ผา้ พื้นเมอื งจังหวดั นครราชสมี า
สารบญั ผ้าโคราช เป็นผ้าท่ีมีอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่น เกิดจากภูมิปัญญา ในท้องถนิ่ ท่สี บื ทอดกันมาจากรุ่นส่รู นุ่ ทาให้ผ้าโคราชมีช่ือเสียงและได้รับการ ยอมรับ ในด้านการผลิตผ้าที่มีคุณภาพ สร้างชื่อเสียงให้กับชาวโคราช ตง้ั แตน่ นั้ เปน็ ตน้ มา ประกอบด้วย 1. ผ้าไหมโคราช 2. ผ้าหางกระรอก (ผา้ ประจาจังหวัดนครราชสมี า) 3. ผา้ ไหมมดั หมลี่ ายหางกระรอก อาเภอปกั ธงชัย 4. ผ้าไหมมัดหมขี่ ้นั ลายขอนาคน้อย อาเภอบวั ลาย 5. ผา้ ไหมมดั หมีล่ ายขอทบเชอื ก อาเภอสีดา 6. ผ้าไหมมดั หมล่ี ายไกแ่ ก้ว อาเภอสดี า 7. ผา้ ไหมไขว้ตาล่อง อาเภอลาทะเมนชยั 8. ผ้าไหมบาติก อาเภอปกั ธงชยั 9. ผ้าซ่นิ ยวน อาเภอสคี วิ้ 10. ผ้าเงยี่ งนางดา อาเภอสงู เนิน สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั นครราชสีมา
ผ้าไหมโคราช ประวัติความเป็นมา ผ้าไหมโคราช เป็นภูมิปัญญาท่ีมาจากลาวเวียงจันทร์ท่ีถูกกวาดต้อน มาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงกวาดต้อนผู้คนจากเวียงจันทร์มาไว้ท่ีโคราช บริเวณที่ตั้งของอาเภอปักธงชัย จึงได้มีการนาภูมิปัญญาการทอผ้าไหมมาเผยแพร่ ให้แก่ ชาวปกั ธงชยั ท่อี าศยั อยใู่ นพนื้ ท่ี ซงึ่ เดิมมีการทอผา้ เพือ่ ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น ใช้สวมใส่ ใช้ในงาน พิธตี า่ งๆ ถา้ เหลือก็แบ่งปันญาติพ่ีน้อง และจาหน่าย โดยจะมีพ่อค้าคนกลางท่ีเรียกว่า “นายฮ้อย” เป็นผู้รวบรวมผ้าไหมและนาไปจาหน่ายตามเมืองต่างๆ กอร์ปกับผ้าไหมโคราชเป็นผ้าไหม ท่ีมคี ุณภาพดี เนอื่ งจากทอจากชา่ งทอทมี่ ีฝมี ือ ทาให้ผ้าไหมโคราชมีชื่อเสียงในด้านการผลิตผ้าไหม สร้างช่ือเสยี งเรอื่ งของผ้าไหมปักธงชยั ต้งั แตน่ น้ั เป็นตน้ มา จุดเดน่ ผลิตภัณฑ์ มีการนาเทคโนโลยีการทอผ้ามาผสมผสานกับการทอผ้าไหม คือ ก่ีกระตุก นาฟันหวีที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมมาใช้ในกระบวนการทอผ้าไหมซ่ึงจะทาให้ผ้าเรียบ เส้นยืน ไมแ่ ทรกขึ้นมา ผ้าไม่เป็นปุ่มปม ผ้าเนื้อแน่น นอกจากน้ียังมีการพัฒนา “ที่ข้นไหม” ให้มีความยาว มากขน้ึ สามารถสาวไหมไดส้ ม่าเสมอ เส้นไหมเรียบไม่มีข้ีไหม ทาให้ได้ผ้าไหมเรียบ และเป็นมันวาว ซักแล้วสีไม่ตก ไม่ซีด เม่ือนาไปตัดเย็บเสื้อผ้าตะเข็บไม่แตกง่าย เม่ือนามาซักเน้ือผ้าไม่ ยุบ เมือ่ นามานุง่ เนื้อผา้ ไมย่ ว้ ย สามารถผลติ ซ้าได้ให้มคี ุณภาพคงเดิม สานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวดั นครราชสมี า
ผา้ ไหมโคราช ขน้ั ตอนการผลิต ผ้าท่ีทอมักเป็นผ้าพ้ืน ๒ ตะกอ มีท้ังผ้าเนื้อหนา เนื้อบาง และผ้าเนื้อหยาบ ผ้าหมี่ ผ้าหางกระรอก ผ้าโสร่ง ฯลฯ สาหรับเส้นใยผ้าฝ้าย ใช้ทอผ้าขาวม้า ผ้าเหยียบ ฯลฯ โดยเฉพาะผ้าไหมมัดหมี่ท่ีมีลวดลายสวยงามเป็นที่นิยมชื่นชอบของคนทั่วไป กรรมวิธีการทอ ยงุ่ ยากซับซ้อนตอ้ งอาศยั ชา่ งทอท่ีมฝี ีมืออันประณตี พิถีพิถันทุกข้ันตอน อีกท้ังการคัดสรรเส้นไหม คณุ ภาพดผี า่ นกระบวนการย้อมสจี ากวตั ถุดิบธรรมชาติ เช่น ครง่ั คราม เปลือกมงั คุด เปลอื กมะพูด แก่นเข แก่นฝาง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทาให้ได้ผ้าไหมที่มีความสวยงาม มันวาว คุณภาพดี ได้รับตราสัญลกั ษณ์พระราชทาน “นกยงู สนี ้าเงิน” เปน็ เครอ่ื งการันตี การพัฒนาต่อยอด มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จนได้รับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ มผช. OTOP 5 ดาว ตลอดจนมีช่องทางการจาหน่ายบนเว็บไซต์ OTOP Today , Facebook เปดิ หน้ารา้ น , งานจดั แสดงและจาหน่ายสนิ คา้ ตา่ งๆ , สง่ ออกต่างประเทศและมีมูลค่าการจาหน่าย ตอ่ ปีกว่า 1,578,506,000 บาท สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา
ผา้ หางกระรอก ประวัติความเป็นมา ผ้าหางกระรอก เป็นผ้าทอโบราณท่ีมีลักษณะลวดลายเรียบง่าย แต่แฝงด้วยความประณีตและงดงาม โดยใช้เทคนิคการทอผ้าที่เป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่า ไท คือ \"การควบเส้น\" หรือคนไทยเรียกว่า \"ผ้าหางกระรอก\"ผ้าหางกระรอกถือเป็นผ้าโบราณ จงั หวดั นครราชสีมา ได้ช่ือว่าเป็นแหล่งทอผ้าหางกระรอก ท่ีสามารถทอผ้าได้งดงามที่สุดแห่งหน่ึง ซึ่งลักษณะสาคัญ ของผ้าหางกระรอกคือ เป็นผ้าพ้ืนเรียบที่ใช้เทคนิคการทอพิเศษ ที่นาเส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นไหม หรือเส้นฝ้าย 2 เส้น 2 สี มาตีเกลียวควบเข้าด้วยกันให้เป็นเส้น เดียว ที่เรียกว่า เส้นลูกลาย หรือ ไหมลูกลาย หรือ เส้นหางกระรอก ใช้อุปกรณ์ในการ ตีคือ ไน และโบก ซ่ึงต้องอาศัยทักษะความชานาญของผู้ตีเกลียวที่จะทาให้ได้เกลียวถี่ หรือเกลียวห่าง ตามต้องการ สว่ นเสน้ ไหมท่ีจะนามาตีเกลียวน้ันควรเป็น เส้นไหมน้อยที่คัดเป็นพิเศษให้ได้เส้นไหมท่ี สม่าเสมอกัน จากนั้นจึงนาไปเป็นเส้นพุ่งทอผ้า และผ้าท่ีได้จะมีลักษณะลวดลายเล็กๆ ในตัวมีสี เหลือบมันวาวระยับดูคล้ายเส้นขนของหางกระรอก และผ้าหางกระรอกยังเป็นผ้าประจา จังหวัดนครราชสีมา ตามคาขวัญเดิมของจังหวัดท่ีว่า \"นกเขาคารม อ้อยคันร่ม ส้มข้ีม้า ผ้าหางกระรอกดอกสายทอง แมวสสี วาท\" เพราะโคราชมีการทอผา้ หางกระรอกมานานกวา่ ร้อยปี สานักงานพฒั นาชมุ ชนจงั หวัดนครราชสมี า
ผ้าไหมมัดหมล่ี ายหางกระรอก ประวัติความเป็นมา ผ้าไหมหางกระรอกมัดหมี่ เป็นผ้าทอโบราณท่ีมีการสร้างลักษณะ ลวดลายด้วยการมัดลายกอ่ นท่ีจะทาการย้อม ผสมผสานกับผ้าหางกระรอก ด้วยความประณีตและ งดงามโดยใช้เทคนิคการทอผ้าท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่าไท คือ \"การควบเส้น\" ผ้าไหมหาง กระรอกมัดหมี่ถือเป็นผ้าซึ่งต้องอาศัยทักษะความชานาญของผู้ตีเกลียวที่จะทาให้ได้เกลียวถ่ี หรือ เกลียวห่างตามต้องการ ส่วนเส้นไหม ที่จะนามาตีเกลียวนั้นควรเป็น เส้นไหมน้อยที่คัดเป็นพิเศษ ให้ไดเ้ ส้นไหมที่สม่าเสมอกัน จากน้นั จึงนาไปเป็นเส้นพุ่งทอผ้า และผ้าท่ีได้จะมีลักษณะลวดลายเล็กๆ ในตัวมีสีเหลือบมันวาวระยับดูคล้ายเส้นขนของหางกระรอก และผ้าหางกระรอกยังเป็นผ้าประจา จังหวัดนครราชสมี า สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั นครราชสีมา
ผ้าไหมมัดหม่ขี ั้นลายขอนาคนอ้ ย ประวัติความเป็นมา เกิดจากการคิดค้นของบรรพบุรุษภูมิปัญญาของชาวบ้าน คึมมะอุ-สวนหม่อน ท่ีจินตนาการจากการไปวัดจากศาสนสถานเช่นบันไดโบสถ์ บันไดศาลา ศาลาการเปรียญ ที่เป็นรูปพญานาคแล้วนามาดัดแปลงลงบนผืนผ้าไหม โดยการมัดหม่ี เป็นลวดลายนาคตัวเล็กๆท่ีเกี่ยวเกาะเป็นลวดลายต่อเนื่อง เป็นล็อคๆ ข้ันสลับไปมา บนผืนผ้า ให้เป็นลวดลายที่เห็นในปัจจุบัน หม่ีข้ันลายขอนาคน้อย เป็นผ้าไหมที่มีลวดลายเป็นเอกลักษณ์ ท่ี โ ด ด เ ด่ น อ ยู่ ใ น ตั ว มี ทั้ ง ดู อ่ อ น ช้ อ ย แ ล ะ ดู เ ข้ ม แ ข็ ง ดุ จ พ ญ า น า ค ท่ี เ ป็ น เ จ้ า บ า ด า ล สีสันสวยงาม ทันสมัย ไม่ตกยุค หญิงสาวชาวบ้านคึมมะอุ-สวนหม่อน ทุกคนต้องทอผ้า หมี่ข้ันหางกระรอกลายขอนาคน้อย จึงถือเป็นของสาคัญโดยเฉพาะอย่างย่ิงใช้เป็นผ้าไหว้ญาติ ผู้ใหญ่ในงานแต่งงานด้วยสีสันและลวดลายท่ีอ่อนช้อยทาให้มีขั้นลายขอนาคน้อยมีความโดดเด่น คลาสสิก ใช้ได้กับทุกโอกาส สมัยก่อนจะสวมใส่เฉพาะหญิงสูงวัยเท่านั้น ปัจจุบันสามารถสวมใส่ ได้ทุกวัยและทุกเทศกาล นิยมใส่เป็นผ้าถุง หรือโจงกระเบน ปัจจุบันมีการนามาตัดเป็นชุดเส้ือผ้า สาเร็จรูปจนเป็นผ้าเอกลกั ษณ์ ประจาอาเภอบัวลาย สานกั งานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นครราชสมี า
ผ้าไหมมดั หมขี่ ้ันลายขอนาคน้อย จุดเด่นผลิตภัณฑ์ คือ ลวดลายการทอผ้าไหมมัดหม่ีสลับกับการสอดหางกระรอกและสีพ้ืนให้เกิด ลวดลายท่ีสวยงาม แปลกตา คลาสิค เทคนคิ การทอใช้ไหมพืน้ บา้ นทเ่ี รยี กว่าไหมน้อย ข้ันตอนการผลิต การทอใช้ไหมพ้ืนบ้านที่เรียกว่าไหมน้อย ฟอกกาวและทาการตีเกลียว นาไปทา เป็นเส้นยืน จากน้ันนาส่วนที่เหลือไปทาเป็นเส้นพุ่งโดยเข้าโฮ่งโยกจนเสร็จ แล้วนาไปเข้าโฮ่งมัดซ่ึงมัดสี แรกด้วยสีเหลือง จากนั้นล้างออกแล้วมัดสีขาว ย้อมสีแดง มัดสีแดงแล้วย้อมสีพ้ืนตามต้องการ เช่น เม็ดมะขาม น้าเงิน สีเขยี ว ฯลฯ หลงั จากนน้ั แกะฟางทม่ี ัดออกนาไปกลอเข้าหลอดเพ่ือทอโดยใช้ไหม มดั หมี่ลายหมีขัน้ ขอนาคน้อย เปน็ เส้นพุ่งไปมาจานวน ๒๘ เส้น จากนั้นใช้ไหมสีเหลือง สอดไปมาสอง สอด ใช้ไหมสีดาสอดไปมาอีก ๒ สอด เหลือง ๒ สอด เขียว ๔ สอด เหลือง ๒ สอด ดา ๒ สอด มะไม ๑ สอด ดา ๒ สอด เหลือง ๑ สอด หางกระกอก ๖ สอด เหลือง ๑ สอด ดา ๒ สอด มะไม ๑ สอด ดา ๒ สอด เหลือง ๒ สอด เขียว ๔ สอด เหลือง ๒ สอด ดา ๒ สอด เหลือง ๒ สอด แล้วเป็น ไหมมัดหมีส่ ลับไปมาอยา่ งนจี้ นเป็นผนื ผา้ สานักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวัดนครราชสีมา
ผ้าไหมมัดหม่ลี ายขอทบเชอื ก ประวัติความเป็นมา เกิดจากการคิดค้นของบรรพบุรุษภูมิปัญญาของประชาชน บ้านแฝก-โนนสาราญ ตาบลสามเมือง อาเภอสีดา ที่จินตนาการจากการไปประกอบอาชีพ เกษตรกรรมซึ่งเป็นหลักหลัก เช่นการทานา ปลูกพืช เล้ียงสัตว์ มาต้ังแต่ก่อต้ังหมู่บ้าน บรรพบุรุษ ปู่ ย่า ตา ยาย พอว่างเว้นจากการทานา ก็จะปลูกหม่อน เลี้ยงไหม เพ่ือเอาเส้นไหม ท่ีได้มาทอเปน็ ผนื ผ้าสาหรับตัดเยบ็ เป็นเสื้อผา้ ใหส้ มาชิกในครัวเรือนได้สวมใส่ โดยเฉพาะการสวมใส่ ในโอกาสไปทาบุญที่วัด งานบุญ งานประเพณีต่าง ๆ ทุกวันท่ีไปทางานนอกบ้านจะมีการห่อข้าวไป รับประทานเป็นอาหารมอื้ เท่ยี ง พอถึงทีพ่ ัก (เถียงนา) กจ็ ะทาเป็นตะขอและมีเชือกห้อยเพื่อแขวน ข้าวห่อเป็นประจาทุกวัน ซึ่งผูกพันกับชีวิตประจาวัน จึงเกิดแรงบันดาลใจ นาลักษณะของตะขอ มาดัดแปลงลงบนผืนผ้าไหม โดยการมัดหม่ีมาทาเป็นลายผ้าไหม ซึ่งเป็นลายขอทบเชือกดังกล่าว ข้ึน เป็นผ้าไหมท่ีมีลวดลาย เป็นเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นอยู่ในตัว ลวดลายเด่นชัด เพราะใช้เส้นไหม หางกระรอกท่ีตีเกลียว ทาให้เกิดความมันวาว มีสีเหลือบหลายสีเม่ือกระทบกับแสง ทาให้เป็นเงา งาม ซึ่งประชาชนบ้านแฝก-โนนสาราญ จะสวมใส่ในโอกาสวันสาคัญต่างๆ งานบุญประเพณีของ หมบู่ า้ น ซ่ึงมไี ว้ทกุ หลงั คาเรือน ปัจจุบันมกี ารนามาตดั เปน็ ชดุ เสอ้ื ผ้าสาเร็จรูป จนเป็นผ้าเอกลักษณ์ ของหมู่บ้านทอ่ งเทย่ี ววัฒนธรรมไหม สานักงานพฒั นาชมุ ชนจงั หวัดนครราชสีมา
ผ้าไหมมดั หมลี่ ายขอทบเชือก จุดเด่นผลติ ภัณฑ์ ใช้ไหมพื้นบ้านที่เรียกว่าไหมน้อย ฟอกกาวและทาการตีเกลียวและนาไปทา เป็นเสน้ ยืน ผา้ ท่ที อเปน็ ลายสมยั โบราณโดยได้รับการสืบทอดมาประมาณ ๑๐๔ ปี คือ การมัดลาย ให้ถี่ขึ้น เพ่ิมสีสันมากขึ้น ซ่ึงเอกลักษณ์หรือจุดเด่นของผลิตภัณฑ์กลุ่มแม่บ้านทอผ้าไหม บ้านแฝก-โนนสาราญ อยทู่ ่ฝี มี อื การทอ คอื เน้อื แนน่ เนยี น เรียบ ละเอยี ด สม่าเสมอ มัดลายเข้าข้อ สีไม่ตก ผืนใหญ่ หนา นุ่ม เน้ือผ้ามันวาว เงางาม สีกลมกลืน เนื้อผ้ามีความละเอียด มีน้าหนัก สีไม่ตก เป็นผ้าไหมท่ีทอด้วยมือ (HandMade)อันเกิดจากการสั่งสมภูมิปัญญาทางด้าน หัตถกรรมที่ถ่ายทอดสืบทอดต่อกันมารุ่นต่อรุ่นโดยอาศัยการเรียนรู้ภายใน ครอบครัว การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ถ้อยทีถ้อยอาศัยซึ่งกันและกัน อันแสดงถึงความเป็น ปึกแผ่น ของสังคมชนบทอย่างแท้จริง ส่งผลให้มีการสร้างสรรผลงาน ด้วยจิตวิญญาณ ด้วยความรัก ความผูกพัน จนประสบความสาเรจ็ เปน็ ทยี่ อมรับในทง้ั ภาครัฐและเอกชน และระดับประเทศ สานกั งานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นครราชสมี า
ผา้ ไหมมดั หมี่ลายขอทบเชือก ขน้ั ตอนการผลติ ๑.คดั เลือกเส้นไหมใหม้ ขี นาดสมา่ เสมอ เส้นไหมต้องสะอาด ๒.นาเส้นไหม มาฟอกแยกกาวเส้นไหม (ด่อง) แกว่งหรือเกลียวเส้นไหมเพื่อไม่ให้เส้นไหมแตก ๓.นาเส้นไหมที่ ฟอกแล้วมาย้อมสีเหลือง ประมาณ 30 นาที ล้างสีออกด้วยน้าสะอาด แล้วกระตุกเส้นไหมเพื่อให้ เส้นเหยียดตรง ผึ่งให้แห้ง ๔.กวักเส้นไหมใส่อัก ๕.ค้นปอยหม่ี ๖.นาเส้นไหมมามัดเป็นลาย ตามที่ต้องการ ๗.ย้อมสีปอยหมี่ (ถ้าต้องการหลายสีก็ย้อมหลายครั้ง) ๘.นาเส้นไหมมาย้อมสี เพ่ือโอบทับลาย แล้วแกะเชือกที่มัดลายออก ตากเส้นไหมให้แห้ง ๙.นาไหมที่เป็นเส้นพุ่งกรอ ใส่หลอด ๑๐.นาไหมท่ีจะใช้เป็นเส้นยืนย้อมสี และลงแป้ง ๑๑.กรอเส้นยืนใส่หลอดเดินเส้นยืน ๑๒.นาเส้นไหมเสน้ ยนื ต่อใส่ฟมื ๑๓.ทอตามลวดลาย การพัฒนาต่อยอด มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จนได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มผช. ตลอดจน มีช่องทางการจาหน่ายบนเว็บไซต์ OTOP Today ,Facebook , เปดิ หนา้ รา้ น , งานจัดแสดง และจาหนา่ ยสนิ ค้าตา่ งๆ , สามารถหาซือ้ ได้ท่ีกลุ่มทอผ้าไหมบ้านแฝก-โนนสาราญ หรือสั่งซื้อทาง โทรศัพท์ 089-8476117 สานักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวัดนครราชสมี า
