้งวิถีชีวิตและวัฒนธรรมมานาเสนอ การใช้กาว นวตั กรรมแทนการเขียนเทยี นทาใหเ้ กดิ รอยแตกท่สี วยงาม สามารถซักออกได้ง่ายและประหยัดเวลา มากกว่า คุณสมบัติพิเศษของกาวชนิดน้ีคือ เม่ือขึ้นลายลงสีเรียบร้อย ก็เอากาวออกทาให้เกิดการ “แคลก” (Crack) หรือรอยแตกกระเทาะ สื่อถึงความเป็นภาคอีสาน เปรียบเสมือนดินท่ี แตกระแหง จงึ นามาสรา้ งเรือ่ งราวผา้ บาติกของตนเอง สู่ “ผ้าบาติกอสี าน” จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ เป็นงานแฮนด์เมดซึ่งใช้ผ้าไหม 100% มีการออกแบบลวดลาย ที่เปน็ อัตลกั ษณเ์ ฉพาะตวั และมกี ารนามาพฒั นาต่อยอด เช่น กระเปา๋ ผา้ คลมุ่ ไหล่ ชุดสตรี เป็นตน้
ผ้าซ่นิ ยวน ประวัติความเป็นมา ผ้ายวนเป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทย ที่ผูกพันกับการดารงชีวิต ของชาวไทย – ยวน อาเภอสีคิ้ว มาเกือบ ๒๐๐ ปี แต่ก่อนนั้น ผ้ายวนจะเป็นผ้าที่ใช้นุ่งเฉพาะ ในงานวัน สาคัญต่าง ๆ ของหมู่บ้านชุมชนเท่าน้ัน ผลิตภัณฑ์ผ้ายวน เป็นผลิตภัณฑ์ที่สืบทอด ภูมิปัญญาของ บรรพบุรุษมาตั้งแต่สมัยโบราณ ซ่ึงหมู่บ้านโนนกุ่ม เป็นหมู่บ้านที่แยกออกจาก บ้านสีค้ิว ชาวบ้าน ส่วนมากเป็นชาวไท - ยวน ซ่ึงหมายถึงชาวไทยภาคเหนือโยนกนคร และจากการสอบถามได้ความว่า ใน สมัยของรัชกาลที่ ๓ ขณะนั้นเมืองเชียงแสนตกอยู่ในอิทธิพลของพม่า ซึ่งพม่าอาศัยเมืองเชียงแสนเป็น แหล่งสะสมเสบียงและกาลังพลสาหรับยกกองทัพเข้าตีเมืองฝ่ายเหนือของไทย ได้ทรงรับสั่งกับพระเจ้า หลานเธอกรมหลวงเทพหริรักษ์ ร่วมกับพระยายมราชจัดกองทัพจากเมืองหลวง ข้ึนไปสมทบกับเมือง นครลาปาง กองทพั นครเชียงใหม่ กองทัพนครน่าน และกองทัพนครเวียงจันทร์ เพื่อเข้าโจมตีเมืองเชียง แสน ซง่ึ ได้ล้อมเมืองเชียงแสนและตไี ด้สาเรจ็ พมา่ ทีอ่ ยูใ่ นเมืองเชยี งแสนแตกหนีไป เม่ือหมดหน้าท่ีที่ได้รับ มอบหมาย จึงไม่ขอกลับบ้านเมอื งเดิม พากันตง้ั ถน่ิ ฐานเป็นเมอื งสืบมาชาวไท - ยวน อาเภอสีค้ิว จึงเป็น เช้อื สายทสี่ ืบเนอ่ื งจากชาวเชียงแสนในสมัยน้ัน และได้สบื ทอด รกั ษาขนบธรรมเนียม ประเพณี และศิลปะ วัฒนธรรมของตนเอาไว้ เช่น ภาษาพูด ศิลปหัตถกรรมการทอผ้าชาวบ้านโนนกุ่ม ก็เป็นหนึ่งหมู่บ้านท่ี ได้รับการสืบทอดภูมิปัญญาด้านการทอผ้ามาจากบรรพบุรุษชาวโยนกนครท่ีมีความรู้ด้านการทอผ้าของ ชาวชาว ไท -ยวน ท่ีเรียกว่า ผ้าซ่ิน คาว่าผ้าซิ่น เป็นภาษาทางภาคเหนือ หมายถึง ผ้านุ่ง การทอผ้า ของบ้านโนนกุ่มแรกเร่ิมน้ันเป็นการทอผ้าท่ีทอใช้กันเอง ในหมู่ครอบครัว เรียกช่ือผ้าตามคนทอผ้า ว่า ผ้ายวน ซึ่งกห็ มายถงึ ผ้าของชาวโยนกนคร (ไท –ยวน)
ผา้ ซ่ินยวน ขั้นตอนการผลิต 1.นาด้ายสีพื้นมาป่ันใส่หลอดเล็ก 2.นาด้ายหลอดเล็กมาใส่กระสวย 3. หมุนเพลาด้ายให้ตึงแล้วใช้ไม้ค้า 4.กระตุกหูกระต่ายเพ่ือให้กระสวยท่ีใส่หลอดด้ายพุ่งมา อีกดา้ นหน่ึง พรอ้ มกับกระทบฟันหวีเข้ามา แล้วสลับเท้าเหยยี บ สลบั มอื กระตุก แล้วเริม่ ทอ การพัฒนาต่อยอด มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จนได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มผช. ตลอดจน มีชอ่ งทางการจาหนา่ ยบนเว็บไซต์ OTOP Today ,Facebook , เปิดหน้าร้าน , งานจัดแสดง และจาหน่ายสินค้าต่างๆ , สามารถหาซื้อได้ที่กลุ่มทอผ้าบ้านโนนกุ่ม อาเภอสีค้ิว และในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความทันสมัยท่ีหลากหลายและตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าผ้ายวนของชาวไท ยวน ไดม้ ีการพัฒนาลวดลายและตอ่ ยอดผ้ายวนเป็นลายตา่ งๆ ดงั นี้ 1.ผ้ายวนยกดอก ๓ ตะกอ 2.ผา้ ยวนยกดอก ๔ ตะกอ 3.ผ้าลายชอ่ ทพิ ย์ 4.ผ้ายวนประยุกต์ 5.ผา้ ลายสายรุ้ง 6.ผ้ายวนย่อส่วน 7.ผ้ายวนลายอภัสรา
ผ้าเงย่ี งนางดา ประวตั ิความเป็นมา ผ้าเงี่ยงนางดา เป็นผ้าฝ้ายพื้นเมืองทอมือ เอกลักษณ์ของชาวอาเภอ สูงเนนิ ทส่ี ืบทอดกนั มาตง้ั แต่อาณาจักรศรีจนาศะ อาณาจักรเก่าแก่ใน อ.สูงเนิน ที่มีคนไทยโคราช และคนลาวอพยพมาจากเวียงจันทร์ ประเทศลาว มาอาศัย ท่ีมาของผ้าเงี่ยงนางดา คาว่า เงี่ยง มีความหมายว่า การแกะเอาเส้นด้ายสอดแทรกเข้าไปในเน้ือผ้า นางดา หมายถึง ผ้าท่ีมีสีดา หรือ สีทึบ เง่ียงนางดา ความหมายในภาษาถิ่นของ อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา ที่มีการผสมผสานใน เรื่องของภาษา และวัฒนธรรมท้องถ่ิน ซ่ึงจะเรียก สีดา หรือ สีทึบ ว่า นางดา ผ้าเง่ียงนางดา จึงเป็นผ้าสาหรับใช้ในชีวิตประจาวันของอาเภอสูงเนิน เน่ืองจากมีน้าหนักเบาไม่หนามาก เวลาสวมใสจ่ ะร้สู กึ สบาย แตถ่ ้าเปน็ งานสาคัญ จะนยิ มสวมใส่ผา้ เง่ียงนางดาทีท่ อมาจากผ้าไหม จดุ เดน่ ผลติ ภณั ฑ์ ฝา้ ยท่จี ะใช้ทอต้องนามามัดโดยการใช้เส้นฝ้าย 3 เส้น 3 สี มาพันรวมกัน ให้เป็นเส้นเดียวแล้วจึงนามาถักทอเป็นผืน ประกอบด้วยส่วนแรก เป็นพกสีแดงสอดลายแนวต้ัง ดว้ ยฝ้ายสีเหลืองขาว ซ่ึงย้อมดว้ ยแกน่ ยอปา่ หรอื ครัง่ สอดลายแนวต้ังด้วยด้ายมัดมัยสีเหลืองขาว ย้อมมาจากแก่นขนนุ สว่ นที่สอง เป็นผ้าพน้ื ย้อมครามสอดเสน้ ด้ายสีแดง ส่วนที่สาม เป็นชายผ้าถุง ทอด้วยดา้ ยเปน็ แถบลายขวางสีดาย้อมด้วยลูกมะเกลอื หรือสีแดง
ผ้าเงี่ยงนางดา ขั้นตอนการผลิต 1. นาด้ายหลากสี ป่ันใสห่ ลอด 2. นาหลอดด้ายไปตัง้ กับเครื่องต้ังหลอด โดยเรยี งใหเ้ ป็นลวดลายตามตอ้ งการ 3. เรม่ิ ดึงหรือสาวดา้ ยใสห่ ลักเพอ่ื วัดระยะความยาวของผนื ผ้า 4.นาด้ายร้อยฟนั หวี 5.นาขามว้ นใส่หัวม้วนเรียงเสน้ ดา้ ยผ่านฟนั หวี 6.เกบ็ ตะกอ และเริ่มทอ การพัฒนาต่อยอด ผ้าเง่ียงนางดา ชนิดทอเป็นผืน จาหน่าย เมตรละ 225 บาท สาหรับ นาไปตัดเย็บเพอ่ื สวมใส่ ในโอกาสตา่ งๆ และได้พัฒนาตอ่ ยอดผลิตภัณฑ์ ลวดลายให้มีความทันสมัย สีสันสวยงาม ประยุกต์ให้เข้ากับยุคสมัยมากขึ้น โดยทอเฉพาะส่วนท่ีสองเป็นพื้นสองลายแต่คงไว้ ซึ่งอัตลักษณ์เดิม และมีการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มีความสวยงาม เช่น เส้ือบุรุษ สตรี ของชารว่ ย กระเป๋าจากผ้าเง่ียงนางดา ท่ีมีความสวยงาม ทันสมัย สามารถหาซ้ือได้ที่ สานักงาน เทศบาลอาเภอสูงเนนิ หรือส่ังซื้อที่ Facebook ผา้ เงี่ยงนางดา ช่องทางไลน์ และทางโทรศัพท์
จัดทาโดย นกั การตลาดรุ่นใหม่(OTOP)NEWGEN สานักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั นครราชสมี า โทรศัพท์ 044-242991 โทรสาร 044-243610
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: