จดั พิมพ์ : มนี าคม 2562
จรรยาบรรณองคก์ ร บรษิ ทั กลุ่มเซ็นทรลั คณะกรรมการบรษิ ทั กลมุ่ เซน็ ทรลั มเี จตนารมณท์ จี่ ะสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้ บรษิ ทั กลมุ่ เซน็ ทรลั มกี ารก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี สามารถด�ำ เนนิ ธรุ กจิ ไดย้ ง่ั ยนื อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ มคี วามยตุ ธิ รรม โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และมคี วามรบั ผดิ ชอบทดี่ ที งั้ ตอ่ ผู้ถอื ห้นุ ลูกค้า คู่คา้ ผู้บรหิ าร พนกั งาน และสังคมโดยรวม คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้กำ�หนดจรรยาบรรณกรรมการและผู้บริหาร เพอ่ื ใหก้ รรมการและผบู้ รหิ ารทกุ คนของบรษิ ทั กลมุ่ เซน็ ทรลั ไดย้ ดึ ถอื และปฏบิ ตั อิ ยา่ ง เครง่ ครดั จริงจัง เนอ่ื งจากจรรยาบรรณนเ้ี ปน็ สว่ นทเี่ พมิ่ เตมิ ขน้ึ นอกเหนอื จากระเบยี บขอ้ บงั คบั ประกาศหรอื ค�ำ สง่ั อน่ื ๆ ของบรษิ ทั ดงั นนั้ หากขอ้ ความใดในระเบยี บขอ้ บงั คบั ประกาศ หรอื คำ�สงั่ อ่ืนๆ ของบรษิ ัทฯ ขัดแยง้ กบั จรรยาบรรณน้ี ให้ใชจ้ รรยาบรรณน้ีแทน สง่ั ณ วนั ที่ 1 มกราคม 2559 (นายสุทธชิ ยั จริ าธิวฒั น)์ ประธานกรรมการบรษิ ัทกลุม่ เซ็นทรลั
ตลอด 70 ปี Central Groupในการด�ำ เนนิ ธุรกิจส่ิงที่ ปลกู ฝังและถ่ายทอดจากรนุ่ ส่รู นุ่ คืออะไร “สง่ิ ทคี่ ณุ เตยี งไดใ้ หโ้ อวาทแกพ่ วกเรามาตลอด สงั่ สอนมา คอื ตอ้ งไมเ่ บยี ดเบยี นหรอื เอาเปรยี บผอู้ น่ื คือ การท่ีเราจะคิดจะทำ�อะไรก็ตาม เราต้องมี เพอ่ื ใหต้ วั เองไดด้ ี ตอ้ งมคี วามซอ่ื สตั ย์ และใหค้ วาม จริยธรรม น่ันคือ จะต้องซ่ือสัตย์ต่อตนเองและ เปน็ ธรรมกบั สงั คม หากไมค่ �ำ นงึ ถงึ จรยิ ธรรมเหลา่ น้ี ซื่อสัตย์ต่อผู้อื่น ส่ิงสำ�คัญที่ท่านเน้นเป็นอย่างมาก ความม่ันคงและความย่ังยืนของธุรกิจจะไม่ยืนยาว คือ จะต้องไม่ทำ�อะไรที่ผิดศีลธรรม ผิดกฎหมาย นานแน่นอน ทุกวันนี้สิ่งเหล่านี้ได้ถ่ายทอดจากรุ่น หรอื ท�ำ ธรุ กจิ ทส่ี งั คมรงั เกยี จ เชน่ เปดิ บอ่ นการพนนั สรู่ ุ่นได้โดยไมย่ าก เพราะส่วนใหญ่ กพ็ รอ้ มปฏิบตั ิ หรอื ท�ำ กจิ การบรกิ ารทข่ี ดั กฎหมายและสงั คม เปน็ ตน้ ตามอย่างเคร่งครัด ทั้งน้ีจากการได้เห็นตัวอย่าง เมอ่ื ตระกลู จริ าธวิ ฒั น์ เรม่ิ มธี รุ กจิ ทเ่ี ปน็ หลกั แหลง่ ทด่ี จี ากรนุ่ ก่อนๆ ทไี่ ดเ้ ร่ิมท�ำ มา แน่นอนเป้าหมายสูงสุดของการดำ�เนินธุรกิจก็คือ สุดท้ายน้ี ผมดีใจที่เห็นกลุ่มเซ็นทรัล การแสวงหาก�ำ ไร การแขง่ ขนั กต็ อ้ งมี แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี ประสบความสำ�เร็จในธุรกิจตลอด 70 ปีท่ีผ่านมา เมอ่ื ท�ำ ธรุ กจิ สงิ่ ทเี่ ราค�ำ นงึ อยา่ งมาก คอื ท�ำ อยา่ งไร หากบรรพบุรุษคุณเตียง คุณสัมฤทธิ์ คุณวันชัย ใหธ้ รุ กจิ อยไู่ ด้ คคู่ า้ อยไู่ ด้ และพนกั งานทกุ คนกต็ อ้ ง ท่ีได้เร่ิมต้นธุรกิจนี้ สามารถรับรู้ความสำ�เร็จของ อยู่ได้ด้วย สรปุ ก็คอื ทกุ ฝ่ายตอ้ งอยู่รว่ มกนั ได้ กลุ่มเซ็นทรัลในปัจจุบันนี้แล้ว ท่านคงจะยิ่งภูมิใจ และชื่นชมในความเจริญก้าวหน้าของพวกเราเป็น ในทางจริยธรรมทางธุรกิจ เราก็คำ�นึงผล ทสี่ ดุ และในโอกาสน้ี ผมตอ้ งขอชมเชยและขอบคณุ กระทบตา่ งๆ เช่น กระทำ�การใดๆ ท�ำ ใหผ้ ้คู า้ ขาย ฝ่ายบริหารท่ีเก่ียวข้องทุกท่าน ตลอดจนพนักงาน ขนาดเลก็ ตอ้ งลม้ หายตายจากไป โดยการเขา้ ไปแยง่ ทุกท่านท่ีทำ�ให้เราได้มีความสำ�เร็จอันย่ิงใหญ่ ตลาดท่ีเขาคา้ ขายเพือ่ ความอยูร่ อดอย่แู ล้ว เป็นตน้ ในวนั น้ี ผมหวงั วา่ ปตี ่อๆ ไป ก็จะเหน็ ความยิ่งใหญ่ เราไม่เห็นแก่ได้ที่จะทำ�ให้อีกฝ่ายเดือดร้อน ไม่ใช่ ข้ึนอีกของกล่มุ เซน็ ทรัลตลอดไป” เพราะความใจดที ท่ี �ำ อยา่ งนน้ั แตเ่ ปน็ จรยิ ธรรมทถ่ี กู *บทสัมภาษณ์ ณ วนั ท่ี 17 สงิ หาคม 2560 หนังสือ Central Group People
“ จริยธรรมทถี่ กู สง่ั สอนมา คอื ตอ้ งไมเ่ บียดเบียนหรอื เอาเปรยี บผอู้ น่ื เพ่ือใหต้ ัวเองได้ดี“ ต้องมีความซ่ือสัตย์ และให้ความเป็นธรรมกับสงั คม หากไม่คำ�นึงถึงจรยิ ธรรมเหล่านี้ ความม่นั คงและความยั่งยืนของธุรกิจจะไม่ยนื ยาวนานแนน่ อน คุณสทุ ธชิ ัย จิราธิวฒั น์ ประธานกรรมการบรษิ ทั กล่มุ เซ็นทรัล
ontent C สารบัญ 8หมวดท่ี 1 16 การปฏิบตั ิตนในหน้าที่ หมวดท่ี 2 การให้ความสำ�คัญตอ่ ลกู คา้ หมวดท่ี 3 22การรักษาผลประโยชนข์ องบรษิ ทั ฯ หมวดท่ี 4 34 การปฏบิ ตั ติ นตอ่ สังคม หมวดที่ 5 44 แนวปฏบิ ตั ิหากพบเหน็ การกระท�ำ ที่ไมเ่ ปน็ ไปตามจรรยาบรรณของบริษัทฯ
01หมวดท่ี
1 การปฏิบัติตน ในหนา้ ท่ี
ปฏิบตั ิหนา้ ทีต่ ามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั 1.1 และนโยบายต่างๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง แนวปฏบิ ตั ิ ตวั อยา่ งสถานการณ์ 1. ผู้บรหิ ารและพนักงานทุกคนตอ้ งท�ำความเข้าใจ มผี ปู้ ระกอบการขายรถยนตร์ ายหนง่ึ ตดิ ตอ่ ขอเชา่ พน้ื ที่ และปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับหน้าที่ บางส่วนของซูเปอร์มาร์เก็ตที่ว่างอยู่ ซ่ึงปัจจุบันไม่ และความรับผิดชอบของตนอย่างรอบคอบ ได้ใช้ประโยชน์อะไร โดยจะท�ำเป็นโชว์รูมรถยนต์ โดยถือว่าเป็นหน้าที่ร่วมกันของทุกคนเพ่ือ และจะจา่ ยคา่ เชา่ ใหแ้ กบ่ รษิ ทั ฯ ในราคาทเ่ี หมาะสม ปอ้ งกนั แก้ไข มิให้บริษทั ฯไดร้ ับความเส่ียงจาก ผลกระทบหรือมีความเสี่ยงจากโทษกรณีฝ่าฝืน คำ� แนะนำ� กฎหมาย ทงั้ ทางแพง่ และอาญา หากจะมีการประกอบกิจการอื่นใดในสถานท่ี 2. เม่ือต้องปฏิบัติงานในต่างประเทศหรืองาน ประกอบการของบริษัทฯ ต้องตรวจสอบให้แน่ใจ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานในต่างประเทศ ว่าสามารถด�ำเนินการได้โดยไม่ขัดกับกฎหมาย ผู้บริหารและพนักงาน ควรศึกษากฎหมาย และลักษณะธุรกิจท่ีจะด�ำเนินการต้องไม่ก่อให้ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของ เกิดสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติภัย ประเทศนั้นๆ ก่อนด�ำเนินการใดๆ ที่เก่ียวข้อง หรืออันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้ท่ี กับธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อไม่ให้ขัดกับกฎหมาย เกี่ยวข้องหรือผู้ที่อยู่ในบริเวณน้ัน รวมทั้งต้อง ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ได้รับการอนุมัติโดยผู้มีอ�ำนาจ และมีการก�ำหนด ของประเทศน้นั ๆ ผ้รู ับผิดชอบอย่างชดั เจน 3. ผู้บริหารและพนักงานต้องไม่สนับสนุนหรือ มอบหมายให้บุคคลใดกระท�ำการละเมิด กฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั และนโยบายตา่ งๆ ทีก่ �ำหนดไว้ 4. ผบู้ รหิ ารและพนกั งานตอ้ งหลกี เลยี่ งการมสี ว่ นรว่ ม ในกจิ กรรมใดๆ ทขี่ ดั ตอ่ กฎหมายหรอื การกระท�ำ ที่อาจเส่ือมเสียต่อช่ือเสียงและภาพลักษณ์ของ บริษทั ฯ อยา่ งรา้ ยแรง 12
ปฏิบตั ิหนา้ ทดี่ ้วยความเปน็ มืออาชีพอยา่ งมีวิสยั ทศั น์ 1.2 จรยิ ธรรม ซื่อสตั ย์ สจุ รติ รอบคอบ ระมดั ระวงั และพรอ้ ม รบั มอื กบั ความเสย่ี งทงั้ ปวงอนั อาจจะเกดิ ข้นึ เพือ่ ประโยชน์ สูงสดุ ของบริษัทฯ และผมู้ ีส่วนได้เสยี ที่เก่ียวข้อง โดยคำ� นึงถงึ ความเจรญิ เตบิ โตอยา่ งมน่ั คงยง่ั ยนื ของบรษิ ทั ฯ เปน็ หลกั แนวปฏิบัติ 7. ผู้บริหารและพนักงานต้องป้องกันและควบคุม ความเสี่ยงท่ีอาจก่อให้เกิดความสูญเสียอันเน่ือง 1. ผบู้ รหิ ารและพนกั งานปฏบิ ตั ติ นใหเ้ ปน็ ทน่ี า่ เชอ่ื ถอื มาจากอุบตั เิ หตุ การบาดเจบ็ ทรัพยส์ ินสูญหาย และไวว้ างใจ ยดึ มน่ั ในสญั ญาหรอื ขอ้ ตกลงทม่ี ตี อ่ หรือเสียหาย หรือความเจ็บป่วยจากการ ผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ อย่างเคร่งครัด กรณีที่ ปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานไม่ถูกวิธี และความ ไม่สามารถปฏิบัติได้ควรรีบหารือร่วมกันเพ่ือ ผิดพลาดอ่นื ๆ ที่อาจเกดิ ข้ึนกบั ตนเองและผูอ้ ืน่ หาแนวทางแก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดความ 8. ผู้บริหารและพนักงานควรยอมรับและสนับสนุน เสียหายต่อบรษิ ทั ฯ การเปลี่ยนแปลง หากน�ำมาซ่ึงสิ่งท่ีดีต่อทั้ง 2. ผู้บริหารและพนักงานปฏิบัติหน้าท่ีโดยค�ำนึงถึง บริษทั ฯ หรอื พนักงานโดยรวม ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้งานบรรลุ เปา้ หมายอย่างดที สี่ ุด ตวั อยา่ งสถานการณ์ 3. ผบู้ รหิ ารและพนกั งานปฏบิ ตั หิ นา้ ทโี่ ดยรกั ษาและ พฒั นามาตรฐานการทาํ งานทด่ี เี พอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพ หอ้ งจดั เกบ็ สนิ คา้ มพี น้ื ทจี่ �ำกดั ประกอบกบั พนกั งาน การทาํ งานใหด้ ียง่ิ ข้ึน ทม่ี หี นา้ ทห่ี ยบิ สนิ คา้ เตมิ บนชนั้ วางขายสนิ คา้ มหี ลายคน 4. ผู้บริหารและพนักงานให้ความร่วมมือท่ีดีกับ ดังนัน้ จงึ มีโอกาสทส่ี นิ คา้ หมดอายรุ อน�ำไปท�ำลาย ทุกหน่วยงาน เพื่อความก้าวหน้าของงานและ อาจวางอยใู่ นบรเิ วณเดยี วกบั สนิ คา้ ทม่ี ไี วเ้ พอื่ ขายได้ บรรลเุ ปา้ หมายของบรษิ ัทฯ 5. เมื่อพบเห็นส่ิงผิดปกติในบริษัทฯ ผู้บริหารและ คำ� แนะนำ� พนักงานต้องแจ้งผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงาน ท่ีรบั ผดิ ชอบทราบโดยเร็ว ควรติดป้ายให้เห็นชัดเจนว่าบริเวณใดเป็นสินค้า 6. ผบู้ รหิ ารและพนกั งานตอ้ งไมเ่ พกิ เฉย และกลา้ แสดง หมดอายุท่ีรอการน�ำไปท�ำลาย และพนักงานท่ีมี ความเห็นหรือทักท้วง เม่ือพบเห็นการกระท�ำ หนา้ ทหี่ ยบิ สนิ คา้ เตมิ บนชนั้ วางขายสนิ คา้ ควรตรวจ ในสิง่ ท่ีไม่ถกู ตอ้ ง ไม่เป็นธรรม สอบใหแ้ นใ่ จวา่ สนิ คา้ ทห่ี ยบิ ไปวางขายนนั้ ยงั ไมห่ มด อายุ เพอ่ื ป้องกันความผดิ พลาดทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ได้ 13
1.3 อทุ ศิ และทุ่มเทเวลา เพอ่ื การปฏิบัตหิ นา้ ทข่ี องตน ดว้ ยความมงุ่ มน่ั อย่างเตม็ กำ� ลงั ความรู้ ความสามารถ สตั ยซ์ อื่ ตอ่ ความรบั ผดิ ชอบทม่ี ี ขยนั ตรวจตรางาน ขวนขวายหาความรคู้ วามเขา้ ใจ เพม่ิ เติมอยู่เสมอ แนวปฏิบัติ ตวั อยา่ งสถานการณ์ 1. ผู้บริหารและพนักงานมุ่งสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ พนกั งานไปพกั ผอ่ นในวนั หยดุ กบั ครอบครวั ภายใน เพ่ือพัฒนางานของตนเองและบริษัทฯ ศูนย์การค้าของบริษัทฯ และบังเอิญพบว่า อยา่ งสม่ำ� เสมอ เกดิ ปญั หาทอ่ น�ำ้ ร่วั ภายในศนู ยฯ์ โดยทีย่ ังไม่มีผใู้ ด 2. ผบู้ รหิ ารและพนกั งานตอ้ งหมนั่ ทบทวนเปา้ หมาย สงั เกตเหน็ จงึ ยังไม่มีการด�ำเนินการใดๆ ผลงาน วิธีการปฏิบัติงานและประเมินผลงาน ของตนเองและทมี งานอยา่ งสมำ่� เสมอตรงไปตรงมา ค�ำแนะนำ� 3. ผบู้ รหิ ารและพนกั งานตอ้ งหมน่ั ศกึ ษาและเปดิ รบั ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์เพ่ือน�ำมาพัฒนางาน พนักงานท่านนั้นไม่ควรนิ่งดูดาย ถึงแม้จะไม่ได้ ของตนและบริษทั ฯ ให้ดียงิ่ ขึน้ มีหน้าท่ีโดยตรงในการดูแลศูนย์ฯ ดังกล่าว ก็ควร 4. ผู้บริหารและพนักงานต้องสร้างบรรยากาศ ให้ความช่วยเหลือ โดยการแจ้งผู้ท่ีรับผิดชอบ การท�ำงานให้เกิดการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ให้รับทราบเพื่อด�ำเนินการแก้ไขปัญหาอย่าง และความรซู้ ง่ึ กนั และกัน ทันท่วงที 5. ผู้บรหิ ารและพนกั งานใส่ใจดูแลตัวเองให้เป็นสุข เบิกบาน พร้อมต่อการท�ำงานด้วยความ กระฉับกระเฉงและความรับผิดชอบ รู้จักสร้าง สมดลุ ในชวี ิตการท�ำงานและชวี ิตสว่ นตัว 6. ผู้บริหารและพนักงานต้องมีน�้ำใจช่วยเหลือ เกื้อกูลผู้ร่วมงาน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักให้อภัย เสยี สละประโยชน์ส่วนตนเพื่อส่วนรวม 14
สัมพนั ธภาพกบั ผูร้ ่วมงานและผ้เู ก่ียวขอ้ ง 1.4 ปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผรู้ ว่ มงาน ผบู้ งั คบั บญั ชา ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชา ลกู คา้ คคู่ า้ ผถู้ อื หนุ้ และชมุ ชน ดว้ ยความออ่ นนอ้ ม โอบออ้ ม อารี มีน้ำ� ใจ สจุ ริตใจ ให้เกยี รติ เคารพในสิทธิและศกั ด์ศิ รี รับฟงั อดทน หนักแนน่ ม่ันคง ไม่ลแุ ก่อ�ำนาจ เป็นแบบ อย่างที่ดี แนวปฏิบตั ิ 5. ผู้บริหารและพนักงานควรรับฟังความคิดเห็น ของผอู้ นื่ เพอื่ พฒั นาการท�ำงานและผลของงานให้ 1. ผู้บริหารและพนักงานให้ความเคารพนับถือและ ดยี ง่ิ ขน้ึ ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายด้วยความเป็น ธรรมบนพ้ืนฐานของศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ตวั อยา่ งสถานการณ์ ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่แบ่งแยกถ่ินก�ำเนิด เช้ือชาติ เพศ อายุ สีผิว ศาสนา การแสดงออกทาง เกิดเหตุเศรษฐกิจของประเทศถดถอย ท�ำให้ก�ำลัง ความคดิ สภาพรา่ งกาย ฐานะ ชาตติ ระกูล ซ้อื ของผู้บรโิ ภคลดนอ้ ยลงอยา่ งมาก สง่ ผลกระทบ 2. ผบู้ รหิ ารและพนกั งานตอ้ งแสดงความรบั ผดิ ชอบ ต่อการค้าโดยท่ัวไปของร้านค้าเช่าภายใน ในการกระท�ำท้ังของตนเองและทีมงานอย่าง ศูนย์การค้าของบริษัทฯ จนกระท่ังมีเสียงบ่นว่าถึง เปิดเผยและจริงใจ พร้อมทั้งร่วมแก้ไขเม่ือมี ผู้บรหิ ารศนู ยก์ ารคา้ ฯ วา่ การค้าขายไมด่ ี ขอ้ ผดิ พลาดเกดิ ขนึ้ 3. ผู้บริหารและพนักงานต้องไม่กล่าวโทษหรือ คำ� แนะนำ� ให้ร้ายผู้อื่นด้วยข้อความอันเป็นเท็จ ท้ังต่อหน้า และลบั หลงั ผบู้ รหิ ารศนู ยก์ ารคา้ ควรรบั ฟงั ปญั หาของรา้ นคา้ เชา่ 4. ผู้บริหารและพนักงานควรแจ้งแหล่งที่มาหรือ ดว้ ยความเข้าใจ และใช้กริ ิยาวาจาท่สี ุภาพ โดยไม่ ช่ือเจ้าของความคิด ข้อมูลหรือผลงานที่น�ำมา ถอื ตนวา่ เปน็ เจา้ ของพนื้ ท่ี เพอื่ ใหก้ �ำลงั ใจรา้ นคา้ เชา่ ใช้ประโยชน์ โดยจะต้องไม่ละเมิดสิทธิของ ให้สามารถผ่านพ้นวิกฤตไปไดด้ ว้ ยดี เจา้ ของงานนนั้ 15
การรักษาความยุติธรรม 1.5 ปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเทยี่ งธรรมและใหค้ วายตุ ธิ รรมตอ่ ทกุ คน เสมอเหมอื นกนั เชน่ มคี วามกลา้ ทจี่ ะลงโทษผทู้ ก่ี ระทำ� ผดิ พจิ ารณาใหบ้ �ำเหนจ็ ความชอบตามผลงาน สง่ เสรมิ พนกั งานทม่ี คี วามสามารถให้ข้ึนดำ� รงต�ำแหน่งทเ่ี หมาะสม และแสดงความรับผดิ ชอบทจี่ ะไมป่ ลอ่ ยใหม้ กี ารเลอื กปฏบิ ตั ิ และการลว่ งละเมดิ ใดๆ ในขอบเขตอ�ำนาจหน้าทขี่ องตน แนวปฏิบตั ิ 1. ผู้บังคบั บัญชาควรพจิ ารณาให้บ�ำเหน็จความชอบตามผลงาน เพื่อส่งเสรมิ พนักงานท่ีมคี วามสามารถได้ ขน้ึ ด�ำรงต�ำแหน่งทเ่ี หมาะสม 2. ผู้บังคับบัญชาต้องตรวจสอบและควบคุมไม่ปล่อยให้มีการเลือกปฏิบัติและการล่วงละเมิดสิทธิใดๆ ในขอบเขตอ�ำนาจหน้าทข่ี องตนและที่เกย่ี วข้องกับการปฏิบตั ิงาน 3. ผู้บังคับบัญชาควรพิจารณาลงโทษผู้ท่ีกระท�ำความผิดตามระเบียบวินัยและข้อบังคับการท�ำงาน ของบรษิ ทั ฯ 16
ตวั อยา่ งสถานการณ์ พนักงานท่านหน่ึงมีผู้ใหญ่ที่นับถืออยากให้ลูก เข้าท�ำงานกับบริษัทฯ ในแผนกท่ีพนักงานดูแล รับผิดชอบ จึงขอให้พนักงานท่านน้ีช่วยรับลูก เข้าท�ำงานกับบริษัทฯ คำ� แนะนำ� แนะน�ำให้ลูกของผู้ใหญ่ท่านน้ันส่งใบสมัครงาน ตามช่องทางและขั้นตอนที่บริษัทฯ ก�ำหนด โดยพนักงานควรเปิดเผยความสัมพันธ์กับผู้สมัคร นั้นให้ผู้บังคับบัญชาของตนและคณะกรรมการ คดั เลอื กทา่ นอนื่ รบั ทราบ และไมเ่ ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มใน การพิจารณาคัดเลือกครั้งนี้ หากพนักงานมีความ จ�ำเป็นต้องเก่ียวข้องในกระบวนการพิจารณา คดั เลอื กพนกั งานจะตอ้ งพจิ ารณาคณุ สมบตั ิ ความรู้ ความสามารถของผสู้ มคั รอยา่ งเปน็ ธรรม เพอื่ คดั เลอื ก บุคคลที่เหมาะสมกับต�ำแหน่งหน้าที่ท่ีต้องการ อย่างแทจ้ รงิ 17
02หมวดที่
กตารใ่อห้คลวากูมสคำ�คัญา้
2.1 มุ่งม่นั ท่ีจะเสรมิ สร้างและรักษาความเชื่อถอื ไว้วางใจและ ความภักดขี องลูกคา้ ของบรษิ ัทฯ เหนือส่ิงอน่ื ใด โดยจะไมห่ ย่อนยาน และตอ้ งคำ� นึงถงึ ความปลอดภยั และ สวสั ดิภาพของลกู ค้า ปรับปรุงคุณภาพของสินค้า บรกิ าร และนวัตกรรมท่นี �ำเสนออยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ใหอ้ ยใู่ นระยะเวลาและ มาตรฐานทกี่ ำ� หนด แนวปฏบิ ตั ิ ตวั อยา่ งสถานการณ์ 1. พนกั งานตอ้ งใหข้ อ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งดว้ ยความเตม็ ใจ ผจู้ ดั การสาขาไดร้ บั ค�ำแนะน�ำจากลกู คา้ ผา่ นทางสอ่ื และรบั ฟังความคดิ เหน็ ของลกู ค้า และน�ำเสนอ สังคมออนไลน์ส่วนตัว ถึงการได้รับสินค้าที่ไม่ได้ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาและผบู้ รหิ ารทราบ เพอื่ ปรบั ปรงุ คุณภาพ อีกทั้งพนักงานหน้าร้านไม่ได้ให้ค�ำชี้แจง แก้ไขใหม้ ีการพัฒนาทีด่ ีข้ึน อย่างเหมาะสม จึงท�ำให้ลูกค้าไม่ได้รับการเปลี่ยน 2. พนักงานต้องรักษาค�ำมั่นสัญญาท่ีให้ต่อลูกค้า สนิ ค้าตามทค่ี วรจะได้ เพอื่ สร้างความเชือ่ ม่ันและไว้วางใจ 3. พนักงานต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัยของลูกค้า คำ� แนะนำ� และปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ของสนิ คา้ และบรกิ าร ผู้จัดการสาขาต้องรีบด�ำเนินการน�ำข้อมูลจากสื่อ 4. พนักงานต้องให้ความส�ำคัญต่อมาตรฐาน สังคมออนไลน์ดังกล่าวมาสอบถามพนักงาน คุณภาพของสินค้าและบริการ เพ่ือรักษาความ ที่เก่ียวข้อง เพื่อหาสาเหตุท่ีแท้จริงของปัญหา เชื่อถือไว้วางใจและความผูกพันของลูกค้า หลังจากนั้น ต้องตอบชแ้ี จงลูกคา้ ภายในระยะเวลา อย่างย่งั ยนื ที่เหมาะสมเพื่อให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจ 5. ผบู้ รหิ ารและพนกั งานตอ้ งศกึ ษาหาความรใู้ หมๆ่ นอกจากน้ี หากสาเหตขุ องสนิ คา้ ทไี่ มไ่ ดค้ ณุ ภาพมา อีกท้ังรับฟังความคิดเห็นของลูกค้า เพื่อน�ำไป จากการผลติ ของคคู่ า้ ผจู้ ดั การสาขาควรแจง้ ปญั หา สกู่ ารสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมใหมๆ่ และการพฒั นา ดังกล่าวให้กับฝ่ายจัดซ้ือรับทราบ เพื่อให้คู่ค้า สนิ ค้าและบรกิ ารทต่ี อบสนองความตอ้ งการของ ปรบั ปรงุ คณุ ภาพของสนิ คา้ ใหด้ ขี น้ึ หรอื รบั คนื สนิ คา้ ลูกคา้ อย่างเหนือความคาดหมาย 20
รับฟังความคิดเห็นของลูกค้าอย่างจริงจัง จัดการกับ 2.2 ข้อร้องเรียนอย่างเป็นธรรมภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ปกป้องและรับผิดชอบตอ่ ข้อมูลเกี่ยวกบั ลูกคา้ แนวปฏบิ ตั ิ ตวั อยา่ งสถานการณ์ 1. พนกั งานควรรับฟงั ความคิดเหน็ ของลกู คา้ อยา่ ง ลูกค้าแจ้งข้อร้องเรียนผ่านสาย Hot Line โดย สุภาพ และแสดงความจริงใจในการด�ำเนิน กลา่ วอา้ งวา่ พนกั งานพดู จาไมส่ ภุ าพและแสดงกริ ยิ า การแกไ้ ข ก้าวร้าวโดยการกระชากสินค้าจากมือลูกค้า และ 2. พนกั งานมีความกระตอื รอื ร้นในการรบั ฟังความ ต้องการให้พนักงานคนดังกล่าวพ้นสภาพการเป็น คิดเห็นของลูกค้า และให้ค�ำชี้แจงภายในระยะ พนกั งานของบรษิ ทั เวลามาตรฐานท่ีก�ำหนดไว้ 3. พนักงานไม่ควรเปิดเผยข้อมูลของลูกค้านอก คำ� แนะนำ� สถานที่ท�ำงาน หรอื แก่บุคคลภายนอกทอ่ี าจจะ ผจู้ ดั การสาขาควรตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ จากพนกั งาน กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ลกู คา้ ได้ และมรี ะบบ ที่เก่ียวข้องและพยานหลักฐานต่างๆ เพ่ือให้ได้ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ของลกู คา้ ทมี่ นั่ ใจไดว้ า่ จะไมม่ ี ข้อมูลที่เป็นความจริง ก่อนการตัดสินใจหรือ การน�ำขอ้ มลู ไปใช้ในทางที่ไม่เหมาะสม การด�ำเนินการใดๆ เพ่ือให้เกิดความเป็นธรรมแก่ 4. พนกั งานควรปฏบิ ัตติ ่อลกู ค้าอย่างเท่าเทยี มกนั ทั้งฝ่ายลูกค้าและพนักงาน และแจ้งผลการด�ำเนิน 5. พนกั งานควรแจง้ ชอ่ งทางการรอ้ งเรยี นใหล้ กู คา้ ทราบ การใหล้ ูกค้าทราบภายในระยะเวลาทเ่ี หมาะสม และใส่ใจแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง เพื่อสร้าง ความพงึ พอใจใหก้ ับลกู คา้ 21
ควบคมุ ดแู ลใหก้ ารตดิ ฉลาก การโฆษณา และการสอ่ื สาร 2.3 รูปแบบอื่นๆ ของบริษัทฯ ถกู ต้อง ชัดเจน ตรงไปตรงมา แนวปฏบิ ตั ิ ตวั อยา่ งสถานการณ์ 1. พนกั งานควรตรวจสอบขอ้ มลู ในฉลาก การโฆษณา หวั หนา้ แผนกอาหารสดเหน็ วา่ พนกั งานก�ำลงั เปลย่ี น การสื่อสารตา่ งๆ ให้ถูกตอ้ ง ป้ายวันที่หมดอายุบนสินค้าอาหารแช่แข็ง เพราะ 2. พนักงานควรตอบสนองอย่างทันท่วงทีหากพบ เหน็ วา่ สนิ คา้ ยงั สามารถขายตอ่ ไดอ้ กี จงึ เปลยี่ นปา้ ย ขอ้ มลู ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง เชน่ ฉลากหรอื ปา้ ยจดั รายการ ยืดวนั ท่หี มดอายุออกไปอกี 5 วัน ลดราคาสนิ คา้ ไมถ่ กู ตอ้ งตามทก่ี ฎหมายก�ำหนด หรอื ไมต่ รงตามความเปน็ จรงิ และแจง้ ปญั หาให้ คำ� แนะนำ� ผู้ท่ีเก่ียวข้องทราบเพ่ือด�ำเนนิ การแกไ้ ข 3. การท�ำสอ่ื โฆษณาต้องไม่เกนิ ความเป็นจริง และ หัวหน้าแผนกอาหารสดควรตักเตือนพนักงานให้ ต้องปฏิบัติได้ตามที่สื่อสารออกไป การแสดง ทราบถึงความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้าท่ี ราคา ตอ้ งชัดเจนและถูกต้อง อาจส่งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของลกู ค้า และแนะน�ำ ให้พนักงานเข้าใจข้ันตอนการท�ำงานของบริษัทฯ วา่ สนิ คา้ ทห่ี มดอายคุ วรน�ำไปท�ำลายหรอื รบี จ�ำหนา่ ย ออกไปเสยี 22
ดำ� เนนิ ธรุ กจิ โดยเคารพความเชอ่ื ทางวฒั นธรรมและ 2.4 จรยิ ธรรมของสงั คม แนวปฏบิ ตั ิ ตวั อยา่ งสถานการณ์ 1. ผบู้ รหิ ารและพนกั งานควรตระหนกั ถงึ การด�ำเนนิ ผจู้ ดั การสาขาพบวา่ บนชนั้ วางขายอาหาร มเี นอ้ื สตั ว์ ธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน บางประเภทที่ไม่สอดคล้องหรือขัดต่อความเชื่อ โดยค�ำนงึ ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ทางวฒั นธรรมของคนสว่ นใหญท่ อี่ าศยั อยใู่ นบรเิ วณ 2. การด�ำเนินธุรกิจควรพิจารณาให้ความร่วมมือ/ ทีร่ า้ นค้าของบริษทั ฯ ตัง้ อยู่ ความช่วยเหลือท่ีเหมาะสมแก่กิจกรรมต่างๆ ของชมุ ชน เพอ่ื เสริมสรา้ งความยงั่ ยืนของธรุ กิจ คำ� แนะนำ� 3. การด�ำเนินธุรกิจควรค�ำนึงถึงจริยธรรม เช่น การไม่น�ำสินค้าหมดอายุมาขาย การก�ำหนด ผู้จัดการสาขาต้องพิจารณาว่า ควรน�ำสินค้าออก ราคาสินค้าที่ยุติธรรมและเหมาะสมกับคุณภาพ จากชนั้ วางสนิ คา้ หรอื ไม่ อยา่ งไรกด็ ี หากยงั มคี วาม หรือการขายสินค้าที่ไม่ขัดต่อความเช่ือทาง จ�ำเปน็ ตอ้ งจดั จ�ำหนา่ ยสนิ คา้ ดงั กลา่ ว ตอ้ งพจิ ารณา วฒั นธรรมและจรยิ ธรรมของสงั คม จดั วางสนิ คา้ ในบริเวณทีเ่ หมาะสม 23
3หมวดที่
ขกาอรรกั งษบาผรลปิษระโัทยชน์
สนบั สนนุ และกำ� กบั ดแู ลใหบ้ รษิ ทั ฯ และหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ 3.1 ดำ� เนนิ ธรุ กจิ ดว้ ยความโปรง่ ใส ไมม่ กี ารทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ อกี ทง้ั สื่อสารให้ลูกคา้ คู่คา้ /ผรู้ บั เหมา/ซพั พลายเออร/์ คูส่ ญั ญาทราบด้วยวา่ บริษทั ฯ คาดหวังให้พนักงานทุกคน ปฏิบัตติ นตามมาตรฐานบรรษทั ภิบาล แนวปฏบิ ัติ 4. ฝา่ ยบรหิ ารสอื่ สารนโยบายการก�ำกบั ดแู ลกจิ การ ที่ดี มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปช่ันและ 1. คณะกรรมการของบรษิ ทั ในกลมุ่ เซน็ ทรลั ก�ำหนด แนวปฏบิ ตั ไิ ปยงั ทกุ บรษิ ทั ในกลมุ่ เซน็ ทรลั ลกู คา้ นโยบายและก�ำกับดูแลให้องค์กรมีระบบการ คู่ค้า ผู้รับเหมา/คู่สัญญา ผู้ขายสินค้า/บริการ ควบคุมภายในท่ีสนับสนุนการก�ำกับดูแลกิจการ และผมู้ ีส่วนได้เสยี รวมทง้ั สาธารณชน ผ่านช่อง ที่ดี รวมถึงการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นท่ีมี ทางการส่อื สารที่หลากหลาย เพื่อให้รบั ทราบถึง ประสิทธิภาพ เพื่อให้ม่ันใจว่าฝ่ายบริหารได้ มาตรฐานบรรษทั ภบิ าลขององคก์ ร ตระหนักและให้ความส�ำคัญกับการก�ำกับดูแล 5. คณะกรรมการของบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลน�ำ กิจการท่ีดี และต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น หลักการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีมาปรับใช้ และ รวมถงึ การปลกู ฝงั จนเปน็ สว่ นหนง่ึ ของวฒั นธรรม เข้าร่วมแสดงเจตนารมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติ องค์กร ส�ำหรับต่อต้านการทุจริตคอร์รัปช่ันร่วมกับ 2. ฝา่ ยบรหิ ารก�ำหนดใหม้ กี ระบวนการสง่ เสรมิ และ องคก์ รวชิ าชพี ที่ได้รับการยอมรบั สนบั สนนุ นโยบายการก�ำกบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี และ มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปช่ัน และ ส่ือสารไปยงั พนกั งานและผมู้ สี ว่ นไดเ้ สียทกุ ฝ่าย 3. ฝ่ายบริหารจัดให้มีมาตรการต่อต้านการทุจริต คอรร์ ปั ชน่ั ตลอดจนมาตรการลงโทษทางวนิ ยั ตอ่ พนักงาน (กรณีปรากฎหลักฐานชัดเจน) อีกทั้ง การส่ือสารและฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องแก่ พนักงานเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่าง แทจ้ รงิ เกย่ี วกบั นโยบายการก�ำกบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี 26
ตวั อย่างสถานการณ์ 1 ตัวอย่างสถานการณ์ 2 บริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ผู้จัดการฝ่ายการตลาดของบริษัทในเครือท่านหนึ่ง ได้เข้าร่วมลงนามเพื่อประกาศเจตนารมณ์เป็น มอี �ำนาจหนา้ ทใ่ี นการคดั เลอื กผใู้ หบ้ รกิ ารท�ำโฆษณา แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน ประชาสัมพันธ์แก่กิจการ ปรากฏว่าผู้จัดการท่าน การทจุ รติ ซ่ึงสนับสนุนโดยสมาคมสง่ เสรมิ สถาบัน ดงั กล่าวตัดสนิ ใจเลือกผใู้ ห้บริการรายหนง่ึ ซงึ่ ทา่ น กรรมการบรษิ ทั ไทย ในขณะทีบ่ ริษทั จ�ำกดั ยังไม่ได้ คุ้นเคยและช่ืนชมกับการให้บริการในอดีต โดยไม่ รับการผลกั ดนั ใหเ้ ขา้ ร่วม ตอ้ งผา่ นขน้ั ตอนการประกวดราคาหรอื กระบวนการ คัดเลอื กเพอื่ ประโยชน์สูงสดุ ขององค์กร คำ� แนะนำ� คำ� แนะน�ำ บรษิ ทั ในกลมุ่ เซน็ ทรลั ทไ่ี มไ่ ดอ้ ยใู่ นตลาดหลกั ทรพั ยฯ์ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ฝา่ ยการตลาดควรก�ำหนดระเบยี บ ควรเขา้ รว่ มแสดงเจตนารมณเ์ ปน็ แนวรว่ มปฏบิ ตั ใิ น และกระบวนการคัดเลือกผใู้ ห้บริการท่ีให้ประโยชน์ การต่อต้านคอร์รัปชั่น ร่วมกับสมาคมส่งเสริม สูงสดุ แกอ่ งคก์ ร และมีมาตรการก�ำกบั ดแู ลให้ผูใ้ ต้ สถาบันกรรมการบริษทั ไทย ซง่ึ ไดร้ บั ความรว่ มมือ บังคับบัญชาถือเป็นแนวทางปฏิบัติอย่างโปร่งใส จากหอการค้าไทย หอการค้านานาชาติ สมาคม เปน็ ธรรม และสามารถตรวจสอบได้ ซงึ่ เปน็ หลกั การ บริษัทจดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย ของการก�ำกบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี สภาธุรกิจตลาดทุนไทย สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทยและสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย เพื่อให้บริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล มีนโยบายและแนวปฏิบัติในการต่อต้านทุจริต คอร์รปั ชนั่ ท่เี ข้มแขง็ และเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน 27
3.2 คิดถงึ ประโยชนข์ องบรษิ ัทฯ เป็นหลกั แมต้ ้องเสยี สละ ประโยชนส์ ว่ นตัว หลีกเลย่ี งการประพฤติปฏบิ ตั ิทีม่ ี ความขัดแยง้ ทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ ไมว่ า่ ทางตรง หรือทางออ้ ม เชน่ ไมป่ ระกอบกจิ การส่วนตัวที่แข่งขนั กบั บริษัทฯ ไมฉ่ กฉวยโอกาสทางธุรกิจของบรษิ ัทฯ ไปเปน็ ของตนเอง แนวปฏิบตั ิ 3. กรรมการ ผู้บรหิ าร และพนกั งานพงึ ละเว้นการ ใช้ความรู้ทางธุรกิจที่ได้มาจากการปฏิบัติหน้าที่ 1. กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องประเมนิ ในการท�ำธุรกิจเพ่ือประโยชน์ของตนเองหรือท�ำ ตนเองอยู่เสมอว่า ตนเองมีส่วนได้เสีย หรือ ธุรกิจทเี่ ปน็ ลักษณะคา้ แข่งกบั ธุรกิจของบริษัทฯ ผลประโยชน์ขัดกันในการปฏิบัติงานหรือไม่ 4. กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องไม่รับ หากพบว่า ตนเองมีส่วนได้เสียหรือผลประโยชน์ ท�ำงานให้องค์กรอ่ืนที่เป็นคู่แข่งขัน หรืออาจก่อ ขัดกัน ในการปฏิบัติงานใดแล้ว พึงงดเว้น ให้เกิดผลประโยชน์ขัดแย้งกับบริษัทในกลุ่ม การปฏิบัตงิ านนน้ั และให้ผอู้ นื่ เขา้ มารบั ผดิ ชอบ เซน็ ทรลั ไมว่ า่ จะเปน็ การปฏบิ ตั งิ านชว่ั คราวหรอื แทนตน ถาวร เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา 2. กรรมการ ผ้บู รหิ าร และพนักงานพึงเสนอขอ้ มูล หรอื ผูม้ ีอ�ำนาจ โอกาสทางธุรกิจที่ตนได้รับรู้มาเนื่องจากการ ปฏิบัติหน้าท่ีให้บริษัทได้พิจารณาตัดสินใจ รวมทงั้ ไมป่ กปดิ ขอ้ มลู และฉกฉวยโอกาสดงั กลา่ ว ในการด�ำเนินธุรกิจเพ่ือประโยชน์ของตนเอง หรอื ผอู้ น่ื 28
ตัวอย่างสถานการณ์ คำ� แนะนำ� ผู้จัดการเขตของร้านอาหารแห่งหนึ่งของบริษัทฯ ผู้จัดการเขตควรเสนอโอกาสในการเปิดร้านอาหาร ได้รู้สูตรและวิธีการท�ำอาหารซึ่งถือเป็นความลับ ให้แก่บริษัทฯ ทันทีที่ทราบข้อมูล และไม่น�ำเอา ทางการค้าของบริษัทฯ รวมถงึ รูแ้ หลง่ ซือ้ วตั ถุดิบใน ความรเู้ กย่ี วกบั สตู รอาหาร ขอ้ มลู หรอื แหลง่ วตั ถดุ บิ พ้นื ทที่ ่ตี นเองรบั ผิดชอบเปน็ อยา่ งดี อีกทงั้ ยังร้วู า่ ใน ท่ีตนได้รับอันเนื่องมาจากการเป็นพนักงานบริษัทฯ พ้ืนท่ีนั้นมีโอกาสในการเปิดร้านอาหารในลักษณะ ไปใช้ในการท�ำธุรกิจของตนเอง แม้ว่าบริษัทฯ เดยี วกบั รา้ นอาหารของบรษิ ทั ฯ ใหป้ ระสบความส�ำเรจ็ จะยงั ไมส่ นใจเปดิ รา้ นอาหารในพนื้ ทดี่ งั กลา่ วกต็ าม และบรษิ ทั ฯ เองยงั ไมม่ รี ้านอาหารในพน้ื ท่ีนนั้ และหากมขี อ้ ร้องเรียนเกี่ยวกบั การท�ำธรุ กิจทข่ี ดั ตอ่ ประโยชนข์ องบรษิ ทั ฯ พนกั งานตอ้ งพรอ้ มใหบ้ รษิ ทั ฯ ตรวจสอบวา่ มกี ารท�ำธรุ กจิ ดงั กลา่ วจรงิ หรอื ไม่ และ ท�ำใหบ้ ริษทั ฯ ต้องเสียประโยชน์อย่างไรบา้ ง 29
3.3 ไมใ่ ชอ้ ำ� นาจหนา้ ทขี่ องตนแสวงหาผลประโยชนส์ ว่ นตวั และ พรรคพวก เชน่ ไมก่ ระท�ำธรุ กรรมในนามบริษทั ฯ ที่อาจเก้อื ให้เกดิ ผลประโยชนส์ ว่ นตวั ไม่ใช้ตำ� แหน่งหนา้ ทขี่ องบรษิ ัทฯ เพอ่ื รบั ผลประโยชนอ์ น่ื ใดจากผรู้ บั เหมา/ซพั พลายเออร์ ฯลฯ แนวปฏิบตั ิ 1. กรรมการ ผ้บู รหิ าร และพนกั งาน รวมถงึ บคุ คล 3. กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานต้องปฏิบัติ ผมู้ คี วามเกย่ี วดองในครอบครวั กบั บคุ คลดงั กลา่ ว ด้วยความระมัดระวังเก่ียวกับการรับ/เรียกรับ สามารถท�ำธรุ กรรมทม่ี ขี อ้ ตกลงทางการคา้ ทว่ั ไป ผลประโยชนใ์ นทกุ รปู แบบ เชน่ ของขวญั ของฝาก ทว่ี ญิ ญชู นจะพงึ กระท�ำกบั บรษิ ทั ในกลมุ่ เซน็ ทรลั บัตรราคาแพงส�ำหรับชมกีฬา/การแสดง หรือ โดยปราศจากการใช้อทิ ธพิ ลของบุคคลดงั กลา่ ว การเลยี้ งรบั รองโดยผรู้ บั เหมา/ซพั พลายเออร์ ฯลฯ 2. กรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งาน ตอ้ งไมแ่ ทรกแซง วา่ ตอ้ งไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ หรือใช้อิทธิพลของตน เข้าช่วยเหลือพรรคพวก กับบริษัท และไม่ขัดต่อระเบียบและแนวปฏิบัติ ผู้ทเ่ี ก่ยี วดองกับตนเอง หรือบคุ คลอ่นื ใด ใหเ้ ขา้ ของบริษทั ทป่ี ระกาศไว้โดยชัดแจ้ง เป็นบุคลากรของบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล เว้นแต่ เป็นการรับบุคลากรอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม โดยค�ำนึงถงึ คุณสมบัติเปน็ ส�ำคญั 30
ตวั อยา่ งสถานการณ์ 1 ตวั อย่างสถานการณ์ 2 ผู้จัดการฝ่ายขายซ่ึงมีอ�ำนาจในการท�ำสัญญาขาย ผู้บรหิ ารระดบั สูงของบริษทั ในเครือแห่งหนึ่ง ได้รบั สนิ คา้ /บรกิ ารกบั เอเยน่ ตห์ รอื ตวั แทนจ�ำหนา่ ย มกั ได้ การเชิญจากบริษัทผู้จัดจ�ำหน่ายไวน์ซ่ึงเป็นคู่ค้า รับของขวัญ/ของฝากจากตัวแทนจ�ำหน่ายรายหนึ่ง ของบริษัทฯ ให้ไปเยี่ยมชมไร่องุ่นที่ต่างประเทศ อยู่บ่อยครั้ง ท�ำให้มีความสนิทสนมกันเป็นพิเศษ โดยคคู่ า้ ดงั กลา่ วรบั ผดิ ชอบออกคา่ ใชจ้ า่ ยใหท้ ง้ั หมด ซึ่งส่งผลให้ตัวแทนจ�ำหน่ายรายนั้นได้รับเง่ือนไข ซึ่งผู้บริหารก็ตอบรับค�ำเชิญและยังได้ร้องขอให้ ทางการคา้ ดกี วา่ รายอนื่ ทงั้ ดา้ นราคาและระยะเวลา คู่คา้ ช่วยออกคา่ ใช้จ่ายให้กบั ภรรยาของตนเองด้วย การจา่ ยช�ำระหนี้ อนั ท�ำใหบ้ รษิ ทั ฯ เสยี ผลประโยชน์ ที่ควรจะได้ และยังก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกัน ระหวา่ งตัวแทนจ�ำหน่ายแตล่ ะรายด้วย ค�ำแนะน�ำ ค�ำแนะน�ำ ผู้จัดการฝ่ายขายควรปฏิเสธการรับของขวัญ/ของ ผู้บริหารระดับสูงที่ได้รับค�ำเชิญต้องเสนอเร่ืองให้ ฝาก หรือทรัพย์สินอ่ืนใด ที่ขัดต่อระเบียบและ ผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื หนว่ ยงานสว่ นกลางพจิ ารณาคดั แนวปฏบิ ตั ขิ องบรษิ ทั ฯ แตห่ ากไมส่ ามารถปฏเิ สธได้ เลือกบุคลากรที่มีความเหมาะสมกับการเข้าเย่ียม ต้องรายงานผู้บังคับบัญชาให้รับทราบ เพ่ือแสดง ชมไร่องุ่นของคู่ค้า เพื่อให้สามารถน�ำความรู้ ให้เห็นถึงความโปร่งใส และเพ่ือให้เกิดการจัดสรร และประสบการณ์ในการเย่ียมชมมาใช้ให้เป็น ของขวัญ/ของฝากให้แก่พนักงานท่านอื่นๆ อย่าง ประโยชน์กบั บริษัทฯ นอกจากน้ี บรษิ ทั ฯ ควรเปน็ ผู้ ยตุ ธิ รรม ออกค่าใช้จ่ายให้พนักงานเอง หากเห็นว่าการเข้า เยี่ยมชมดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ และ ต้องไม่ร้องขอให้คู่ค้าออกค่าใช้จ่ายให้กับบุคคลอ่ืน ที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องอันอาจส่งผลให้คู่ค้าคิดราคา ไวน์กับบริษัทฯ สูงขึ้นเน่ืองจากมีต้นทุนเพิ่ม และ ท�ำให้เสียภาพลกั ษณ์ขององคก์ รด้วย 31
3.4 ไม่ซ้อื ขาย โอน รับโอนหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ โดยอาศัย ประโยชน์จากข้อมลู ภายในทยี่ ังไมเ่ ปดิ เผยเพื่อประโยชน์ แกต่ นเองหรอื ผู้อ่นื แนวปฏิบตั ิ ตัวอยา่ งสถานการณ์ 1. หากยังไม่มีการเปิดเผยต่อสาธารณะ ห้าม เลขานกุ ารผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของ Business Unit แหง่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงาน เปดิ เผยข้อมลู หน่ึง ได้เข้าร่วมประชุมแผนกลยุทธ์ 5 ปี ของ ใดๆ ท่ีอาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของ CENTRAL Group ท�ำให้ได้รับทราบข้อมูลว่า บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ของกลุ่ม CENTRAL Group มีแผนการลงทุนในศูนย์การค้า เซ็นทรัล ต่อบุคคลภายนอกหรือบุคคลที่ไม่มี และหา้ งสรรพสนิ คา้ แหง่ ใหมภ่ ายในปหี นา้ ซง่ึ ขอ้ มลู หนา้ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ มลู ดังกลา่ ว ดงั กลา่ วยงั ไมถ่ กู เผยแพรต่ อ่ สาธารณะ และผบู้ รหิ าร 2. หากยังไม่มีการเปิดเผยต่อสาธารณะ ห้าม ระดับสูงในท่ีประชุมคาดการณ์ว่ามูลค่าหุ้นของ กรรมการ ผบู้ รหิ าร หรอื พนกั งาน รวมถงึ คสู่ มรส บรษิ ทั ทจ่ี ดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ หนง่ึ ของ และบตุ รทยี่ งั ไมบ่ รรลนุ ติ ภิ าวะของบคุ คลดงั กลา่ ว CENTRAL Group มแี นวโนม้ ทจ่ี ะสงู ขนึ้ อยา่ งแนน่ อน ใชข้ ้อมลู ภายในในการซอ้ื ขาย โอน รับโอนหลกั เลขานุการคนดังกล่าวจงึ อยากซอื้ หนุ้ ของบรษิ ทั นน้ั ทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ โดยเรว็ ของกลุม่ เซ็นทรัล โดยมิชอบ คำ� แนะน�ำ เลขานกุ ารผบู้ รหิ ารระดบั สงู คนดงั กลา่ วจะตอ้ งไมใ่ ช้ ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู ในการซอ้ื ขายหลกั ทรพั ย์ อกี ทง้ั ต้องไม่น�ำไปเปิดเผยกับบุคคลที่เช่ือว่าอาจจะน�ำไป ใช้ในการซ้ือขายหลักทรัพย์ จนกว่าข้อมูลจะถูก เปดิ เผยผา่ นระบบของตลาดหลกั ทรพั ย์ เพอ่ื ใหท้ กุ คน ได้ทราบข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน มิฉะนั้นจะเป็น ความผิดตามกฎหมายเก่ียวกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งได้มีบทบัญญัติเพิ่มเติม มาตรการลงโทษทางแพ่งด้วย นอกเหนือจากโทษ ทางอาญา 32
การให/้ รับสนิ บน 3.5 ไม่กระทำ� หรอื เขา้ ไปมีสว่ นเก่ียวขอ้ งกบั การรับหรือใหท้ รพั ย์สิน หรอื ผลประโยชน์ใดๆ ที่ไมส่ ุจริตกับผู้มีส่วนไดเ้ สยี ที่เก่ยี วขอ้ งกบั บรษิ ัทฯ เช่น ไม่ให้มกี ารจา่ ยหรือรับสนิ บน ไมว่ ่าจะเปน็ ตวั เงินหรอื ผลประโยชน์อนื่ ใดในอนั ทีจ่ ะสง่ ผลใหก้ ารดำ� เนนิ ธรุ กจิ ลลุ ว่ ง แนวปฏบิ ตั ิ 3. ฝ่ายบริหารต้องมีการประเมินความเสี่ยงอย่าง เหมาะสมและกาํ หนดมาตรการควบคมุ ภายในที่ 1. กรรมการ ผบู้ ริหาร และพนักงาน ต้องไม่ด�ำเนนิ รัดกุมมีรายละเอียดท่ีชัดเจนเก่ียวกับค่าอํานวย หรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการทุจริตคอร์รัปชั่น ความสะดวก ของขวัญ ค่ารับรอง การบริจาค การให้/รับสินบนทุกรูปแบบ ท้ังทางตรงและ เพอื่ การกศุ ลและเพอื่ พรรคการเมอื ง เปน็ ตน้ โดย ทางอ้อม เพ่ือจูงใจให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือ จะต้องแยกแยะให้ชัดเจนระหว่างการให้ตาม เอกชน กระท�ำการ/ไม่กระท�ำการ เร่งรัดหรือ ประเพณี วฒั นธรรม และมารยาททางสงั คม กบั ประวงิ การกระท�ำอันมิชอบในหนา้ ท่ี การให้เพื่อเป็นสินบนเพื่อป้องกันมิให้มีการรับ/ 2. กรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งานตอ้ งไมเ่ รยี กรบั จ่ายสนิ บน หรือการทุจรติ คอรร์ ัปช่นั ใดๆ รับหรือยอมรับผลประโยชนใ์ ดๆ โดยมิชอบหรือ 4. ฝ่ายบริหารควรมกี ารยกยอ่ งหรอื ชน่ื ชมพนกั งาน ทุจริต ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม จากลูกค้า ที่ปฏิเสธการรับ/จ่ายสินบน หรือการทุจริต คคู่ า้ ผรู้ บั เหมา คสู่ ญั ญา ผขู้ ายสนิ คา้ /บรกิ าร คแู่ ขง่ คอร์รัปช่ันใดๆ รวมท้ังควรมีมาตรการทางวินัย หรือผู้มีส่วนได้เสียกับบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล และด�ำเนินการอย่างจริงจังต่อผู้ท่ีฝ่าฝืน แม้ว่า รวมถงึ ผแู้ ทนของบคุ คลเหลา่ นน้ั ไมว่ า่ ในกรณใี ด การกระท�ำผดิ ดงั กลา่ วจะท�ำใหบ้ รษิ ทั ฯ ไดร้ บั ผล อันอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการตัดสินใจหรือ ประโยชนก์ ต็ าม การใช้อ�ำนาจหนา้ ที่ 33
ตัวอยา่ งสถานการณ์ 1 ตวั อย่างสถานการณ์ 2 ผูจ้ ัดการโครงการของบรษิ ัทฯ ทา่ นหนึ่ง ได้รับมอบ บริษทั ในเครือแห่งหน่ึง ซึ่งมีธรุ กิจน�ำเขา้ สนิ คา้ จาก หมายให้ดูแลโครงการก่อสร้างของบริษัทฯ ที่ ต่างประเทศ มีความต้องการให้น�ำสินค้าออกจาก ต่างจังหวัด ซึ่งมีก�ำหนดเปิดให้บริการโดยเร็วท่ีสุด ท่าเรือโดยเร็วท่ีสุด เพ่ือให้ทันก�ำหนดการเปิดตัว เท่าที่จะเป็นไปได้ ผู้รับเหมาหลักของโครงการได้ สินค้าในสัปดาห์ท่ีจะมาถึง แต่บริษัท Shipping แจ้งผู้จัดการโครงการดังกล่าวว่าการขอใบอนุญาต แจ้งว่าเอกสารยังไม่เรียบร้อย และถ้าเจ้าหน้าท่ี กอ่ สรา้ งตอ้ งใชเ้ วลาหลายเดอื น ซง่ึ อาจสง่ ผลกระทบ ศลุ กากรเปดิ ตรวจตคู้ อนเทนเนอร์ อาจเป็นเหตุให้ ท�ำให้งานก่อสร้างแล้วเสร็จล่าช้ากว่าก�ำหนด สนิ คา้ มโี อกาสทจ่ี ะถกู อายดั ไวท้ คี่ ลงั พกั สนิ คา้ ซง่ึ จะ จึงเสนอให้มีการจ่ายเงินพิเศษแก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐ มีผลกระทบท�ำให้ไม่สามารถผ่านพิธีการศุลกากร เพ่อื เร่งรัดให้การออกใบอนญุ าตรวดเรว็ กว่าปกติ ทันเวลา บริษัท Shipping จึงแนะน�ำให้จ่ายเงิน พเิ ศษแกเ่ จา้ หนา้ ทเี่ พอ่ื ใหไ้ ดร้ บั สนิ คา้ ทนั ตามก�ำหนด ค�ำแนะนำ� คำ� แนะน�ำ ผจู้ ดั การโครงการและทมี งานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ควรมกี าร บริษัทฯ ควรด�ำเนินการแก้ไขเอกสารให้ครบถ้วน วางแผนงานล่วงหน้า เพื่อให้การด�ำเนินการลุล่วง ถูกต้องโดยเร็ว และยินยอมจ่ายค่าธรรมเนียมพัก ไปตามก�ำหนดการ อย่างไรกด็ ี หากประสบปญั หา สนิ คา้ เพม่ิ เตมิ จนกวา่ เอกสารจะเรยี บรอ้ ย แตบ่ รษิ ทั ฯ เรอ่ื งการออกใบอนญุ าต โดยไมไ่ ดม้ กี ารวางแผนงาน จะไมย่ นิ ยอมจา่ ยเงนิ พเิ ศษใหแ้ กเ่ จา้ หนา้ ท่ี เนอื่ งจาก ลว่ งหนา้ ผ้จู ดั การโครงการและทมี งานต้องมีความ การกระท�ำดังกล่าว เป็นความผิดตามกฎหมาย รบั ผิดชอบตอ่ บริษทั ฯ และบรษิ ทั ฯ ควรยินยอมให้ ท่บี ัญญตั ิและมผี ลใชบ้ ังคบั ในขณะนน้ั โครงการลา่ ชา้ เพื่อให้กระบวนการออกใบอนญุ าต เป็นไปตามขั้นตอนและระเบียบของทางราชการ ท้งั นี้ หากมกี ารจา่ ยเงนิ พิเศษ จะเปน็ ความผิดตาม กฎหมายที่บัญญตั แิ ละมีผลใช้บงั คบั ในขณะนั้น 34
ไมก่ ระทำ� หรอื เขา้ ไปมสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั การปฏบิ ตั อิ น่ื ใด 3.6 ซง่ึ ไมเ่ ปน็ ไปในครรลองทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน บรรษทั ภบิ าล แนวปฏิบตั ิ คณะกรรมการของบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล พึงก�ำกับดูแลกิจการเพ่ือสร้างคุณค่าแก่กิจการอย่างย่ังยืน และพึงหลีกเลี่ยงการกระท�ำท่ีจะก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบต่อความยั่งยืนของกิจการ โดยต้องยึดม่ัน ในมาตรฐานบรรษัทภิบาล เพอื่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายขององค์กรดังตอ่ ไปนี้ 1. สามารถแข่งขันได้และมผี ลประกอบการที่ดโี ดยค�ำนงึ ถงึ ผลกระทบในระยะยาว 2. ประกอบธุรกิจอยา่ งมีจรยิ ธรรม เคารพสิทธแิ ละมคี วามรับผิดชอบตอ่ ผถู้ ือหนุ้ และผู้มสี ว่ นไดเ้ สีย 3. เป็นประโยชน์ต่อสงั คม และพฒั นาหรือลดผลกระทบในดา้ นลบตอ่ ส่ิงแวดล้อม 4. สามารถปรับตวั ไดภ้ ายใต้ปจั จัยการเปล่ยี นแปลง 35
4หมวดท่ี
ตกอ่ ารสปฏงั บิ คัติตมน
การวางตวั ในสงั คม 4.1 รักษาเกียรตขิ องตนให้เป็นท่ยี อมรับในสงั คม วางตัวใหเ้ หมาะสมกับบทบาทหนา้ ท่ี กาลเทศะ และภาพลกั ษณข์ องบรษิ ัทฯ แนวปฏบิ ัติ ตวั อย่างสถานการณ์ 1. พนกั งานทกุ ระดบั ตอ้ งปฏบิ ตั ติ นใหเ้ หมาะสมและ บริษัทฯ มอบหมายให้ไปงานเลี้ยงฉลองผลิตภัณฑ์ ใหเ้ กยี รติ ทัง้ ตอ่ ลกู คา้ เพือ่ นรว่ มงาน ผู้บังคบั ใหม่ร่วมกับคู่ค้า ซึ่งมีการเล้ียงสุราอย่างดี ท�ำให้ บัญชา และผู้ใต้บังคับบัญชา ทั้งในและนอก พนักงานบางคนด่ืมมากจนเกิดอาการเมา พูดจา สถานท่ีท�ำงาน เสียงดัง เป็นจุดสนใจของผู้ร่วมงานท่านอ่ืนและ 2. พนักงานต้องให้ความส�ำคัญกับการสวม ถกู วพิ ากษว์ จิ ารณถ์ งึ ความไมเ่ หมาะสมของพนกั งาน เคร่ืองแบบบริษัทฯ เพื่อรกั ษาภาพลักษณ์ ทัง้ ใน คนดงั กล่าว และนอกเวลาปฏบิ ัติงาน 3. พนักงานทุกระดับต้องปฏิบัติตนให้เหมาะสม คำ� แนะน�ำ กับบทบาทและหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย โดยค�ำนึงถึงภาพลกั ษณข์ องบริษทั ฯ อยู่เสมอ การไปร่วมงานเลยี้ งฉลองในนามบรษิ ทั ฯ พนกั งาน ไมว่ า่ จะระดบั ใดกถ็ อื เปน็ ตวั แทนของบรษิ ทั ฯ จงึ ตอ้ ง รักษาภาพลักษณ์ของตนเองและบริษัทฯ อยู่เสมอ พึงรักษากิริยาให้สุภาพและไม่ดื่มของมึนเมา ในระดบั ทไี่ มส่ ามารถควบคมุ สตขิ องตนเองได้ 38
การสอ่ื สารกบั สาธารณะ 4.2 ใหเ้ฉพาะผเู้กยี่ วขอ้ งที่ไดร้ บั มอบหมายเทา่ นน้ั เปน็ ผู้ใหส้ มั ภาษณห์ รอื ให้ข่าวแกส่ ่อื มวลชน แนวปฏบิ ัติ 1. การเผยแพร่หรือให้ข่าวสารแก่ส่ือมวลชนในนามบริษัทฯ จะต้องเป็นผู้ท่ีได้รับมอบหมาย จากบริษัทฯ เทา่ นน้ั หากไม่ไดร้ บั มอบหมายต้องปฏเิ สธการให้สัมภาษณแ์ ละแนะน�ำใหต้ ิดตอ่ ผูท้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย 2. ผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากบริษัทฯ ต้องให้ข้อมูลข่าวสารท่ีได้รับการอนุมัติหรือเห็นชอบจากบริษัทฯ เทา่ นน้ั และตอ้ งไม่แสดงความเห็นสว่ นตัวในการสมั ภาษณห์ รือให้ข่าว ตัวอยา่ งสถานการณ์ 1 ตวั อย่างสถานการณ์ 2 ผู้ส่ือข่าวขอข้อมูลทางธุรกิจและความเห็นส่วนตัว ลกู คา้ ซง่ึ เปน็ ดาราลน่ื ลม้ ในพนื้ ทก่ี ารใหบ้ รกิ าร ท�ำให้ เก่ียวกับการขยายสาขาของบริษัทฯ จากพนักงาน มีผู้สื่อข่าวมาขอสัมภาษณ์พนักงานขายและ ท่รี บั ผิดชอบ พนกั งานรักษาความปลอดภัยบรเิ วณน้ัน ค�ำแนะนำ� ค�ำแนะนำ� พนักงานท่ีไม่ไดร้ ับมอบหมายให้มีหน้าที่รบั ผดิ ชอบ แม้จะอยู่ในพ้ืนที่เกิดเหตุ พนักงานท่ีไม่มีหน้าที่ ต้องปฏิเสธการให้ข่าวสารและความเห็นส่วนตัว รับผิดชอบต้องปฏิเสธการให้ข่าวสารและความเห็น แก่ผู้สื่อข่าวทันที และแนะน�ำให้ติดต่อกับผู้ท่ีได้รับ ส่วนตัวแก่ผู้สื่อข่าว เน่ืองจากข้อมูลที่ให้อาจไม่ มอบหมายจากบรษิ ัทฯ ครบถ้วนหรือคลาดเคลื่อนจากความเปน็ จริง ซงึ่ จะ ส่งผลกระทบต่อบริษัทฯ ส่วนผู้ที่ได้รับมอบหมาย จากบรษิ ทั ฯ โดยตรงต้องมกี ารสอื่ สารอยา่ งรวดเร็ว 39
การรกั ษาความลบั ของบรษิ ทั ฯ 4.3 รกั ษาขอ้ มูลความลับของบรษิ ทั ฯ ขอ้ มลู ทางธรุ กจิ ข้อมลู ทรัพย์สินทางปญั ญาของบริษทั ฯ และรวมถึงข้อมลู ของผมู้ ีส่วนไดเ้ สยี กบั บริษทั ฯ (“ขอ้ มลู ”) อยา่ งเคร่งครัด โดยไม่ใหข้ ้อมูลร่วั ไหลไปยงั บคุ คลอื่นท่ีไมเ่ กย่ี วข้องหรือ บุคคลภายนอก แม้ว่าจะส้นิ สุดการปฏิบตั ิหนา้ ทหี่ รือ สนิ้ สดุ สญั ญาจ้างกับบรษิ ทั ฯ แล้วกต็ าม ยกเวน้ กรณี ท่เี ปน็ ไปตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิไว้ แนวปฏิบตั ิ 4. ผู้ท่ีได้รับมอบหมายต้องเปิดเผยข้อมูลที่เป็นไป ตามกฎหมายหรือเงื่อนไขผูกพันอย่างถูกต้อง 1. ผบู้ รหิ ารแตล่ ะธรุ กจิ ตอ้ งก�ำหนดล�ำดบั ชนั้ ความลบั บนพ้ืนฐานของความเป็นจริง และต้องไม่มี ของข้อมูล ข่าวสาร และผู้มีสิทธิในการเข้าถึง เจตนาใหผ้ อู้ น่ื ส�ำคญั ผดิ ในขอ้ เทจ็ จรงิ และตอ้ งไม่ ขอ้ มลู เพอ่ื รกั ษาความลบั ในสว่ นทรี่ บั ผดิ ชอบและ จงใจกอ่ ให้เกดิ ความเสียหายใดๆ ต่อบรษิ ทั หรือ ไมใ่ ห้ขอ้ มลู ตกไปยงั บุคคลอน่ื บุคคลอ่นื 2. ผู้มีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลต้องใช้และเปิดเผย 5. กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานต้องใช้ความ ขอ้ มูลเทา่ ท่ีจ�ำเป็นอย่างระมดั ระวงั ระมัดระวังในการพูดคุยหรือส่ือสารข้อมูล 3. กรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งานตอ้ งไมเ่ ผยแพร่ ความลับใดๆ ของบรษิ ทั ฯ ในสถานทสี่ าธารณะ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ชนั้ ความลบั ของบรษิ ทั ฯ และผมู้ สี ว่ น ไดเ้ สีย ท้งั โดยวาจาและลายลกั ษณอ์ ักษร แม้จะ มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ความรับผิดชอบแล้ว ก็ตาม 40
ตวั อยา่ งสถานการณ์ 1 ค�ำแนะนำ� บริษัทต้องการจัดงานฉลองความส�ำเร็จ จึงหา พนักงานในฐานะตัวแทนบริษัทฯ ต้องให้ข้อมูล ทีมงานภายนอกมาจัดงาน โดยวิธีการประมูล ท่ีก�ำหนดและเงื่อนไขต่างๆ แก่ผู้เข้าประมูล ทีมผู้ประมูลรายหน่ึงขอข้อมูลเพิ่มเติมเป็นพิเศษ โดยเทา่ เทยี มกนั ทกุ ราย ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ ไมใ่ หข้ อ้ มลู เชน่ รายชอื่ ผปู้ ระมลู รายอน่ื ราคาทผ่ี เู้ ขา้ ประมลู ราย หรือเงื่อนไขพิเศษแก่ผู้เข้าประมูลรายใดรายหน่ึง อน่ื น�ำเสนอ ฯลฯ และขอขยายวนั สง่ ซองประมลู เปน็ หรอื เพอ่ื เออื้ ประโยชนใ์ หแ้ กผ่ เู้ ขา้ ประมลู รายใด รวม กรณพี ิเศษ ทั้งรกั ษาข้อมูลความลับ ทัง้ ของบรษิ ัทฯ และผ้เู ข้า ประมูลทกุ รายอย่างเครง่ ครัด ตัวอย่างสถานการณ์ 2 ค�ำแนะนำ� หลังการประชุมแผนธุรกิจ ผู้เข้าร่วมประชุมยังคง ผู้เข้าร่วมประชุมและผู้ที่เก่ียวข้องต้องระมัดระวัง พูดคุยเร่ืองนี้ต่อในลิฟต์ซึ่งมีบุคคลอ่ืนท่ีไม่เก่ียวข้อง การพูดคุยหรือสื่อสารข้อมูลความลับของบริษัทฯ อยู่ด้วย ในสถานที่สาธารณะ เช่น ลิฟต์ หอ้ งน�้ำ รถโดยสาร สาธารณะ รา้ นอาหาร เปน็ ตน้ และต้องรับผดิ ชอบ หากมีความเสียหายเกิดข้ึนต่อบริษัทฯ ในกรณีท่ีมี ขอ้ มูลรวั่ ไหลเพราะความผิดพลาดของตนเอง ตวั อยา่ งสถานการณ์ 3 คำ� แนะนำ� พนกั งานสอบถามผลการประเมนิ ของเพอ่ื นในแผนก พนักงานต้องไม่เปิดเผยข้อมูลความลับที่ทราบจาก ตนจากพนกั งานฝ่ายบุคคลคนหนึ่งที่โอนย้ายไปอยู่ การปฏิบตั หิ นา้ ท่ีในหน่วยงานเดมิ แม้จะมกี ารโอน ฝา่ ยปฏิบตั ิการแล้ว ยา้ ยหรือส้ินสดุ การปฏิบตั ิหน้าท่แี ล้ว 41
การไมฝ่ กั ใฝฝ่ า่ ยใดฝา่ ยหนงึ่ ทางการเมอื ง 4.4 ปฏบิ ัตติ นอยา่ งเครง่ ครดั โดยไมฝ่ กั ใฝฝ่ ่ายใดฝา่ ยหนงึ่ ทางการเมือง การใชเ้ สรีภาพทางการเมืองสว่ นบุคคลตอ้ ง ไม่กระทบตอ่ ภาพลกั ษณห์ รอื อาจทำ� ใหเ้ กิดความเสยี หาย แก่บริษัทฯ แนวปฏบิ ตั ิ 1. กรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งานตอ้ งไมแ่ สดงตนหรอื ไมเ่ ขา้ รว่ มชมุ นมุ ทางการเมอื งฝา่ ยใดฝา่ ยหนงึ่ ไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ มทอี่ าจท�ำใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจวา่ บรษิ ทั ฯ เกย่ี วขอ้ งหรอื สนบั สนนุ ใหเ้ ขา้ รว่ มชมุ นมุ ทางการเมอื ง ของฝา่ ยใด 2. กรรมการ ผบู้ ริหาร และพนกั งานไมก่ ีดกัน กลนั่ แกล้ง หรอื แสดงความเห็นทางการเมืองทอ่ี าจก่อให้เกิด ความแตกแยก ทงั้ เวลาปฏิบตั ิงานหรอื ในสถานที่ท�ำงาน 3. กรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งานตอ้ งไมใ่ ชส้ ถานะต�ำแหนง่ งานในบรษิ ทั ฯ สถานทท่ี �ำงาน หรอื ทรพั ยากร ของบริษัทฯ เพ่ือให้การสนับสนุนแก่พรรคการเมือง ห้ามใช้ช่ือบริษัทในการเรี่ยไรประกอบกิจกรรม ทางการเมอื งหรือแสดงออกอย่างเปดิ เผยวา่ นยิ มชน่ื ชอบพรรคการเมืองใดเปน็ พเิ ศษ 42
ตวั อย่างสถานการณ์ 1 ตัวอย่างสถานการณ์ 2 พนักงานสวมเครื่องแบบบริษัทฯ เข้าร่วมชุมนุม พรรคการเมืองหนึ่งขออนุญาตเข้าใช้สถานท่ีห้อง ทางการเมอื ง นอกเวลาท�ำงาน ประชมุ ของบรษิ ทั ฯ เพอื่ ปราศรยั หาเสยี งกบั พนกั งาน คำ� แนะนำ� ค�ำแนะนำ� พนกั งานสามารถเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางการเมอื งเพอื่ ผบู้ รหิ ารตอ้ งไมอ่ นญุ าตใหพ้ รรคการเมอื งใชส้ ถานที่ แสดงความชอบและความคิดเห็นส่วนบุคคลได้ ของบรษิ ทั ฯ ด�ำเนินกจิ กรรมใดๆ แต่ต้องไม่สวมเครื่องแบบบริษัทฯ ไม่มีสัญลักษณ์ รปู แบบ หรอื เครอื่ งหมายใดๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บรษิ ทั ฯ โดยเด็ดขาด และต้องไม่ท�ำให้ผู้อ่ืนเข้าใจว่าเป็น การกระท�ำในนามบรษิ ทั ฯ หรอื ไดร้ บั มอบหมายจาก บริษัทฯ กรณีที่ทา่ นเป็นผู้บริหารระดบั สูง ท่านคือ ภาพลกั ษณข์ องบรษิ ทั ฯ ทา่ นจงึ ตอ้ งไมแ่ สดงพฤตกิ รรม ใดๆ ทบ่ี ง่ ถงึ ความฝกั ใฝท่ างการเมอื ง อนั จะน�ำไปสู่ การท�ำลายความเปน็ กลางทางการเมอื งของบรษิ ทั ฯ 43
การมสี ว่ นรว่ มในสังคมและชุมชน 4.5 บรษิ ทั ฯ ตระหนักในความรับผดิ ชอบตอ่ ชุมชนและสงั คม โดยรวมท่บี ริษัทฯ ประกอบธุรกจิ อยู่ ดว้ ยตระหนักถึงพันธะ ที่จะตอบแทนชุมชนเหล่านั้นท่ีได้ช่วยให้บรษิ ัทฯ อยูม่ าได้ อย่างยงั่ ยนื ในวนั เวลาท่ีผา่ นมา และจะส่งเสรมิ ใหค้ ูค่ ้าและ ผู้มีส่วนได้เสยี ของบริษทั ฯ ปฏบิ ตั ิเช่นเดียวกนั ด้วย แนวปฏบิ ัติ ตัวอยา่ งสถานการณ์ 1. ผบู้ รหิ ารใหค้ วามส�ำคญั ปลกู จติ ส�ำนกึ สรา้ งแรง บรษิ ทั ฯ ซงึ่ รบั ซอื้ และจ�ำหนา่ ยผกั จากกลมุ่ เกษตรกร บันดาลใจ และผลักดัน ในการมีส่วนร่วมกับ ชุมชนต่างๆ พบว่าสินค้าของเกษตรกรเกิด กิจกรรมชมุ ชนทีบ่ ริษัทฯ ต้งั สถานประกอบการ ความเสียหายระหว่างรอจ�ำหนา่ ย 2. ผู้บริหารสร้างจิตส�ำนึกที่ดีในการช่วยเหลือผู้อ่ืน และสังคมในหมู่พนักงานตลอดจนขยายผล ค�ำแนะน�ำ สสู่ ังคมภายนอก 3. พนักงานให้ความช่วยเหลือและมีส่วนร่วมกับ บริษทั ฯ พจิ ารณาสนับสนุนอาคารคัด บรรจุ และ กจิ กรรมตา่ งๆ ของชมุ ชน รวมทง้ั รกั ษาและเสรมิ แปรรปู ผกั ปลอดภยั เพอ่ื พฒั นาชมุ ชนในการปลกู ผกั สรา้ งสถานภาพความสมั พนั ธท์ ด่ี ตี อ่ ทงั้ ชมุ ชน คคู่ า้ ปลอดภยั สามารถเกบ็ รวบรวม คดั แยก และจดั ส่ง และหนว่ ยงานราชการท่ีเกยี่ วข้อง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้พ่ึงพาตนเองได้ น�ำไปสู่การสร้างศักยภาพและผลักดันให้ชุมชน เกดิ ความมั่นคงและยง่ั ยืน 44
การใช้เครอื ขา่ ยสังคม 4.6 ตอ้ งใช้วิจารณญาณอยา่ งรอบคอบและมคี วามรับผดิ ชอบ ในการใชเ้ ครือขา่ ยสงั คม โดยระมดั ระวงั ท่ีจะไม่แสดง ความคดิ เหน็ อันไม่เหมาะสมใดๆ อนั อาจส่งผลกระทบต่อ ชอื่ เสยี ง ภาพลกั ษณ์ หรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจท่ีไมเ่ หมาะสม ตอ่ บรษิ ทั ฯ ตัวอยา่ งสถานการณ์ ค�ำแนะนำ� พนักงานมปี ญั หากบั เพื่อนร่วมงาน แล้วน�ำไปเขยี น พนักงานต้องไม่น�ำภาพที่มีสัญลักษณ์ของบริษัทฯ ต่อว่าพร้อมถ่ายรูปเพื่อนที่สวมเคร่ืองแบบหรือ ไม่ว่าจะส่วนใดส่วนหนึ่งของภาพ ไปลงในเชิงลบ มีตราสัญลักษณ์/เครื่องหมายการค้าของบริษัทฯ ในส่ือสังคมออนไลน์หรือในประการใดๆ ที่อาจถูก ลงในส่อื สังคมออนไลน์ ด�ำเนินคดีตามกฎหมาย หรืออาจท�ำให้บริษัทฯ ไดร้ บั ความเสียหาย 45
05หมวดท่ี
จรขรอยงาบบรรษิ รทั ณฯแนวปฏิบตั ิหากพบเห็นการกระทำ� ท่ีไม่เปน็ ไปตาม
แนวปฏิบัติหากพบเหน็ การกระท�ำ ที่ไมเ่ ปน็ ไปตามจรรยาบรรณของบรษิ ทั ฯ 5.1 หากพบเหน็ การกระท�ำที่ไมเ่ ปน็ ไปตามจรรยาบรรณของ บริษทั ฯ/ ทุจรติ ตอ่ หนา้ ท่ี/ ผดิ กฎหมาย ใหร้ อ้ งเรยี นต่อ ประธานเจ้าหนา้ ทบ่ี ริหารหรอื ประธานกรรมการตรวจสอบ ของบรษิ ทั ฯ โดยไมต่ อ้ งกลัวถูกดำ� เนินการทางวินยั แนวปฏิบัติ ช่องทางการรอ้ งเรียนจากภายในและภายนอก 1. ผู้บริหารต้องจัดให้มีช่องทางการร้องเรียนท่ีปลอดภัยเพื่อให้บุคคลต่างๆ ภายในบริษัทฯ หรือ ผู้มีส่วนได้เสียภายนอกองค์กร สามารถแจ้งข้อมูลหรือเบาะแสเก่ียวกับการประพฤติผิดจรรยาบรรณ การทุจริตต่อหน้าที่ หรือการกระท�ำท่ีผิดกฎหมายได้อย่างปลอดภัย และปราศจากความเสี่ยงภัย ต่อผแู้ จง้ ในภายหลัง 2. ช่องทางการร้องเรยี น อาจรวมถงึ การส่งจดหมายทางไปรษณยี ์ การสง่ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Email) การแจ้งผ่านโทรศัพทส์ ายด่วน การแจง้ ผ่านทางเวบ็ ไซต์ หรือระบบออนไลน์อืน่ ๆ 3. ผู้บริหารสูงสดุ (MD หรอื CEO) ต้องจัดให้มีช่องทางในการใหค้ �ำแนะน�ำ เพอ่ื ให้ผูบ้ ริหารและพนักงาน เขา้ ถึงไดอ้ ย่างมัน่ ใจ เม่อื ผบู้ ริหารหรือพนกั งานต้องการค�ำแนะน�ำ หรอื ต้องการหารือกอ่ นการร้องเรียน การรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและบริหารความเส่ียง (ARMC) 4. ในกรณที ต่ี อ้ งการแจง้ เบาะแสหรอื รอ้ งเรยี นผบู้ รหิ ารระดบั สงู สามารถใชช้ อ่ งทางพเิ ศษทสี่ อื่ สาร โดยตรง ต่อประธานเจ้าหน้าที่บริหารหรือประธานคณะกรรมการตรวจสอบและบริหารความเส่ียง(ARMC) ของกลมุ่ เซ็นทรลั 5. ผู้บริหารสูงสุด (MD หรือ CEO) ของแต่ละ Business Unit ต้องรวบรวมและจัดท�ำรายงาน สรุปข้อร้องเรียนทั้งหมด เพอ่ื น�ำเสนอต่อ ARMC อย่างนอ้ ยไตรมาสละ 1 ครง้ั 48
5.2 ผรู้ อ้ งเรยี นจะได้รับความคุ้มครอง โดยบริษทั ฯ จะรกั ษาท้งั ช่อื ของผูร้ ้องเรยี นและข้อมูลที่ไดร้ ับไวเ้ ปน็ ความลบั อยา่ งดี ทีส่ ดุ และหากผู้รอ้ งเรียนมีความกงั วลเรอ่ื งความปลอดภยั หรือเกรงว่าจะถกู ข่มขคู่ กุ คาม ก็ให้บริษทั ฯ กำ� หนด มาตรการคมุ้ ครองปอ้ งกนั อยา่ งเหมาะสม แนวปฏบิ ตั ิ การคมุ้ ครองสทิ ธิของผู้แจ้งเบาะแสหรือขอ้ ร้องเรยี น 1. ผู้แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิ โดยบริษัทฯ ต้องไม่กระท�ำการอันใด ท่ีไม่เป็นธรรมต่อผู้แจ้งและผู้ถูกร้องเรียน รวมถึงผู้ท่ีให้ความช่วยเหลือในด้านข้อมูล การให้ถ้อยค�ำ หรือหลักฐานอ่ืนใด อันเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบ สืบสวน หรือสอบสวน ไม่ว่าจะเป็นบุคคล ภายในหรอื ภายนอก 2. ผู้แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนสามารถเลือกท่ีจะไม่เปิดเผยตัวตน ซึ่งรวมถึงไม่เปิดเผยช่ือ ท่ีอยู่หรือ หมายเลขโทรศัพท์ของตนเอง หากเห็นว่าการเปิดเผยนั้นจะท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัย หรืออาจเกิด ความเสียหายใดๆ แต่จะต้องส่งข้อมูลพร้อมเอกสารหลักฐานอันน่าเช่ือถือได้และการแจ้งเบาะแส หรอื ขอ้ รอ้ งเรยี นดงั กลา่ วจะตอ้ งมใิ ชเ่ พอื่ เจตนากลน่ั แกลง้ หรอื หมน่ิ ประมาทบคุ คลใด 3. หากผแู้ จ้งเบาะแสหรือขอ้ ร้องเรยี นเลือกที่จะเปิดเผยตวั ตน ผรู้ ับขอ้ มูลพงึ รายงานความคืบหน้าให้ผู้แจง้ ไดร้ ับทราบ และบริษทั ฯ พึงใหก้ ารช่วยเหลือในการบรรเทาความเสียหาย (ถ้ามี) โดยเร็ว 4. ผู้รบั ขอ้ มลู รวมถงึ ผทู้ ี่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบ สืบสวน และสอบสวน ตอ้ งเก็บรักษาข้อมลู ที่เกีย่ วขอ้ ง เป็นความลบั โดยค�ำนึงถงึ ความปลอดภัยของผแู้ จง้ และผทู้ ใ่ี หค้ วามรว่ มมอื และกฎหมายท่เี กี่ยวข้อง เปน็ ส�ำคัญ 5. ผู้แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน และผู้ที่ให้ความร่วมมือสามารถร้องขอให้บริษัทฯ ก�ำหนดมาตรการ ค้มุ ครองทเ่ี หมาะสมได้ หากพิจารณาแล้วเห็นวา่ ตนเองอาจไดร้ ับความเดือดร้อนเสยี หายเกนิ สมควร 49
5.3 เร่ืองท่ีร้องเรยี น หากมีมลู และมีรายละเอยี ดข้อเท็จจรงิ ท่ชี ัดเจนเพียงพอ ก็ใหด้ ำ� เนินการตรวจสอบ สบื สวน และสอบสวนโดยรวดเรว็ ต่อไป แนวปฏิบตั ิ การแจ้งขอ้ มลู ตามความเป็นจรงิ 1. ผู้ให้เบาะแสหรือข้อร้องเรียนต้องให้รายละเอียดของเบาะแส หรือข้อร้องเรียนที่เป็นความจริง มคี วามชัดเจน และมีหลกั ฐานเพยี งพอทีจ่ ะน�ำสบื หาขอ้ เทจ็ จรงิ เพือ่ ด�ำเนนิ การต่อได้ 2. หากมีการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนอันเป็นเท็จ หรือมีลักษณะอันเป็นการกล่ันแกล้งผู้อ่ืน หรือหมิ่นประมาท ผู้แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนอาจต้องได้รับโทษทางวินัย โทษตามมาตรการ ทีบ่ รษิ ัทฯ ก�ำหนด หรือโทษตามกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง การดำ� เนินการตรวจสอบ 3. ผู้รับข้อมูลเบาะแสหรือข้อร้องเรียน ต้องด�ำเนินการรวบรวมข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง และน�ำเสนอข้อมูล ตามล�ำดับข้ันตอนและวิธีการท่ีก�ำหนดไว้ในนโยบายและระเบียบปฏิบัติของ Central Group ทั้งนี้ หากพบว่าผู้ถูกร้องเรียนมีการประพฤติผิดจรรยาบรรณของบริษัทฯ/ทุจริตต่อหน้าท่ี/ผิดกฎหมาย ผูถ้ ูกร้องเรยี นยอ่ มตอ้ งได้รับโทษทางวนิ ัย โทษตามมาตรการที่บรษิ ทั ฯ ก�ำหนด หรือโทษตามกฎหมาย ท่เี กย่ี วขอ้ ง 4. ระยะเวลาในการด�ำเนินการตรวจสอบ สืบสวน และสอบสวนเรื่องที่ได้รับการร้องเรียน จะข้ึนกับ ความสลับซับซ้อนของเรื่องราว ข้อเท็จจริง จ�ำนวนผู้เกี่ยวข้อง และความเพียงพอของพยานหลักฐาน ท้งั พยานบคุ คล เอกสาร และวัตถุที่เก่ยี วขอ้ ง 50
Search