ผา้ ไหมมดั หมลี่ ายไก่แกว้ ประวัติความเป็นมา เกิดจากการคิดค้นของบรรพบุรุษภูมิปัญญาของประชาชนอาเภอสีดา ที่จินตนาการจาก ไก่แก้ว ตามตานานท้าวกาพร้า นางสีดา ซึงเป็นโบราณสถานของอาเภอสีดา ซง่ึ นางสีดาเปน็ พระธิดาของทา้ วกะโยงคาพญานาคเจ้าเมืองบาดาล วันหนึ่งแอบขึ้นมาเท่ียวบนโลก มนุษย์ โดยเนรมิตกายให้เป็น “ไก่แก้ว”(ไก่สีขาว) ท้าวกาพร้า (ผู้มีวิชาต่อไก่ บุตรของผัวเมีย กาพรา้ ) ไดม้ าพบไก่แก้ว จึงเขา้ ตอ่ ไกไ่ ลจ่ บั ควา้ ไว้ได้แต่เพียงปลายหางเส้นหนง่ึ ของไก่แก้ว แต่นาง สีดา (ไก่แก้วจาแลง) ก็สามารถหนีลง “รู” กลับไปเมืองบาดาลได้ ปลายขนหางไก่แก้วท่ีท้าว กาพร้านากลับมา ได้ส่งกลิ่นหอมชูฟุ้งไปท่ัวเขตคราม หอมโชยไปจนถึงวังของพญาจา ตูม (พญากุญชโร)พระองค์จึงมีรับส่ังให้ออกตามหาท่ีมาของกลิ่นหอมชู จากตานานซึ่งประชาชน ในอาเภอสีดาไดเ้ ล่าขาน เคารพนบั ถือ จึงนาภาพไก่แก้วในจิตนาการซ่ึงมีความงดงาม หางสวยงาม แวววาว พร้อมมีกลิ่นหอม มาออกแบบเป็นผ้ามัดหมี่ลายไก่แก้ว เป็นผ้าไหมที่มี ลวดลาย เป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นอยู่ในตัว ลวดลายเด่นชัด มีความมันวาว เป็นเงางาม ซึ่ง ประชาชน อาเภอสีดาจะสวมใส่ในโอกาสวันสาคัญต่างๆ งานบุญประเพณีของหมู่บ้าน และงานประจาปี ของอาเภอสีดา ปจั จุบันมีการนามาตัดเป็นชดุ เสอ้ื ผ้าสาเรจ็ รูป จนเป็นผ้าเอกลกั ษณ์ของอาเภอสีดา สานกั งานพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั นครราชสีมา
ผา้ ไหมมดั หม่ีลายไก่แก้ว ขัน้ ตอนการผลติ ๑.คัดเลือกเสน้ ไหมให้มขี นาดสม่าเสมอ เสน้ ไหมต้องสะอาด ๒.นาเส้นไหม มาฟอกแยกกาวเส้นไหม (ด่อง) แกว่งหรือเกลียวเส้นไหมเพ่ือไม่ให้เส้นไหมแตก ๓.นาเส้นไหม ท่ีฟอกแล้วมาย้อมสเี หลือง ประมาณ 30 นาที ล้างสีออกด้วยน้าสะอาด แล้วกระตุกเส้นไหมเพื่อให้ เส้นเหยียดตรง ผ่ึงให้แห้ง ๔.กวักเส้นไหมใส่อัก ๕.ค้นปอยหมี่ ๖.นาเส้นไหมมามัดเป็นลาย ตามทต่ี ้องการ ๗.ย้อมสีปอยหมี่ (ถ้าต้องการหลายสีก็ย้อมหลายคร้ัง) ๘.นาเส้นไหมมาย้อมสี เพ่ือโอบทับลาย แล้วแกะเชือกที่มัดลายออก ตากเส้นไหมให้แห้ง ๙.นาไหมที่เป็นเส้นพุ่งกรอใส่ หลอด ๑๐.นาไหมที่จะใช้เปน็ เส้นยืนย้อมสี และลงแปง้ ๑๑.กรอเสน้ ยืนใส่หลอดเดินเสน้ ยนื ๑๒.นาเส้นไหมเสน้ ยนื ต่อใส่ฟืม ๑๓.ทอตามลวดลาย จุดเด่นผลิตภัณฑ์ ลวดลายผ้าไหมมีความสวยงาม ผสมผสานลวดลายท่ีสืบทอดกันมา แตส่ มยั บรรพบุรุษ เชน่ ลาย คมหา้ คมเก้า ทาให้เกิดลวดลายที่สวยงาม มีเอกลักษณ์ ผ้าแต่ละผืน จะมีลวดลายแตกต่างกันไปตามการออกแบบ ประยกุ ต์ลายเขา้ ด้วยกัน ใช้ไหมพื้นบ้านท่ีเรียบว่าไหม น้อย นาลายผ้าสมัยโบราณมาประยุกต์ ทอผ้าไหมด้วยมือ (HandMade)อันเกิดจากการ ส่งั สมภมู ิปัญญาทางด้านหตั ถกรรมท่ีถา่ ยทอดสืบทอดต่อกนั มารุ่นต่อร่นุ โดยอาศัยการเรียนรู้ภายใน ครอบครวั การแลกเปล่ียนเรียนรรู้ ะหว่างกัน ในกลุม่ และประชาชนในอาเภอสดี า สานักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั นครราชสมี า
ผา้ ไหมลายไขว้ตาล่อง ประวตั ิความเปน็ มา ผ้าไหมลายกุดน้าใส (ไขว้ตาล่อง) เกิดจากงานหัตถศิลป์แห่งวิถีชุมชน ผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอันทรงคุณค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ บ้านกุดน้าใส อาเภอลาทะเมนชัย เปน็ ผา้ ไหมลายน้าที่มลี ายค่ันโดยภาษาถิน่ เรียกว่า “ตาล่อง” หรือ “ซิ่นตาล่อง” ผ้าลายมีสีแตกต่าง กันไปโดยเปรยี บเสมอื นการไหลของน้า จึงนามาประยุกตเ์ ปน็ ลวดลายของผ้าไหม อันเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะทส่ี ืบทอดการทอมาจากบรรพบรุ ุษยาวนานกวา่ 100 ปี สามารถนาไปออกแบบตัดเย็บชุดแต่ง กายตามสมยั นิยมได้อยา่ งสวยงามหรือประยุกตใ์ ชไ้ ด้ในโอกาสตา่ งๆ ไดต้ ามความตอ้ งการ จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ ทอมือด้วยก่ีบ้าน ใช้ไหมเส้นเล็ก เป็นการนาไหมมาหมัดหมี่แล้วทอ ด้วยมือ ลายมีสีที่แตกตา่ ง โดยใช้ 5 สขี น้ึ ไป ซง่ึ สที ใ่ี ช้จะเปน็ สีธรรมชาติ ขั้นตอนการผลิต การทอใช้ไหมพื้นบ้านที่เรียบว่าไหมน้อย ฟอกกาวและทาการตีเกลียว และนาไปทาเปน็ เสน้ ยนื ใชเ้ ส้นไหม 5 สคี น้ เสน้ พุ่ง 1 ใช้ 1 สี ทาไปเร่ือยๆ จนได้ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร สอบถามข้อมูลเพิม่ เตมิ ไดท้ ี่ กลมุ่ ทอผา้ ไหมบา้ นกดุ นา้ ใส โทรศพั ท์ 080-1547269 สานกั งานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั นครราชสีมา
ผา้ ไหมบาติก ประวัตคิ วามเปน็ มา ผ้าบาตกิ โคราช เป็นการนาผา้ ไหมมาเขียนลวดลายด้วยเทียน โดยมีการ นาธรรมชาติใกล้ตัวมาสร้างลวดลาย อย่าง ก้อนหิน ต้นไม้ ใบ และสายน้า โดยจุดเด่นคือลวดลาย บนผ้าน้ันเป็นการนาเอกลักษณ์ของภาคอีสานทั้งวิถีชีวิตและวัฒนธรรมมานาเสนอ การใช้กาว นวตั กรรมแทนการเขยี นเทยี นทาใหเ้ กดิ รอยแตกทส่ี วยงาม สามารถซักออกได้ง่ายและประหยัดเวลา มากกว่า คุณสมบัติพิเศษของกาวชนิดนี้คือ เม่ือข้ึนลายลงสีเรียบร้อย ก็เอากาวออกทาให้เกิดการ “แคลก” (Crack) หรือรอยแตกกระเทาะ ส่ือถึงความเป็นภาคอีสาน เปรียบเสมือนดินที่ แตกระแหง จงึ นามาสรา้ งเรอ่ื งราวผา้ บาตกิ ของตนเอง สู่ “ผา้ บาติกอสี าน” จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ เป็นงานแฮนด์เมดซ่ึงใช้ผ้าไหม 100% มีการออกแบบลวดลาย ท่ีเป็นอตั ลกั ษณเ์ ฉพาะตวั และมีการนามาพฒั นาต่อยอด เช่น กระเปา๋ ผา้ คลมุ่ ไหล่ ชดุ สตรี เปน็ ตน้ สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั นครราชสีมา
ผา้ ซิ่นยวน ประวัติความเป็นมา ผ้ายวนเป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทย ท่ีผูกพันกับการดารงชีวิต ของชาวไทย – ยวน อาเภอสีคิ้ว มาเกือบ ๒๐๐ ปี แต่ก่อนน้ัน ผ้ายวนจะเป็นผ้าที่ใช้นุ่งเฉพาะ ในงานวันสาคัญต่าง ๆ ของหมู่บ้านชุมชนเท่านั้น ผลิตภัณฑ์ผ้ายวน เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีสืบทอด ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษมาตั้งแต่สมัยโบราณ ซ่ึงหมู่บ้านโนนกุ่ม เป็นหมู่บ้านที่แยกออกจาก บ้านสีค้ิว ชาวบ้านส่วนมากเป็นชาวไท - ยวน ซ่ึงหมายถึงชาวไทยภาคเหนือโยนกนคร และจาก การสอบถามได้ความว่า ในสมัยของรัชกาลท่ี ๓ ขณะน้ันเมืองเชียงแสนตกอยู่ในอิทธิพลของพม่า ซ่ึงพม่าอาศัยเมืองเชียงแสนเป็นแหล่งสะสมเสบียงและกาลังพลสาหรับยกกองทัพเข้าตีเมือง ฝ่ายเหนือของไทย ได้ทรงรับส่ังกับพระเจ้าหลานเธอกรมหลวงเทพหริรักษ์ ร่วมกับพระยายมราช จัดกองทพั จากเมืองหลวง ข้นึ ไปสมทบกบั เมืองนครลาปาง กองทพั นครเชียงใหม่ กองทัพนครน่าน และกองทัพนครเวียงจันทร์ เพ่ือเข้าโจมตีเมืองเชียงแสน ซึ่งได้ล้อมเมืองเชียงแสนและตีได้สาเร็จ พมา่ ท่อี ย่ใู นเมอื งเชยี งแสนแตกหนีไป เม่ือหมดหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย จึงไม่ขอกลับบ้านเมืองเดิม พากันตั้งถ่ินฐานเป็นเมืองสืบมาชาวไท - ยวน อาเภอสีค้ิว จึงเป็นเชื้อสายท่ีสืบเนื่องจากชาวเชียง แสนในสมยั นนั้ และได้สบื ทอด รักษาขนบธรรมเนียม ประเพณี และศิลปะ วัฒนธรรมของตนเอาไว้ เช่น ภาษาพูด ศิลปหัตถกรรมการทอผ้าชาวบ้านโนนกุ่ม ก็เป็นหน่ึงหมู่บ้านท่ีได้รับการสืบทอดภูมิ ปัญญาด้านการทอผ้ามาจากบรรพบุรุษชาวโยนกนครท่ีมีความรู้ด้านการทอผ้าของชาวชาว ไท -ยวน ที่เรียกว่า ผ้าซิ่น คาว่าผ้าซิ่น เป็นภาษาทางภาคเหนือ หมายถึง ผ้านุ่ง การทอผ้าของ บ้านโนนกุ่มแรกเร่ิมน้ันเป็นการทอผ้าท่ีทอใช้กันเอง ในหมู่ครอบครัว เรียกชื่อผ้าตามคนทอผ้า ว่า ผ้ายวน ซ่งึ กห็ มายถงึ ผ้าของชาวโยนกนคร (ไท –ยวน) สานักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวดั นครราชสมี า
ผา้ ซ่นิ ยวน ข้ันตอนการผลิต 1.นาด้ายสีพื้นมาป่ันใส่หลอดเล็ก 2.นาด้ายหลอดเล็กมาใส่กระสวย 3. หมุนเพลาด้ายให้ตึงแล้วใช้ไม้ค้า 4.กระตุกหูกระต่ายเพื่อให้กระสวยท่ีใส่หลอดด้ายพุ่งมา อีกดา้ นหน่งึ พร้อมกับกระทบฟนั หวีเขา้ มา แล้วสลบั เท้าเหยยี บ สลบั มือกระตุก แล้วเริม่ ทอ การพัฒนาต่อยอด มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จนได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มผช. ตลอดจน มชี อ่ งทางการจาหนา่ ยบนเวบ็ ไซต์ OTOP Today ,Facebook , เปิดหน้าร้าน , งานจัดแสดง และจาหน่ายสินค้าต่างๆ , สามารถหาซ้ือได้ท่ีกลุ่มทอผ้าบ้านโนนกุ่ม อาเภอสีคิ้ว และในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความทันสมัยท่ีหลากหลายและตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าผ้ายวนของ ชาวไท ยวน ได้มีการพัฒนาลวดลายและต่อยอดผา้ ยวนเปน็ ลายตา่ งๆ ดังนี้ 1.ผา้ ยวนยกดอก ๓ ตะกอ 2.ผา้ ยวนยกดอก ๔ ตะกอ 3.ผา้ ลายชอ่ ทพิ ย์ 4.ผา้ ยวนประยกุ ต์ 5.ผ้าลายสายรุ้ง 6.ผ้ายวนยอ่ ส่วน 7.ผ้ายวนลายอภสั รา สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั นครราชสีมา
ผ้าเง่ียงนางดา ประวัติความเปน็ มา ผ้าเงี่ยงนางดา เป็นผ้าฝ้ายพื้นเมืองทอมือ เอกลักษณ์ของชาวอาเภอ สูงเนนิ ทีส่ บื ทอดกันมาต้ังแต่อาณาจักรศรีจนาศะ อาณาจักรเก่าแก่ใน อ.สูงเนิน ท่ีมีคนไทยโคราช และคนลาวอพยพมาจากเวียงจันทร์ ประเทศลาว มาอาศัย ท่ีมาของผ้าเง่ียงนางดา คาว่า เงี่ยง มีความหมายว่า การแกะเอาเส้นด้ายสอดแทรกเข้าไปในเน้ือผ้า นางดา หมายถึง ผ้าที่มีสีดา หรือ สีทึบ เง่ียงนางดา ความหมายในภาษาถ่ินของ อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา ที่มีการผสมผสานใน เรื่องของภาษา และวัฒนธรรมท้องถ่ิน ซ่ึงจะเรียก สีดา หรือ สีทึบ ว่า นางดา ผ้าเงี่ยงนางดา จึงเป็นผ้าสาหรับใช้ในชีวิตประจาวันของอาเภอสูงเนิน เนื่องจากมีน้าหนักเบาไม่หนามาก เวลาสวมใสจ่ ะรู้สึกสบาย แต่ถา้ เป็นงานสาคญั จะนยิ มสวมใส่ผ้าเง่ยี งนางดาทีท่ อมาจากผา้ ไหม จดุ เดน่ ผลติ ภณั ฑ์ ฝ้ายท่ีจะใช้ทอต้องนามามัดโดยการใช้เส้นฝ้าย 3 เส้น 3 สี มาพันรวมกัน ให้เป็นเส้นเดียวแล้วจึงนามาถักทอเป็นผืน ประกอบด้วยส่วนแรก เป็นพกสีแดงสอดลายแนวตั้ง ด้วยฝา้ ยสเี หลอื งขาว ซ่งึ ย้อมดว้ ยแก่นยอปา่ หรือครงั่ สอดลายแนวตั้งด้วยด้ายมัดมัยสีเหลืองขาว ยอ้ มมาจากแก่นขนนุ ส่วนทีส่ อง เป็นผ้าพืน้ ยอ้ มครามสอดเส้นด้ายสแี ดง สว่ นที่สาม เป็นชายผ้าถุง ทอด้วยดา้ ยเป็นแถบลายขวางสดี าย้อมดว้ ยลกู มะเกลอื หรอื สีแดง สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา
ผา้ เงย่ี งนางดา ขน้ั ตอนการผลติ 1. นาด้ายหลากสี ป่ันใส่หลอด 2. นาหลอดด้ายไปตั้งกับเครอ่ื งตง้ั หลอด โดยเรียงให้เป็นลวดลายตามต้องการ 3. เริ่มดงึ หรือสาวดา้ ยใส่หลกั เพอื่ วัดระยะความยาวของผืนผ้า 4.นาด้ายร้อยฟันหวี 5.นาขามว้ นใสห่ ัวม้วนเรียงเส้นด้ายผ่านฟันหวี 6.เกบ็ ตะกอ และเรมิ่ ทอ การพัฒนาต่อยอด ผ้าเง่ียงนางดา ชนิดทอเป็นผืน จาหน่าย เมตรละ 225 บาท สาหรับ นาไปตัดเยบ็ เพอ่ื สวมใส่ ในโอกาสต่างๆ และไดพ้ ัฒนาตอ่ ยอดผลิตภัณฑ์ ลวดลายให้มีความทันสมัย สีสันสวยงาม ประยุกต์ให้เข้ากับยุคสมัยมากขึ้น โดยทอเฉพาะส่วนท่ีสองเป็นพ้ืนสองลายแต่คงไว้ ซ่ึงอัตลักษณ์เดิม และมีการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ท่ีมีความสวยงาม เช่น เสื้อบุรุษ สตรี ของชาร่วย กระเป๋าจากผ้าเงี่ยงนางดา ท่ีมีความสวยงาม ทันสมัย สามารถหาซื้อได้ท่ี สานักงาน เทศบาลอาเภอสงู เนนิ หรอื สัง่ ซอื้ ท่ี Facebook ผา้ เง่ยี งนางดา ช่องทางไลน์ และทางโทรศพั ท์ สานกั งานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัดนครราชสมี า
คณะผ้จู ัดทา นายวิเชยี ร จันทรโณทัย ผูว้ า่ ราชการจงั หวัดนครราชสีมา นางปิยะฉัตร อนิ สวา่ ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสมี า นายจรสั ชยั โชคเรอื งสกุล รองผูว้ า่ ราชการจังหวดั นครราชสีมา นายอภนิ ันท์ เผอื กผ่อง รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา นายศักดสิ์ ิทธิ์ สกลุ ลิขเรศสีมา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา นางอรุณรัตน์ ชงิ ชนะ พัฒนาการจังหวัดนครราชสมี า นายวรนฐั ตริ ประเสรฐิ สนิ ผู้อานวยการกลุม่ งานส่งเสริมการพฒั นาชุมชน นางสาวธนกิ า ปกั การะโน นักวิชาการพฒั นาชุมชนชานาญการ นางสาวเบญจลกั ษณ์ กาลจักร นกั สง่ เสรมิ การพัฒนาชมุ ชน
จดั ทาโดย สานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา โทรศพั ท์ 044-242991 โทรสาร 044-243610
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: