ขนั้ ตอนการดาเนินงาน กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ เห็นความสาคัญของการส่งเสริมการอ่านตามนโยบายด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ ของชุมชน จึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดระดับอาเภอ เพื่อจัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านในชุมชน เป็นการพัฒนาประชาชนในชุมชน ให้มีส่ือในการอ่านและเป็นการส่งเสริม ให้มีส่ือเข้าไป กระจายอยใู่ นชุมชน อานวยความสะดวกใหช้ ุมชนมีแห่งเรยี นรู้ด้านการอา่ นเพ่มิ ข้ึน ซง่ึ มีวิธีการดาเนินงาน ดงั นี้ 1. วางแผนประชุมกับคณะกรรมการตลาดน้า พัฒนาชุมชน อาสาสมัคร กศน. เพื่อหาข้อคิดเห็น และ วางแผนการดาเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ในตลาดนา้ 2. จัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ท่ีหลากหลาย /หมุนเวียนส่ือจากห้องสมุดประชาชน/สื่อจากผู้บริจาค/สื่อจาก จากเครือขา่ ยในโรงงานอุตสาหกรรม โรงงานดับเบลิ้ เอ 3. ประชาสัมพนั ธ์การจดั กจิ กรรมทหี่ ลากหลาย เพื่อกระตนุ้ กลมุ่ เปา้ หมายมาใช้บริการ 4. จัดกจิ กรรมรูปแบบวธิ ีการบริการ เพ่ือสง่ เสริมการอา่ น โดยนกั ศึกษา กศน.ตาบลกรอกสมบรู ณ์ เช่น - ส่งเสริมการอ่านผ่านการนวด (สาระน่ารู้ สมุนไพร)/แผ่นพับ กิจกรรมสานวนสุภาษิตไทย วาดภาพ ระบายสี อ่านหนังสือดีมีรางวัล เกมบันไดงูส่งเสริม การอ่าน เปิดตู้เย็นเห็นหนังสือ กิจกรรมการเล่านิทานหุ่นมือ ส่งเสริมการอ่าน มีสอนทาผลิตภัณฑ์ในการนวดแผนไทย ติดตามผลการดาเนินงาน โดยใช้แบบความพึงพอใจ ในการให้บริการ 5. สรุปผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เก็บสถิติ สารวจความต้องการส่ือ ปัญหาและอุปสรรค์ ในการดาเนินงานทุกคร้ัง เพ่ือท่ีจะนาไปพัฒนาการจัด กิจกรรมในครัง้ ต่อไป ประชมุ วางแผนการดาเนนิ งาน สอนทาลูกประคบ 2 หอ้ งสมดุ เคลื่อนทส่ี ำ้ หรบั ชำวตลำดน้ำวดั ใหมน่ ำบญุ
นายอาเภอศรีมหาโพธิ และผู้บริหารดับเบิ้ลเอ https://goo.gl/YYanhH มอบส่ือ หนังสือ ให้กับ ครู กศน.ตาบล ทั้ง 10 ตาบล เพ่ือท่ีกระจายลงสู่ตาบลให้เป็นชุมชน นักอ่านและพัฒนาบุคคลให้เป็นบุคคลแห่งการ เรยี นรแู้ ละสงั คมแหง่ การเรยี นร้ตู อ่ ไป ความสาเรจ็ ที่เป็นจุดเด่นของโครงการน้ี ห้องสมดุ เคลอ่ื นท่ีสาหรบั ชาวตลาดนา้ วดั ใหมน่ าบญุ จุดเดน่ หอ้ งสมดุ มชี ีวิต 3 หอ้ งสมดุ เคลื่อนทส่ี ำ้ หรบั ชำวตลำดนำ้ วัดใหมน่ ำบญุ
ตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ จากเดิมเป็นที่น่ัง อ่านหนังสือ และได้มีการพัฒนารูปแบบการวิธีการ บริการ มาเป็นห้องสมุดมีชีวิต แหล่งเรียนรู้ แหล่ง รวบรวมความรู้ มีส่ือ และกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย มีการกิจกรรมเคล่ือนไหวตลอดเวลาที่ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้ใช้บริการ โดยมี อาสาสมัคร นักศึกษา กศน. หมุนเวียนมาทากิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน มีเครือข่ายท่ีเข้มแข็งสนับสนุนคอย ประชาสัมพันธ์เรียกกลุ่มเป้าหมายมาใช้บริการ มีการ กระตุ้นมอบของรางวัลให้กลุ่มเป้าหมายอยากเข้ามาใช้ บริการมากขึ้น มีการสอดแทรกเน้ือหาสาระ คุณธรรม จริยธรรม กบั กลมุ่ เปา้ หมายที่เป็น เด็ก และเยาวชน เช่น กิจกรรมการเล่านิทานหุ่นมือส่งเสริมการอ่าน เป็นต้น อีกท้ังห้องสมุดมีบริการนวดแผนไทย จาหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากกลุ่มผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ซ่ึงกิจกรรมมีการ เคล่ือนไหวตลอดเวลา และยังมีบรรยากาศทม่ี ชี วี ิตชวี าแปลกใหม่ไปจากบรรยากาศเดิม ๆ อีกด้วย การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายได้นั้น เกิดจากการ ทส่ี มาชิกในชมุ ชนผู้นาชุมชน/ผู้นาหมู่บ้าน เล็งเห็นความสาคัญของการส่งเสริมการอ่านของห้องสมุดตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ ท่ีเป็นแหล่งเรียนรู้ นาสิ่งท่ีได้จากการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเอง พัฒนางาน พัฒนาหมู่บ้าน ทาให้มีผู้มาใช้บริการ หลากหลายกล่มุ อายุ ทั้ง เด็ก เยาวชน ประชาชนในหมบู่ า้ น และหมู่บ้านใกล้เคยี ง รู้จักการใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ การสร้างเครือข่ายอาสาสมัครนักศึกษา กศน.ท่ีมีบทบาทสาคัญในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน เช่น การหมุนเวียนมาจัดกิจกรรมกระตุ้นให้ชุมชนเข้าถึงความสาคัญของการอ่านโดยทั่วไป รวมทั้งเด็ก ผู้สูงอายุ และ ช่วยสารวจหนังสือที่ตรงใจผู้อ่านในชุมชน ซึ่งพบว่าหนังสือท่ีต้องการ คือ ด้านอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และ ด้านความบันเทิง รางวลั แห่งความสาเรจ็ ของโครงการ หอ้ งสมุดตลาดน้าวดั ใหมน่ าบุญ มปี ระชาชนในตาบลกรอกสมบูรณ์ ให้ความสนใจในกิจกรรมเชิงรุกเพ่ิม มากขึ้น ห้องสมุดชาวตลาดได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งการอ่าน มีสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมให้คนต้องการเข้าไปอ่าน หนงั สอื เพ่อื สรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีจานวนผู้มาใช้บริการเฉล่ียเดือนละ 140 คน โดยเฉล่ีย 35 คน/ อาทิตย์ ซ่ึงเป็นเด็กและประชาชนทั่วไป แต่มีผู้สนใจกิจกรรมมากกว่าท่ีคาดไว้ (จากการสังเกตการณ์ มีการติดตาม ผลการดาเนินงาน โดยใช้แบบความพึงพอใจในการให้บริการ ช่วงระยะเวลาท่ีดาเนินการ) ความพึงพอใจของผู้ร่วม กจิ กรรมไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 4 หอ้ งสมุดเคลอ่ื นทสี่ ำ้ หรับชำวตลำดน้ำวัดใหม่นำบญุ
ขอ้ คิดควรคานึงในการนาไปขยายผล จดุ เด่น การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ท้ังระดับผู้นาชุมชน ผู้นาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาหมู่บ้าน เห็นความสาคัญของกิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน และสร้างนิสัยรักการอ่าน ท้ังเป็นแกนนาหลักในรูปแบบคณะกรรมการแหล่งเรียนรู้ กศน.ตาบล จากการประสานงาน และวางแผนร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อจัดกิจกรรม รวมท้ังระดมทรัพยากรและสนับสนุนสื่อ หนังสือ ส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ ดาเนินการรับสมัครอาสาสมัคร กศน เพื่อเป็นตัวแทนในการประสานงาน เผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสารและขับเคล่ือนการศกึ ษาสูช่ ุมชนใหเ้ กิดสงั คมแหง่ การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ืองในชมุ ชน จดุ แขง็ - มีเครอื ข่ายทส่ี นับสนุนส่งเสริมในเร่อื งสือ่ อุปกรณ์ - มีชุมชนที่เข้มแข็ง ผู้นาชุมชน พัฒนาชุมชนอาเภอศรีมหาโพธิ กศน.ตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล กรอกสมบูรณ์ และพระครูบญุ เขตตาภรณ์ เจา้ อาวาสวัดใหมน่ าบุญเหน็ ความสาคัญของกจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน และ สร้างนิสัยรักการอ่าน ทั้งเป็นแกนนาหลักในรูปแบบคณะกรรมการตลาดน้า เพื่อจัดกิจกรรม รวมทั้งระดมทรัพยากร และสนบั สนุนสอ่ื หนังสอื ส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่าง ๆ ขยายผล กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ กาหนดแผนการจัดกิจกรรม เสริมสร้างนิสัยรักการอ่านไว้ในแผนปฏิบัติการ ประจาปี และดาเนินการขยายผลห้องสมุดเคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาดไปที่ ตลาดน้าตาบลบางกุ้ง และตลาดน้าตาบล ศรีมหาโพธิ ผเู้ ขยี น นางสาวจิรารกั ษ์ ประยรู วงษ์ ครู กศน.ตาบลกรอกสมบรู ณ์ กศน.อาเภอศรมี หาโพธิ์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ปราจนี บุรี ผู้สนับสนุนและใหข้ อ้ มูล ผ้ใู หญบ่ า้ น หมู่ 3 วงั ทะลุ ผ้ชู ว่ ยผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ 3 วังทะลุ 1. นายกเู้ กยี รติ แสงจนั ทร์ ผูช้ ่วยเลขา ผู้ชว่ ยผใู้ หญ่บา้ น หมู่ 3 วังทะลุ 2. นายปมัตถ์ กลิ่นหอม 3. นางสังเวียน คงกะพนั 4. นางสาวนงนภัส กฤดิพรรธน์ 5. นายยุทธนา บางกงุ้ 6. นายเจน สง่ เสริม 5 ห้องสมุดเคลอื่ นทส่ี ำ้ หรบั ชำวตลำดน้ำวดั ใหมน่ ำบญุ
ผบู้ รรณาธกิ าร อภิสทิ ธิ์ อดีตศึกษานิเทศก์เชยี่ วชาญ ลอ่ งประเสรฐิ อดีตศึกษานิเทศกเ์ ชี่ยวชาญ 1. นายทวปี แกน่ สารี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ 2. นางสาวสวุ รรณา สานกั งาน กศน.จงั หวดั สมทุ รปราการ 3. นางรตั นา 6 ห้องสมุดเคล่อื นทสี่ ้ำหรับชำวตลำดนำ้ วดั ใหม่นำบญุ
การถอดบทเรียนความสาเรจ็ ดเี ดน่ โครงการศนู ย์เรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลทุง่ ท่าช้าง (กรณีศึกษา : “แหลงํ เรยี นรู๎ นายสมนึก ปานธูป” ตาบลทุํงทาํ ช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จงั หวดั ลพบรุ ี) ความเปน็ มาของโครงการ นายสมนึก ปานธูป เดิมประกอบอาชีพค๎าขายอยูํ ณ ตาบลทํุงทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี นอกจากการค๎าขายเป็นอาชีพหลักแล๎ว นายสมนึก ยังได๎ใช๎พื้นท่ีวํางประมาณ ๓๐ ตารางวาในบริเวณบ๎านปลูก ผักสวนครัว เล้ียงกบ และทาปุ๋ยน้าชีวภาพ และขยายพ้ืนท่ีเพื่อทาการเกษตรอีก ๒ ไรํ แม๎วํานายสมนึก จะมีความ ขยันและอดทนในการประกอบอาชีพ ก็ยังประสบปัญหาหน้ีสินที่รุมเร๎าเข๎ามาในชีวิตเชํนเดียวกับอีกหลาย ๆ คน ในอาเภอสระโบสถ์ จุดเปลยี่ นในชวี ติ เร่ิมนบั ตง้ั แตํปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เม่ือนายสมนึก ได๎เข๎ารํวมโครงการศึกษาดูงานกับธนาคาร เพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) โดยได๎ไปศึกษาดูงานโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ๎อน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดฉะเชิงเทรา ทาให๎ นายสมนึก ได๎เห็นถึงความยากลาบากของการพัฒนาพื้นที่ ที่ไมํมีความอุดมสมบูรณ์ของโครงการฯ แตํพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํูหัว รัชกาลที่ ๙ ทรงพลิกฟ้ืนผืนดินน้ีให๎ ประชาชนได๎ทามาหากินได๎ จึงเกิดแรงบันดาลใจท่ีจะเดินตามรอยเท๎าพํอ เปล่ียนอาชีพจากค๎าขายมาทาอาชีพทา เกษตรกรรม โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีการทาบัญชีครัวเรือน เพื่อเป็นข๎อมูลในการ ลดรายจาํ ยและเพิม่ รายได๎ในครัวเรือนของตนเอง ในระหวาํ งที่ นายสมนกึ เปลีย่ นอาชีพมาทาเกษตรกรรม กศน.อาเภอสระโบสถ์ ได๎สํงนายสมนึกเข๎ารับ การอบรมเกษตรธรรมชาติ ณ ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ ปลายปี ๒๕๕๘ และนาความรู๎ที่ได๎รับจากการอบรมมาใช๎ในการปรับปรุงบารุงดิน การปลูกพืช ทีห่ ลากหลาย การกาจัดแมลงศตั รพู ชื โดยวธิ ธี รรมชาติ พฒั นาเน้อื ที่ ๒ ไรขํ องตนเอง ขั้นตอนการดาเนินงาน กศน.อาเภอสระโบสถ์ ได๎ศึกษาสารวจข๎อมูลภูมิปัญญาชาวบ๎าน / ปราชญ์ชาวบ๎านของตาบลทํุงทําช๎าง และคัดเลือกให๎ นายสมนึก ปานธูป เป็นแหลํงเรียนรู๎ ของศูนย์เรียนรู๎ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษต ร ทฤษฎีใหมํประจาตาบลทุงํ ทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี และได๎สํง นายสมนึก ปานธูป เข๎ารับการอบรม เกษตรธรรมชาติ ณ ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ เม่ือวันที่ ๑4 - ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๘ หลังจากผํานการอบรมแล๎ว นายสมนึก ปานธูป ได๎นาความรู๎จาก การอบรมมาใช๎ในการปรับปรุงดิน การปลูกพืชที่หลากหลาย การกาจัดแมลงศัตรูพืชโดยวิธีธรรมชาติ การปลูก ดอกไม๎ลํอแมลง จนพฒั นาเนื้อท่ี ๒ ไรขํ องตนเองให๎อุดมสมบูรณ์ และเป็นแหลํงเรียนร๎ูตาบลทํุงทําช๎าง และเข๎ารับ การประเมินมาตรฐานเกษตรธรรมชาตจิ นผํานการรบั รองมาตรฐานเกษตรธรรมชาติ ตัง้ แตปํ ี ๒๕๖๐ ถึง ปี ๒๕๖๒
กศน.อาเภอสระโบสถ์ ได๎นานักศึกษาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานนอกระบบ พุทธศักราช ๒๕๕๑ ศึกษาเรียนร๎ู ณ แหลํงเรียนรู๎ นายสมนึก ตาบลทุํงทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี โดยมี นายสมนึก เป็นวิทยากรถํายทอดความรู๎ให๎กับนักศึกษา เพ่ือสร๎างความร๎ูความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เม่ือขยายผลให๎กับกลุํมเป้าหมายนักศึกษาแล๎ว จึงสํงเสริมให๎ นายสมนึก เป็นวิทยากรถํายทอดความรู๎ให๎กับ ประชาชนอาเภอสระโบสถ์ โครงการจัดกระบวนการเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.อาเภอ สระโบสถ์ จนได๎รับความเชื่อถือในระดับตาบล ระดับอาเภอ ระดับจังหวัด นอกจากนี้ยังได๎รับเชิญเป็นวิทยากร ใหก๎ บั หนํวยงานอืน่ ๆ ตลอดจนอาเภอใกล๎เคียง สานักงาน กศน.จังหวัดลพบุรี สํง กศน.อาเภอสระโบสถ์ เข๎ารับการประเมินเพ่ือการคัดเลือกบุคคลเข๎า รบั การอบรมเกษตรธรรมชาติระดับสูงในตํางประเทศ (ระดับพื้นที่) กศน.อาเภอนารํอง กลุํมที่ ๘ ประจาปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑ โดยมีแหลํงเรียนรู๎ นายสมนึก ปานธูป เป็นเกษตรกรท่ีทาการเกษตรธรรมชาติ ได๎ลาดับท่ี ๔ และ ๓ ตามลาดับ ความสาเรจ็ ทเี่ ป็นจุดเด่นของโครงการ จุดเดํนที่ทาให๎โครงการศูนย์เรียนรู๎ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤ ษฎีใหมํประจาตาบล ทุํงทําช๎าง (กรณี แหลํงเรียนร๎ู นายสมนึก ปานธูป) ประสบความสาเร็จเน่ืองจาก นายสมนึก ปานธูป เป็นบุคคล แหํงการเรียนรู๎ พร๎อมในการถํายทอดความร๎ูให๎กับผ๎ูอื่น การสนับสนุนสํงเสริมด๎านวิชาการ การผลิตส่ือ การตดิ ตามอยํางตํอเนอ่ื งสม่าเสมอของสถานศึกษา ข้อควรระวงั ในการจัดโครงการ ข๎อคิดควรระวังในการนาไปขยายผลหรือนาโครงการน้ีไปทาโครงการศูนย์เรียนรู๎ปรัชญาของเศร ษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมํประจาตาบลทุํงทําช๎าง (กรณี แหลํงเรียนรู๎ นายสมนึก ปานธูป) ต๎องเป็นบุคคลที่มี ความตั้งใจ มุํงมั่น ไมํล๎มเลิกความตั้งใจ มีความรู๎และพร๎อมในการถํายทอดความร๎ูให๎กับผ๎ูอ่ืน สถานศึกษาต๎อง สนบั สนุน สํงเสริมด๎านวชิ าการและขวญั กาลงั ใจในการดาเนนิ งานอยาํ งตํอเนอื่ ง รางวัลแหง่ ความสาเรจ็ ของโครงการ 1. ผํานการรับรองมาตรฐานเกษตรกรรมธรรมชาติจากศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมธรรมชาติ วดั ญาณสงั วรารามวรมหาวหิ าร อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ ประจาปี ๒๕๖0 ถงึ ปี ๒๕๖๒ 2. ประเมินเพ่ือคัดเลือกบุคคลเข๎ารับการอบรมเกษตรธรรมชาติระดับสูงในตํางประเทศ (ระดับพื้นท่ี) กลุํมท่ี ๘ ประจาปี ๒๕๖๐ ลาดับที่ ๔ 3. ประเมินเพ่ือคัดเลือกบุคคลเข๎ารับการอบรมเกษตรธรรมชาติระดับสูงในตํางประเทศ (ระดับพื้นที่) กลมุํ ที่ ๘ ประจาปี ๒๕๖๑ ลาดบั ท่ี ๓
4. ได๎รับเชิญเป็นวิทยากรเผยแพรํความร๎ู เป็นแหลํงศึกษาดูงานให๎กับนักศึกษาและประชาชนในพื้นท่ี อาเภอสระโบสถ์ อาเภอใกล๎เคยี ง 5. ไดร๎ ับรางวัลชวี ิต ในการดาเนนิ ชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถอุดรอยร่ัวในชีวิต ของตนเองและของลกู ๆ ชวี ติ มคี วามสขุ ภาพกิจกรรม นายสมนึก ปานธูป ภาคปฏบิ ัติ การกาจดั วัชพืชในแปลงปลกู
นักศึกษา หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเ๎ รียน “การศึกษาแหลํงเรยี นร๎ใู นชมุ ชน” นายสมนึก ปานธปู ผาํ นการรบั รองมาตรฐานเกษตรธรรมชาติ ๓ ปซี ๎อน ตั้งแตํปี ๒๕๖๐-๒๕๖๑ สามารถแสกนควิ อาร์โคด๎ รบั ชมคลิปแหลํงเรียนร๎ู นายสมนกึ ปานธปู
ผู้เขียน น.ส.ณัฐพชั ร์ ภวู ชิ ญานุวฒั น์ ผอ๎ู านวยการ กศน.อาเภอสระโบสถ์ สานกั งาน กศน.จังหวดั ลพบุรี ผสู้ นับสนนุ และตรวจสอบขอ้ มลู 1. นายทวี สวํางมณี รกั ษาการผ๎อู านวยการ สานักงาน กศน.จงั หวัดลพบุรี 2. นายสมนึก ปานธูป ปราชญ์ชาวบ๎าน ตาบลทํงุ ทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวดั ลพบรุ ี 3. นางสายบวั พลมาลา ครู กศน.ตาบลทงํุ ทาํ ชา๎ ง อาเภอสระโบสถ์ จงั หวดั ลพบุรี 4. นางมยรุ ี เกตุคง ครูอาสาสมัคร กศน. กศน.อาเภอสระโบสถ์ จังหวดั ลพบรุ ี ผบู้ รรณาธิการ 1. นายทวปี อภสิ ทิ ธิ์ อดีตศึกษานเิ ทศก์เชีย่ วชาญ อดตี ศึกษานเิ ทศกเ์ ชี่ยวชาญ 2. นางสาวสวุ รรณา ลํองประเสริฐ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ 3. นายอวยชัย จันทปญั ญาศิลป์ สานักงาน กศน.จงั หวดั ลพบรุ ี ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ 4. นางสาวพัชรา จงโกรย สานกั งาน กศน.จงั หวดั ลพบุรี 5. นางสาวนิตยา มขุ ลาย
การถอดบทเรียนความสาเร็จดเี ดน่ การขบั เคล่ือนการดาเนินงาน โครงการอบรมประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยและบุญคณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย โดยใชร้ ะบบ E-Learning SKNFE MOOC (Massive Open Online Course) (กรณีศกึ ษา : ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภภอระโนด (กศน.อาเภภอระโนด) สานกั งาน กศน.จังหวัดสงขลา) ความเปน็ มาของโครงการ จากนโยบายและจุดเภน้นของสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การสร้างโอกาส และความเภสมอภาคทางการศึกษา ข้อท่ี ๒ สร้างกระบวนการเภรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning MOOC Course ที่ใช้ ระบบเภทคโนโลยีเภข้ามาบริหารจัดการเภรียนรู้ เภพื่อเภป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเภรียนรู้ให้กลุ่มเภป้าหมายได้ สะดวก รวดเภรว็ ตรงตามความตอ้ งการของประชาชนผู้รับบรกิ าร สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ได้สนองรับนโยบายไปดาเภนินการส่งเภสริมและสร้างกระบวนการเภรียนรู้ โดยได้ดาเภนนิ การโครงการ E-Learning MOOC และเภทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการจัดกระบวนการเภรียนรู้ เภพ่ือสร้าง สงั คมแหง่ การเภรยี นรู้ตลอดชีวติ ผลกั ดัน สง่ เภสรมิ และสรา้ งกระบวนการเภรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning MOOC กระบวนการเภรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning MOOC เภป็นนวัตกรรมทางการศึกษา ซ่ึงได้ดาเภนินการ ในระบบมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก มานานพอสมควรแล้ว เภป็นรูปแบบการจัดการเภรียนการสอนแบบออนไลน์ ทสี่ ามารถเภขา้ ถงึ ผ้เู ภรียนจานวนมากได้อย่างไม่จากัด โดยผู้เภรียนสามารถเภรียนโดยการลงทะเภบียนเภรียน ซึ่งสานักงาน กศน.จงั หวัดสงขลา เภล็งเภห็นถึงประโยชน์ความสาคัญและความเภหมาะสมที่จะนาระบบดังกล่าวมาใช้กับการจัดการ เภรยี นการสอนในศตวรรษท่ี ๒๑ ในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ ในภาคเภรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลาได้จัดการเภรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ชาติไทยทั้ง ๓ ระดับ คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เภน่ืองจาก วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยเภป็นวิชาที่สาคัญและมีคุณค่า นักศึกษาทุกคนจะต้องได้รับความรู้ท่ีถูกต้อง ชัดเภจน เภชอ่ื ถอื ได้ โดยสามารถเภขา้ ถึงการเภรียนไดง้ า่ ย สามารถเภรยี นรไู้ ดท้ ุกทที่ ุกเภวลา ส า นั ก ง า น ก ศ น . จั ง ห วั ด ส ง ข ล า จึงได้มอบหมายให้ กศน.อาเภภอระโนดนาวิชา ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย ท้ัง ๓ ระดับ(ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย) โดย กศน.อาเภภอระโนด ได้แต่งตั้งคณะทางาน จัดทาบทเภรยี นประวัติศาสตร์ชาติไทย เภพื่อนาเภข้าสู่ ระบบ E-Learning MOOC ให้นักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไปในจังหวัดสงขลา ได้ศึกษาหา ความรไู้ ด้ดว้ ยตนเภอง นายไพโรจน์ คเภชนทองสุวรรณ์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภภอระโนด ประชมุ รบั มอบนโยบาย จากผอู้ านวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดสงขลา เภพอื่ ขบั เภคลอ่ื นนโยบายและจดุ เภนน้ ของสานกั งาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา โดยการนาของ นายธนกร เภกื้อกูล ผู้อานวยการ กศน.จังหวัดสงขลา ได้นานโยบายและจุดเภน้น สานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มาขับเภคล่ือนในแต่ละด้าน โดมอบหมายให้ กศน.อาเภภอระโนด ขับเภคลื่อนการจัดการเภรียนการสอนผ่านระบบ E-Learning MOOC ให้กับ กลุ่มเภป้าหมายที่เภป็นนักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป โดยได้ประสานกับสานักคอมพิวเภตอร์ มหาวิทยาลัย ทักษิณ เภพื่อขอใช้ระบบ TSU MOOC ซึ่งเภป็นระบบ E-Learning MOOC ที่ใช้ในมหาวิทยาลัย สาหรับการนาเภข้าสู่ บทเภรียนในแต่ละวิชา กศน. และในวันท่ี ๒ เภมษายน ๒๕๖๑ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ได้ทาบันทึกข้อตกลง ความร่วมมอื (MOU) กบั สานกั คอมพิวเภตอร์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ เภพื่อใช้ Server ของมหาวิทยาลยั โดยในภาคเภรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ กศน.อาเภภอระโนด นารายวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ซึ่งเภป็น รายวิชาบังคับเภลือกหลักสูตรการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของ กศน. มาทาโครงสร้างรายวิชาและนาเภข้าสู่ระบบ E-Learning MOOC เภพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาและประชาชนทัว่ ไป เภขา้ ไปเภรยี นร้ดู ว้ ยตนเภองได้ ดงั นี้ - วิชาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทยสมยั อยธุ ยา - วชิ าประวตั ิศาสตร์ชาติไทยสมัยอยุธยา - วชิ าประวัตศิ าสตรช์ าติไทยสมัยธนบรุ ี - วิชาประวัตศิ าสตร์ชาติไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์
กศน.อาเภภอระโนด จงึ ไดจ้ ดั ทาคู่มอื การใชร้ ะบบ E-Learning MOOC สาหรับ 1) ครู และ 2) นักศึกษา และประชาชนทั่วไป โดยอธิบายขัน้ ตอนการสมัครเภรียนและขน้ั ตอนการเภรียน เภพื่อเภขา้ ไปใช้งานระบบและศึกษาได้ ตัวอย่าง เภช่น นักศึกษาต้องทาแบบทดสอบก่อนเภรียนก่อนจึงจะเภรียนรู้เภนื้อหาต่อไปได้ ต้องดูคลิปวีดีโอก่อน จึงจะไปทาแบบทดสอบหลังเภรียนได้หรือนักศึกษาจะสามารถจบหลักสูตรและได้รับวุฒิบัตร เภมื่อทาแบบทดสอบ ผ่านเภกณฑ์ทีค่ รกู าหนดไว้และไดว้ ุฒิบัตร สามารถนาไปใช้ในการเภทยี บโอนความรใู้ นการเภรียนวชิ านน้ั ๆ ได้ กศน.อาเภภอระโนด ยังได้กาหนดเภป้าหมายเภชิงปริมาณ เภพื่อขับเภคลื่อนการใช้ E-Learning MOOC ให้ดี โดยในปีการศึกษาภาคเภรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ กศน.อาเภภอระโนดเภป็น กศน.อาเภภอนาร่อง โดยกาหนด เภป้าหมายเภชิงปริมาณ ให้ครู ๑ คน นา E-Learning MOOC วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ไปใช้กับนักศึกษาในกลุ่ม ทีต่ นเภองรับผดิ ชอบ และกาหนดเภปา้ หมายเภชงิ คุณภาพ คอื จานวนนกั ศกึ ษาอย่างน้อย ๑๐ คน สามารถเภข้าไปใช้และ เภรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยในแต่ละระดับจนจบหลักสูตร และได้วุฒิบัตรการจบหลักสูตร (วุฒิบัตรจะไม่ สามารถปลอมแปลงได้ เภน่อื งจากมรี ะบบปอ้ งกนั การปลอมแปลง) การนาไปใช้ ในการจัดการเภรียนการสอน ภาคเภรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ครูและนักศึกษาท่ีมีความรู้เภก่ียวกับ เภทคโนโลยเี ภปน็ เภบอ้ื งต้นอยแู่ ลว้ ใหก้ ารตอบรับเภป็นอย่างดี เภพราะมเี ภน้อื หาท่ีเภหมาะสม มีข้ันตอนในการเภรียนที่ชัดเภจน มีระบบการให้คะแนนทเ่ี ภหมาะสม อุปสรรค ครูและนักศึกษาบางส่วนยังไม่เภขา้ ใจเภท่าที่ควรเภนื่องจากเภปน็ เภทคโนโลยีท่ียงั ใหม่อยู่ ความพอใจของนักศึกษาเภกี่ยวกับ E-Learning MOOC คือ นักศึกษาสามารถนาความรู้ท่ีได้เภรียนในวิชา ประวตั ิศาสตรช์ าติไทย มาเภทียบโอนในวชิ าที่เภรยี นได้ และนักศกึ ษาสามารถทบทวนวชิ าเภรียนไดท้ ุกท่ที ุกเภวลา โดยในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ ทางสานกั งาน กศน.จังหวัดสงขลา ยังนาการใช้ระบบ E-Learning MOOC ของครู มาเภป็นตวั ชีว้ ัดหนึ่งในการประเภมนิ พนกั งานราชการ ครู กศน.ตาบลและครูอาสาสมัคร กศน. อกี ดว้ ย
อนิ โฟกราฟิก ข้นั ตอนการการดาเนนิ งานขบั เคล่อื น
E-Learning MOOC
ความสาเรจ็ ทเี่ ป็นจดุ เดน่ ของโครงการ ๑. การทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ MOU ระหว่างสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา และสานัก คอมพิวเภตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ เภพ่ือให้ กศน. สามารถใช้ Server ของมหาลัยทักษิณ สามารถนาสาระวิชา ที่จัดการเภรียนการสอนเภข้าสู่ระบบ E-Learning MOOC ซ่ึงเภป็นผลมาจากการให้ความร่วมมือของภาคีเภครือข่าย ในการจัดการศึกษานอกระบบและการให้ความร่วมมือของสถานศึกษาท้ัง ๑๖ อาเภภอในการแบ่งกลุ่มการสร้าง เภนื้อหารายวชิ าตา่ ง ๆ ทง้ั ๙ วชิ า ๒. ระบบ E-Learning MOOC ถือเภป็นระบบที่เภป็นนวัตกรรม ที่ควบคุมการจัดการเภรียนรู้ของครูและ การเภรียนของผู้เภรียนให้เภป็นระบบ ผู้เภรียนต้องเภรียนตามขั้นตอนท่ีกาหนด เภช่น ทาแบบทดสอบก่อนเภรียนก่อนถึงจะ ไปเภขียนรู้เภนือ้ หาตอ่ ไปได้ ต้องดูคลปิ วีดโี อกอ่ นถึงจะไปทาแบบทดสอบหลังเภรียนได้หรือจะได้วุฒิบัตรก็ต่อเภมื่อผู้เภรียน ทาแบบทดสอบผ่านเภกณฑ์ทีค่ รูกาหนดไว้ ซึ่ง สานักงาน กศน.จงั หวดั สงขลาได้นาระบบมาประยุกต์ใช้ในการจัดการ เภรียนการสอนการจดั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เภม่อื ผเู้ ภรียนจบหลกั สูตรจะได้วุฒิบัตร ซึ่งนักศึกษาสามารถนาไปใช้ในการ เภทียบโอนความรใู้ นการเภรียนวชิ านัน้ ๆ ได้ รางวลั แห่งความสาเรจ็ ของโครงการ 1. การทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลาและสานักคอมพิวเภตอร์ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ เภพ่อื แบง่ ปันทรัพยากรในการจัดการศกึ ษาร่วมกัน 2. นายไพโรจน์ คเภชนทองสุวรรณ์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภภอระโนด และ นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ครู คศ.๑ รว่ มประชุมสมั มนาผลการจดั กิจกรรม กศน.ตามยุทธศาสตร์และจุดเภน้น ประจาปี ๒๕๖๑ ของหน่วยงาน สถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน.ในเภขตภาคใต้ ณ โรงแรมสินเภกียรติบุรี ตาบลพิมาน อาเภภอเภมือง จังหวัดสตูล บรรยายใหค้ วามรู้ SKNFE MOOC แกผ่ เู้ ภขา้ รว่ มประชมุ ระดับ กศน.ในภาคใต้ นายไพโรจน์ คเภชนทองสุวรรณ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภภอระโนด และนายปฐมพร ธมั มาภิรัตตระกูล ครู คศ.๑ รว่ มประชมุ สัมมนาผลการจัด กจิ กรรม กศน.ตามยทุ ธศาสตร์และจุดเภนน้ ประจาปี ๒๕๖๑ ของหนว่ ยงาน สถานศกึ ษาสงั กดั สานกั งาน กศน.ในเภขตภาคใต้ ณ โรงแรม สินเภกียรติบรุ ี ตาบลพมิ าน อาเภภอเภมอื ง จังหวัดสตลู บรรยายใหค้ วามรู้ SKNFE MOOC แกผ่ ู้เภขา้ ร่วมประชุมระดบั กศน.ในภาคใต้
3. กศน.อาเภภอระโนด ร่วมจัดนิทรรศการวิชาการ โดยนาเภสนอ E-Learning MOOC ในงานวันครู ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ณ หอประชุมเภปรม โรงเภรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา เภพื่อขยายผลการจัดการเภรียน การสอน E-Learning MOOC ให้ครใู นจังหวดั สงขลาได้รบั รแู้ ละแลกเภปลย่ี นความรซู้ ง่ึ กันและกัน 4. กศน.อาเภภอระโนด ไดร้ ับรางวลั Best Practice ระดับยอดเภย่ียม จากสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา รางวัล Best Practice ระดบั ยอดเภยี่ยม จากสานกั งาน กศน.จังหวดั สงขลา 5. กศน.อาเภภอระโนด ได้รับรางวัล สถานศึกษาส่งเภสริมการจัดกระบวนการเภรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning MOOC ดีเภดน่ จากสานักงาน กศน.จังหวดั สงขลา เภนื่องในวนั ครู ๒๕๖๒ รางวลั สถานศึกษาส่งเภสริมการจดั กระบวนการเภรียนรูใ้ นรูปแบบ E-Learning MOOC ดีเภดน่ จากสานกั งาน กศน.จงั หวัดสงขลา เภน่ืองในวันครู ๒๕๖๒สงขลา
ขอ้ ควรคานึงในการนาโครงการไปพัฒนา 1. ผู้บริหารสถานศึกษามีวิสัยทัศน์ด้านการใช้เภทคโนโลยีเภข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเภรียนการสอน จดั กจิ กรรม 2. ครมู ีทัศนคตทิ ่ดี แี ละมีความพร้อมในการใชเ้ ภทคโนโลยีในการจดั การเภรียนการสอน 3. สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ได้รับการสนับสนุนทรัพยากร ทั้ง Server และผู้มีความรู้จากสานัก คอมพิวเภตอร์มหาวิทยาลัยทักษิณ ซึ่งได้ทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับคณบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ ทาให้ กศน. สามารถเภข้าไปใชร้ ะบบ MOOC ของมหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณในการจดั การเภรียนการสอนวชิ าประวตั ิศาสตรช์ าติไทยได้ ปญั หา/อุปสรรค จากการนเิ ภทศตดิ ตามการดาเภนนิ การขับเภคลื่อนการดาเภนินการ E-Learning MOOC E-Learning MOOC สาหรับเภมืองไทย ยังถือเภป็นนวัตกรรมใหม่ที่เภพิ่งเภกิดขึ้นมาไม่นาน เภป็นระบบ ที่ผู้เภรียนจะต้องเภรียนรู้ด้วยตนเภองผ่านสมาร์ทโฟนหรือคอมพิวเภตอร์ โดยครูผู้สอนต้องคอยเภป็นโค้ช ผู้แนะนา และ จะต้องจัดกระบวนการเภรียนการสอนที่เภหมาะสม แต่เภนื่องจากครูส่วนใหญ่ยังขาดประสบการณ์และเภทคนิคการใช้ เภทคโนโลยี จึงทาให้การจัดการเภรียนรู้ลักษณะน้ียังไม่ประสบความสาเภร็จเภท่าที่ควร แต่หากได้รับการสนับสนุน ร่วมกันทุกฝ่ายไม่ว่าจะเภป็นคณะผู้บริหารทั้งระดับจังหวัด ระดับอาเภภอ ข้าราชการครู และพนักงานราชการ ก็จะสามารถดาเภนินการให้สาเภรจ็ ได้ไม่ยาก ข้อควรระวัง คือ เภนื้อหาท่ีใช้อ้างอิงเภกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ ต้องอ้างอิงจากแหลง่ ข้อมูลที่เภชอ่ื ถอื ได ขอ้ มลู /หลักฐานอ้างอิง การทา MOU ระหว่าง สานกั งาน กศน. กบั ม.ทกั ษิณ
นทิ รรศการเภปิดบา้ นวิชาการของสานกั งาน กศน.จังหวัดสงขลา กศน.ระโนดดาเภนนิ การจัดนิทรรศการ E-Learning MOOC ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั สงขลาและ ผอ.ธนากร เภก้อื กูล ผอ.กศน.จงั หวัดสงขลา เภยย่ี มชมนิทรรศการ E-Learning MOOC ในงานเภปดิ บา้ นวชิ าการ
อนิ โฟกราฟกิ ข้นั ตอนการใช้งาน MOOC
การทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมอื ทางการศกึ ษา ระหวา่ งสานกั คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ กับสานักงาน กศน.จงั หวัดสงขลา
QR CODE วดี ีทศั น์การบันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือ MOU https://drive.google.com/file/d/1rOmomRXqCCdGur8znuc1a-IvC99gPQbB/view?usp=sharing ค่มู อื E-Learning MOOC สาหรับนกั ศกึ ษาและประชาชนทั่วไป
ระดมความคดิ เภพอ่ื กาหนดทศิ ทางการขบั เภคลอื่ นโครงการเภกยี่ วกบั e Learning MOOC https://krupatomporndhamma.blogspot.com/2018/11/blog-post_25.html ผอ.ธนากร เภกื้อกลู ผูอ้ านวยการ กศน.จงั หวดั สงขลา ให้เภกยี รติถา่ ยรปู กบั นทิ รรศการและคณะทางาน
ครูผู้รว่ มงานวันครูใหค้ วามสนใจเภข้ารว่ มชมนทิ รรศการ MOOC จดั นิทรรศการวชิ าการ E-Learning MOOC เภพ่ือใหค้ วามรูแ้ ละแลกเภปลย่ี นเภรียนรู้กบั บุคลากรสังกัดอ่นื ๆ โดยไดร้ ับการสนับสนนุ จาก สานกั งาน กศน.จังหวัดสงขลา เภน่อื งในวนั ครู ประจาปี 2562 https://krupatomporndhamma.blogspot.com/2019/01/15-2562-e-learning-mooc-2562.html
การประชุมเภชิงปฏิบัติการการจดั ทา E-Learning MOOC และเภทคโนโลยีดิจทิ ลั เภพ่ือการจดั กระบวนการเภรียนรู้ ภายใตโ้ ครงการ การจัดการ ศกึ ษาโดยใชส้ ่อื เภทคโนโลยดี จิ ิทลั กล่มุ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สถาบัน กศน.ภาคใต้ https://krupatomporndhamma.blogspot.com/2018/12/blog-post_19.html ครู กศน.อาเภภอระโนด ให้ความรกู้ ารใช้ E-Learning MOOC สาหรบั นกั ศกึ ษาของ กศน.อาเภภอบางกลา่ https://krupatomporndhamma.blogspot.com/2019/01/15-2562-e-learning-mooc.html ผเู้ ขยี น นายปฐมพร ธมั มาภริ ัตตระกูล ครู คศ.๑ กศน.อาเภภอระโนด/สถาบนั กศน.ภาคใต้ ผสู้ นบั สนนุ และตรวจสอบข้อมลู 1. นายธนกร เภกอื้ กลู ผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา 2. นายไพโรจน์ คเภชนทองสุวรรณ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภภอระโนด สานกั งาน กศน.จังหวัดสงขลา ผบู้ รรณาธิการ อภิสิทธิ์ อดีตศึกษานิเภทศกเ์ ภชยี่ วชาญ จันทปัญญาศิลป์ อดีตศึกษานิเภทศก์ชานาญการพเิ ภศษ 1. นายทวปี สวัสดี ศกึ ษานิเภทศก์ชานาญการพเิ ภศษ 2. นายอวยชยั สานักงาน กศน.จังหวดั สรุ ินทร์ 3. นางวชั รี
การถอดบทเรียนท่ปี ระสบความสาเรจ็ ดีเด่น โครงการภาษาอังกฤษเพอื่ การสอื่ สารด้านอาชพี (กรณีศกึ ษา : ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองตรัง (กศน.อาเภอเมืองตรงั ) สานกั งาน กศน.จงั หวัดตรัง) ความเปน็ มาของโครงการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตรัง (สานักงาน กศน.จังหวัดตรัง) ขับเคลื่อนงานตามนโยบายพัฒนากาลังคนและสร้างความสามารถในการแข่งขัน การยกระดับมาตรฐานพัฒนา หลักสูตรสื่อ และครูด้านภาษา ประกอบกับจุดเน้นของสานักงาน กศน. ในการดาเนินงานเพ่ือขยายโอกาสในการ เข้าถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตแก่ประชาชน โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สานักงาน กศน. จัดการอบรมครู ซ่ึงเป็นผู้แทนจากสถานศึกษาในจังหวัด โครงการพัฒนาทักษะครูต้นแบบการ สอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารและเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้ (Boot Camp) ทั้งน้ีผลจากการอบรม พบว่า ครูมีทัศนคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษมากข้ึน ครูได้รับความรู้ ทักษะเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษในรปู แบบ (Boot Camp) สถานศกึ ษา กศน.อาเภอในจังหวดั ตรัง จัดอบรมขยายผลเพิ่มเติมสู่ประชาชน โดยการเปิดสอนหลักสูตร ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพต่าง ๆ หลักสูตร 40 ชั่วโมง หลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการท่องเท่ียว หลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการค้าออนไลน์ และหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการซ้ือขาย ให้กับประชาชน กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เพ่ือให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ด้านอาชีพ สามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ และ ใช้ประโยชน์ในการดาเนิน ชีวติ ประจาวนั ได้ กศน.อาเภอเมืองตรัง เป็นสถานศึกษาท่ีประสบความสาเร็จในการจัดโครงการอบรมหลักสูตร ภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพพนักงานขายสินค้า ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมพึงพอใจในกระบวนการจัดอบรมค่ายฝึก ท่ีสนุกสนาน ทั้งภาคทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติในรูปแบบ (Boot Camp) สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ได้จริง ในการประกอบอาชีพพนกั งานขายสนิ คา้ และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ ขน้ั ตอนการดาเนินงาน กศน.อาเภอเมอื งตรงั ได้ดาเนนิ การตามขน้ั ตอน ดงั นี้ 1. สานักงาน กศน.จังหวัดตรัง จัดทาโครงการอบรมพัฒนาทักษะครูต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือ การส่ือสารและเทคนคิ การจดั กระบวนการเรยี นร้แู บบคา่ ยฝึก (Boot Camp) 2. กศน.อาเภอเมืองตรัง จัดส่งครูและบุคลากรเข้ารับการอบรมโครงการพัฒนาทักษะครูต้นแบบ การสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสารและเทคนคิ การจดั กระบวนการเรียนรแู้ บบคา่ ยฝึก (Boot Camp)
ภาพการอบรมครตู น้ แบบภาษาอังกฤษเพอื่ การสือ่ สารด้านอาชพี ระหว่างวนั ที่ 21 – 23 กุมภาพันธ์ 2561 3. กศน.อาเภอเมืองตรัง จัดส่งครูและบุคลากรเข้ารับการอบรมโครงการพัฒนาทักษะครูต้นแบบ การสอนภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสารและเทคนคิ การจัดกระบวนการเรยี นร้แู บบค่ายฝึก (Boot Camp) 4. จดั ประชมุ วางแผนการดาเนนิ งานเพ่อื ขยายผลสปู่ ระชาชน แต่งตงั้ คณะทางาน 5. ศกึ ษาความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมายประชาชนในพื้นท่ี 6. จดั ทาหลักสตู ร 6.1 ใช้เอกสารทางวิชาการของกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานกั งาน กศน. เปน็ แนวทางในการจัดทาหลักสูตร 6.2 ประสานวิทยากรในการจัดทาหลกั สูตร 6.4วิเคราะห์ปรบั ปรุงหลักสูตรโดยผทู้ รงคุณวฒุ ิท่ีมสี ่วนเกี่ยวข้อง 6.4 หลกั สูตรมคี วามยดื หยุ่นในด้านเนื้อหาสาระ และระยะเวลา 7. ประกาศรบั สมัครผู้เขา้ รับการอบรม อาชีพพนกั งานขายสินคา้ ผู้เกี่ยวข้องที่ต้องใชภ้ าษาอังกฤษ ในการประกอบอาชีพ หรอื ผสู้ นใจ 8. จัดกระบวนการอบรมโดยวิทยากรทั้งชาวไทยและต่างชาติ รวมท้ังครู กศน. ท่ีผ่านการอบรม ท่ีมีความสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคนิคการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ในรูปแบบค่ายฝึกท่ีสนุกสนาน และ การฝกึ ปฏบิ ตั ิในสถานทีจ่ รงิ ความสาเรจ็ ที่เปน็ จุดเด่นของโครงการ 1. กลวิธีการสอนภาษาอังกฤษใหส้ นุก 1.1 บรรยาย ยกตัวอย่าง เพอ่ื ใหเ้ หน็ ภาพชดั เจน (บรรยากาศสนกุ ไม่น่าเบือ่ ความรู้จดั เตม็ ) 1.2 Workshop / รว่ มแชรป์ ระสบการณ์ / แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ 1.3 ถาม-ตอบทุกปญั หา เพ่ือสามารถนากลบั ไปใช้จริงในการทางาน
1.4 ใช้เพลงในการสอนให้ผู้เข้ารับการอบรมร้องเพลงภาษาอังกฤษ ซึ่งจะได้ท้ังความสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ และจะคนุ้ เคยกบั การใช้สาเนยี งภาษาอังกฤษโดยไมเ่ คอะเขนิ 1.5 การใช้เกมการเล่นเกมภาษาองั กฤษสอนและอธิบายอย่างไม่เร่งรีบ ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่าง การเรยี นรู้ 1.6 การใช้ส่อื มลั ติมเี ดยี เปน็ การเพิม่ ทางเลอื กในการเรยี นภาษาองั กฤษไดด้ มี าก ทุกวันนี้มี Website สาหรบั สามารถฝกึ ออกเสียงไดใ้ กลเ้ คยี งกับเจา้ ของภาษา 1.7 การศกึ ษาดงู านในจังหวัดใกลเ้ คยี ง เพอ่ื ใหผ้ ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมสามารถสนทนากับเจ้าของภาษา ได้จรงิ 2.8สรุปภาพรวม เคลด็ ลับ และการนาไปประยุกตใ์ ชจ้ รงิ ในการทางาน 2. ผูเ้ ข้ารบั การอบรมสนุกสนานในการเรยี นรู้ 3. กลุ่มเป้าหมายท่ีผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตร ภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพพนักงานขายสินค้า พึงพอใจกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สนุกสนาน สื่อการจัด กระบวนการเรียนรู้ทันสมัย การฝึกปฏิบัติจริง สามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ และ ดาเนนิ ชวี ิตประจาวันได้ เกดิ การเรยี นรู้ในการใชภ้ าษาอังกฤษในการขาย การดูแลบรกิ ารลกู คา้ เพอื่ ใหไ้ ด้ผลสงู สดุ 4. ผู้เรียนสามารถนาไปต่อยอดได้ในแต่ละสาขาอาชีพของตนเองทันที โดยใช้เวลาท่ีน้อยท่ีสุด รวมท้ัง การสร้างความเขา้ ใจถงึ วัฒนธรรมทมี่ ากับการใชภ้ าษาอังกฤษ ที่ควรทราบ เพ่ือลดความเสี่ยงทางด้านการเข้าใจผิด ของสนิ คา้ และบริการหรือแม้กระทัง่ ต่อผใู้ ช้ภาษาองั กฤษในการทางาน ตัวอย่างของผเู้ ข้ารับการอบรมที่ประสบความสาเร็จ สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้พัฒนาอาชพี และในชีวติ ประจาวนั 1. คุณพรองค์อนิ ทร์ ธาระธนผล อาชพี ดเี จ/สมาคมส่ือมวลชนเพื่อการท่องเท่ียว ผ่านอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพพนักงานขาย สินค้า จานวน 40 ช่ัวโมง ณ กศน.อาเภอเมืองตรัง
เน้ือหาสาหรับพนักงานขายสินค้า กลุ่มผู้มีอาชีพค้าขาย ท้ังขายหน้าร้านและขายของออนไลน์ ซ่ึง เมื่อผ่านการอบรมสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ และดาเนินชีวิตประจาวันทาให้ เรียนรูก้ ารใช้ภาษาองั กฤษในการขาย การดแู ลบรกิ ารลกู คา้ ซ่ึงคุณพรองค์อินทร์ กล่าวว่า “การพยายามที่จะเข้าใจภาษาอ่ืนนอกเหนือไปจากภาษาหลักของเรา จะทาให้เราอยู่ในจุดที่ง่ายต่อการค้นพบตัวเอง และส่ิงที่เราชอบจริงๆ เมื่อเราเปิดใจต่อวัฒนธรรมอ่ืน และต้ังใจ เรียนรู้จนประสบความสาเร็จ จะทาให้เรารู้สึกดีกับตัวเองมากข้ึน ง่ายขึ้น เกิดแรงบันดาลใจ และมีเป้าหมาย นอกจากนี้ การมที ักษะด้านภาษาทดี่ ี โดยเฉพาะภาษาองั กฤษ ก็จะทาให้เรารู้สึกมน่ั ใจมากขึน้ ในการเขา้ สงั คม ดงั นน้ั อยา่ กลวั อย่าอาย จนไม่กล้าลงมือทาอะไรใหม่ๆ เพราะบทเรียนที่เราได้จากความผิดพลาดคือ สิ่งที่สอนให้เราพัฒนาขึ้น หากไม่ลองแล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งเหล่าน้ันผิดหรือถูก การเรียนภาษาอังกฤษก็ เชน่ เดยี วกัน” 2. คุณปารชิ าติ วงศว์ วิ ัฒน์ อาชพี ธรุ กิจร้านปกั ผา้ /ขายสนิ คา้ แฮนดเ์ มด ผ่านอบรมภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพพนักงานขาย สินค้า จานวน 40 ชว่ั โมง ณ กศน.อาเภอเมืองตรงั คุณปาริชาติ กล่าวถึงการเข้ารับการอบรมคร้ังนี้ เกิดจากหน่ึงในปัญหาของการเรียนภาษาอังกฤษที่เคยเกิดข้ึนกับ ตัวเองคือไม่สามารถนามาใช้ส่ือสารได้ในชีวิตจริง และปฏิเสธ ไม่ได้เลยว่าภาษาอังกฤษเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะด้านการทางาน หรือแม้แต่การท่องเที่ยว หลังจาก ตระหนักถึงความสาคัญในจุดน้ี จึงได้พยายามฝึกภาษาอังกฤษ ลองมาหลายวิธีก็ไม่ได้ผล จึงตัดสินใจไปเรียนภาษา ท่ี กศน. อาเภอเมืองตรัง บรรยากาศในห้องเรียนน้ันเป็นไปด้วยความ สนุกสนานเฮฮาแต่อดั แน่นไปด้วยความรู้ คุณครูแต่ละคนมีวิธีการ สอนทแี่ ปลกใหมใ่ นแบบของตัวเองผ่านกิจกรรมกลุ่ม คู่ หรือเดี่ยว ทาให้ผู้เรียนไม่รู้สึกเครียดจึงสามารถซึมซับส่ิงท่ีเรียนได้อย่าง เต็มท่ี ไมใ่ ช่แค่การท่องจาเพ่อื นาไปสอบแต่สามารถนาไปใช้ได้จริง นอกห้องเรียน ข้อคิดข้อควรคานึงในการนาไปขยายผล 1. ควรสนบั สนนุ การจัดโครงการอย่างต่อเนอื่ ง 2. ครผู ู้สอนตอ้ งเป็นผทู้ ส่ี อนเก่ง สอนสนกุ มีเกมและกจิ กรรมให้เล่น ใหท้ า 3. ควรมีการนาวิทยากรที่เปน็ เจา้ ของภาษามาใชใ้ นการฝึกอบรม เพื่อความถูกต้องและชัดเจน 4. จะต้องนเิ ทศติดตามผลสัมฤทธ์ิหลงั ผ่านการอบรม 5. ควรจัดโครงการต่อยอดด้านภาษาใหผ้ ผู้ ่านการอบรมไปแล้ว
ข้อมลู อ้างองิ 1. โครงการอบรมครูต้นแบบภาษาอังกฤษเพ่ือการ สอ่ื สารดา้ นอาชพี สานกั งาน กศน.จงั หวัดตรัง 2. โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้าน อาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพสาหรับ พนกั งานขายสนิ ค้า กศน.อาเภอเมอื งตรงั ภาพการจัดกระบวนการเรยี นรู้ เทคนคิ การจดั กระบวนการเรียนรแู้ บบคา่ ยฝึก (Boot Camp) ภาพบรรยากาศการสอนภาษาอังกฤษในชนั้ เรยี น ผู้ใหข้ อ้ มูล นายธนากร เยาว์ดา นักวชิ าการศึกษา สานักงาน กศน.จังหวดั ตรัง ผเู้ รียบเรยี งและเขียนต้นฉบบั ร่าง นางละออง ภู่กลาง ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวดั ตรงั ผบู้ รรณาธิการ 1. นายทวปี อภิสิทธิ์ อดีตศกึ ษานเิ ทศก์เชี่ยวชาญ 2. นางรานี น้อยสกลุ ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการ สานักงาน กศน.จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
การถอดบทเรียนความสาเรจ็ ดเี ด่น โครงการสรา้ งชมุ ชน (สารสนเทศ) ตน้ แบบดเี ด่นเพอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ิต (กรณีศึกษา : ชมุ ชนบา้ นหนิ เทนิ ตาบลแสงอรุณ จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ)์ ความเปน็ มาของโครงการ รัฐบาลมีมติ ครม. เม่ือวันท่ี 21 กันยายน พ.ศ. 2538 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชนบท นาข้อมูล จปฐ. และขอ้ มลู กชช.2ค ทศี่ นู ย์สารสนเทศเพ่อื การพัฒนาชมุ ชนกระทรวงมหาดไทยจัดทาไว้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน โดยมีนโยบายให้จัดทาสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อพัฒนา คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ขึ้ น แ ล้ ว ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ต า บ ล น า ข้ อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร ส ร้ า ง ชุ ม ช น ใ ห้ เ ข้ ม แ ข็ ง สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยให้นาข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.2ค ท่ีมีอยู่ดังกล่าวไปตรวจสอบวิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยใช้เครื่องมือ CIA (Community Information Radia Analyzes) แล้วนาไปใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน โดยการบริหารจัดการชุมชนผ่านเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธผ์ ่านส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ สร้างเครอื ขา่ ยเพอ่ื พฒั นาและแก้ปัญหาสรา้ งตาบลต้นแบบให้เป็นแหล่งศึกษา ดูงานฝึกอบรมให้ความรู้และขยายผลไปยังตาบลท้ังในและนอกจังหวัด โดยทีมขับเคล่ือนฯ ระดับตาบล อาเภอ จังหวดั ได้ออกไปสร้างการรบั รู้และทาความเข้าใจกับประชาชนตั้งแต่ระดับตาบล ไปจนถึงหมู่บ้านและชุมชน และ ได้รวบรวมสภาพปัญหาความต้องการต่าง ๆ มานาเสนอให้คณะกรรมการระดับอาเภอ จังหวัด ได้รับทราบและ ดาเนนิ การตอ่ กศน.ตาบลแสงอรุณ สังกัด กศน.อาเภอทับสะแก สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมี นางสาวจิราพร ยอดแก้ว ครู กศน.ตาบลแสงอรุณ ได้ร่วมรับฟังการชี้แจงการดาเนินงาน การประชุม ทีมขับเคล่ือน การจัดเวทีประชาคมเพ่ือร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนบ้านหินเทิน หมู่ 5 ตาบลแสงอรุณ อาเภอทบั สะแก จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ การดาเนินงานตามนโยบายการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของชุมชนบ้านหินเทินมีการจัดเวที ประชาคม เพ่ือสร้างการรับรู้ของประชาชนในชุมชน มีการดาเนินงานตามกรอบประเด็นโครงการไทยนิยมย่ังยืน ท้ัง 10 ประเด็น ได้แก่ สัญญาประชาคมผูกใจไทยเป็นหน่ึง คนไทยไม่ท้ิงกัน ชุมชนอยู่ดีมีสุข วิถีไทยวิถีพอเพียง รู้สิทธิ รู้หน้าท่ี รู้กลไกการบริหารราชการ รู้รักประชาธิปไตยไทยนิยม รู้เท่าทันเทคโนโลยี ร่วมแก้ไขปัญหายาเสพติด และงานตามภารกิจของส่วนราชการและหน่วยงานอ่ืน ๆ ผลที่ได้จากการดาเนินงานตามกรอบประเด็น โครงการ ไทยนิยมย่ังยืน จากการจัดทาเวทีประชาคมเพื่อสร้างการรับรู้ของประชาชนในชุมชน ทาให้ทราบปัญหาและ ความต้องการที่จาเป็นในชุมชนเพ่ือพิจารณาค้นหาทางเลือกหรือพัฒนาทางเลือกใหม่ ๆ เพื่อยกระดับคุณภาพ ของชมุ ชนและกจิ กรรม/โครงการท่ีเหมาะสม
ภาพเวทปี ระชาคม ไทยนยิ ม ย่ังยนื ขัน้ ตอนการดาเนินงาน 1. จังหวัดประจวบคีรีขันธแ์ ตง่ ตัง้ คณะกรรมการข้ึน 2 คณะแบ่งเป็น 2 โซน คอื โซนเหนือและโซนใต้ 2. ให้แต่ละอาเภอเสนอรายช่ือหมู่บ้านหรือตาบลที่จะจัดสารสนเทศต้นแบบอาเภอละ 1 หมู่บ้าน หรือ 1 ตาบลใหค้ ณะกรรมการพิจารณาโดยมหี ลักเกณฑ์พิจารณา ดังน้ี 2.1. ความเขม้ แข็งของหมู่บ้านหรอื ตาบล 2.2. การมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วน 2.3 มอี าคารสถานที่และมีสัญญาณอินเตอรเ์ นต็ 2.4 จานวนหมู่บ้านไม่เกิน 10 หมู่บ้านหรือตาบล (ผลการคัดเลือกหมู่บ้านสารสนเทศของอาเภอ สามรอ้ ยยอดตาบลไร่เกา่ ได้แก่ บา้ นตลาดไร่เก่า ผลการคัดเลือกตาบลสารสนเทศ ไดแ้ ก่ ตาบลแสงอรุณ อาเภอทับ สะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ) 3. กระบวนการขับเคลือ่ น 3.1. จัดประชุมสร้างความเข้าใจแก่ผู้นาหมู่บ้านและผู้แทนองค์กรบริหารส่วนตาบลแสงอรุณ โดยมี นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลแสงอรุณเป็นประธาน 3.2 แต่งต้ังคณะทางานระดับสากลเพ่ือร่วมกันขับเคล่ือนตาบลสารสนเทศ ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลเพ่อื เปน็ ทางเลอื กในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 5 ดา้ น คือ
1) การสารสนเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพ 2) สารสนเทศเพ่ือการจัดการทุนของชุมชนต้นแบบและพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการจัดเวที ประชาคมเพ่ือร่วมกันกาหนดความต้องการร่วมกันโดยใช้โปรแกรม CIA สารสนเทศเพื่อการเพ่ือจัดการความเสี่ยง ของชุมชน 3) สารสนเทศเพอ่ื การแก้ไขปญั หาความยากจน 4) สารสนเทศเพอ่ื การบริหารจดั การชุมชน 5) สารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารจดั การชุมชน 3.3 นาเสนอผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์แก่คณะทางานระดับตาบลเพ่ือรับทราบร่วมกันและ จดั ทาสารสนเทศภูมศิ าสตร์ web GIS โดยการวาดขอบเขตแผนที่หมู่บ้านปักหมุดระหว่างสัญลักษณ์สถานที่สาคัญ สาคัญของตาบลเพ่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ตาบลสารสนเทศต้นแบบและมีแผนการบารุงรักษาการสื่อสารผ่าน ระบบออนไลน์ เช่น ไลนก์ ลุ่มตาบล Facebook ตาบลสารสนเทศตน้ แบบเวบ็ ไซต์ และ YouTube เป็นต้น ความสาเร็จดีเด่นของชุมชนตาบลแสงอรณุ 1. มีผู้นาหมู่บา้ น (กานนั เอก) ที่รู้ข้อมูลพ้ืนฐานละเอียดชัดเจน มีลักษณะผู้นาเด่น สามารถประชุมช้ีแจง ทาความเข้าใจให้ผู้ร่วมงานและประชาชนในตาบลรู้และเข้าใจประโยชน์ของการนาข้อมูลพ้ืนฐานไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาชมุ ชนของตนได้อยา่ งชัดเจน 2. ในตาบลมีทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรธรรมชาติเป็นต้นทุนของชุมชนที่สามารถนาไปใช้ประกอบ อาชีพได้หลากหลาย เช่น กล้วยตาก เมี่ยงคาน้ามะพร้าว ถ่านกะลาอัดแท่ง วุ้นน้ามะพร้าว ขนมปังชีสเชค มีแหล่ง ท่องเที่ยว คือ ชายหาดแสงอรุณและคลองบางกลุม่ ท่ีใช้เป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนเข้มแข็งและการจัด ท่องเทีย่ วเชงิ อนรุ ักษเ์ กษตร OTOP นวัตวถิ ี หม่ทู ่ี 4 หมทู่ ่ี 5 เป็นตน้ 3. มหี ลกั เกณฑใ์ หแ้ ตล่ ะอาเภอพจิ ารณาเสนอรายชอ่ื หม่บู ้านหรือตาบลที่จะจัดสารสนเทศต้นแบบอาเภอ ละ 1 หมู่บ้าน หรือ 1 ตาบล โดยมีหลักเกณฑ์พิจารณาให้คณะกรรมการพิจารณา (ผลการคัดเลือกตาบล สารสนเทศได้แก่ตาบลแสงอรุณอาเภอทับสะแกจงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์) 4. มีแผนการจัดการและมีกระบวนการขับเคลือ่ นทีด่ ี 4.1 จัดประชุมสร้างความเข้าใจแก่ผู้นาหมู่บ้านและผู้แทนองค์กรบริหารส่วนตาบลแสงอรุณ โดยมี นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลแสงอรุณเป็นประธาน 4.2 แต่งตัง้ คณะทางานระดบั สากลเพื่อรว่ มกันขบั เคลอ่ื นตาบลสารสนเทศในการวิเคราะห์สังเคราะห์ ข้อมลู เพอื่ เป็นทางเลอื กในการพฒั นาคุณภาพชวี ิต 5 ดา้ น คือ 1) การสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาอาชีพ 2) สารสนเทศเพื่อการจัดการทุนของชุมชนต้นแบบและพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการจัดเวที ประชาคมเพ่อื รว่ มกนั กาหนดความตอ้ งการร่วมกนั โดยใชโ้ ปรแกรม 3) สารสนเทศเพ่ือการเพื่อจดั การความเส่ยี งของชมุ ชน 4) สารสนเทศเพ่อื การแกไ้ ขปัญหาความยากจน 5) สารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการชุมชน
4.3 นาเสนอผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์แก่คณะทางานระดับตาบลเพื่อรับทราบร่วมกันและ จดั ทาสารสนเทศภมู ิศาสตร์ web GIS โดยการวาดขอบเขตแผนท่ีหมู่บ้านปักหมุดระหว่างสัญลักษณ์สถานท่ีสาคัญ สาคัญของตาบลเพ่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ตาบลสารสนเทศต้นแบบและมีแผนการบารุงรักษาการสื่อสารผ่าน ระบบออนไลน์ เช่น ไลน์กล่มุ ตาบล Facebook ตาบลสารสนเทศตน้ แบบเว็บไซต์ และ YouTube เป็นตน้ 4.4 มกี ระบวนการทางานท่ีดี เช่น 1) มีการจัดประชุมชี้แจงทาความเข้าใจแก่ตัวแทนหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ผู้นาท้องถิ่น นายก อบต. ปลดั อาเภอ หัวหน้ากลุ่มสารสนเทศ พร้อมคณะทางานและเจ้าหน้าท่ีสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ภาคีเครือข่าย เชน่ ครโู กศลครจู ากโรงเรียนในตาบลและสาธารณสุขตาบล เป็นตน้ เจ้าหน้าที่ร่วมกันจัดทาแผนตาบลผรู้ บั ผดิ ชอบ 2) จัดเวทีประชาคมครั้งที่ 2 และคร้ังท่ี 3 เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน แล้วนาเสนอผลการวิเคราะห์มาจัดลาดับความสาคัญเร่งด่วนและร่วมกันจัดทาโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาในระดับ ตาบลโดยนาผลวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม CIA มาเปรียบเทียบกับผลวิเคราะห์จากการจัดเวทีไทยนิยมย่ังยืน เปน็ รายหม่บู า้ นเพ่อื หาจุดมงุ่ หมายทชี่ ัดเจนในการพฒั นาและขับเคล่ือน 3) คัดเลือกกิจกรรม/หรือโครงการจัดทาแผนบูรณาการแยกเป็น 3 ประเภท คือโครงการ ทาเอง โครงการทาร่วม และเสนอขอรับการสนับสนุนตามประเภท คือ โครงการทาเองโครงการทาร่วม และ โครงการขอรบั การสนบั สนุนตามการจดั ลาดับความสาคัญ 4) นาผลสรุปข้อเสนอการทาโครงการจากการจัดเวทีประชาคม ทั้ง 6 โครงการ ไปดาเนนิ การ ดังนี้ 1. การแปรรปู ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่การเปน็ สินค้า OTOP (โครงการทาร่วม) 2. การรวมกลุ่มเกษตรกรปลอดสารพษิ (โครงการทาร่วม) 3. การรวมกลมุ่ มะพร้าวขาว (โครงการทารว่ ม) 4. การขยายผลสร้างฝายมีชีวิตเพิ่มจากเดิม 8 ฝาย เพ่ิมข้ึนอีก 2 สาย โดยไม่ใช้ งบประมาณเพอ่ื สรา้ งความชุ่มชืน้ และทาใหม้ ีน้าใต้ดนิ (โครงการทาเอง) 5. การเพาะเลีย้ งแตนเบยี นเพ่ือแก้ปัญหาจากแมลงศัตรูพืชระดับตาบลและระดับอาเภอ (โครงการทาเอง) 6. OTOP นวัติวิถี 2 หมู่บ้าน และเตรียมความพร้อมที่จะเข้าร่วมทุกหมู่บ้าน โดยทุกหมู่บ้าน เข้าร่วมโครงการเป็นเจ้าบ้านท่ีดี การทาโฮมสเตย์ (ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ) ส่วนท่ีเหลือส่วนใหญ่จะเป็น โครงการท่ีสร้างอาชีพสร้างรายได้ในส่วนของสาธารณูปโภค เสนอขอรับการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคีการพฒั นา
โครงการท่ชี มุ ชนทาแล้วประสบผลสาเรจ็ ดีเดน่ 1. โครงการเพาะเลี้ยงแตนเบยี นและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดจากทุกส่วนในตาบล มีกฎกติกาของตาบล สาหรับผู้ปลูกมะพร้าวเป็นโครงการที่ดาเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 5 ปี และมีแผนท่ีจะขยายไปยังตาบล ข้างเคียงโดยจัดตง้ั ศนู ย์เรียนรู้รักษามะพรา้ วชาวแสงอรุณ 2. โครงการปฏิบตั ิตามแผนการขับเคล่ือนประชาสัมพันธ์ ตาบลแสงอรุณ โดยฝึกอบรมการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการส่ือสาร 1 รุ่น ให้แก่ตัวแทนจากทุกหมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน (12 หมู่บ้าน) จัดตั้งกลุ่มตาบลสารสนเทศต้นแบบ (Line Facebook Website) มอบหมายให้ทุกหมู่บ้านมีตัวแทนรับผิดชอบระบบไอทีทุกหมู่บ้าน ประชุมประจาเดือนทุกเดือนหลังจากรับมอบหมายงานจากการ ประชุมกานันผู้ใหญ่บ้านประจาเดือน เพื่อวางแผนเตรียมความ พร้อมและสร้างกระบวนการเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมแก่ คณะกรรมการและผู้นาชุมชนเพ่ือให้หมู่บ้านตาบลเป็นชุมชน ทีเ่ ข้มแขง็ มคี วามย่ังยืน ขอ้ ควรคานึงในการนาโครงการไปพัฒนา ปญั หาอุปสรรค 1. การจดั เวทีประชาคมไมต่ รงกบั เวลาของประชาชนในพื้นท่ที ่จี ะมาเข้าร่วมได้ 2. วทิ ยากรไมไ่ ดม้ าตามเวทีท่รี ับผิดชอบ ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเห็นถึงความสาคัญของการเข้าร่วมโครงการไทยนิยม ยั่งยืน อยา่ งต่อเน่ือง และแสดงความคิดเห็นตามความต้องการของตนเองอยา่ งแท้จรงิ 2. ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการระดับตาบลควรมีความรู้ความเข้าใจ เป้าหมาย บทบาทหน้าที่และ แนวทางการดาเนนิ งานตามโครงการไทยนยิ ม ยัง่ ยืน 3. คณะกรรมการโครงการไทยนยิ มย่งั ยนื ต้องรวบรวมสภาพปัญหา ความต้องการ ข้อเสนอแนะที่ได้รับ จากการจัดทาเวที และวิเคราะห์ปัญหาและจัดลาดับความสาคัญ นาเสนอหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพื่อจัดหาและหา วิธกี ารแกไ้ ขใหต้ รงกับความต้องการของคนในชุมชน ผลงานดีเดน่ และรางวัลตา่ ง ๆ ทไ่ี ดร้ บั 1. รางวลั ชนะเลศิ ศนู ย์ประสานงานองค์กรชุมชนดเี ด่นระดบั จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ พ.ศ. 2558 2. รางวัลกองทุนแมข่ องแผน่ ดินบา้ นหินเทนิ ดเี ด่นระดบั จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ พ.ศ. 2559
3. รางวัลชนะเลิศตามโครงการคัดเลือกหมู่บ้านดีเด่น (บ้านสวยเมืองสุข) ระดับอาเภอระดับจังหวัด ระดบั เขตตรวจราชการ พ.ศ. 2559 4. รางวัลชนะเลิศหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง (อยู่เย็นเป็นสุข) ระดบั จงั หวัด พ.ศ. 2559 5. รางวัลชนะเลิศหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขตตรวจราชการ พ.ศ. 2559 6. รางวัลหมู่บา้ นรกั ษาศีลหา้ ต้นแบบ พ.ศ. 2560 7. รางวลั ชนะเลศิ สารสนเทศตน้ แบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชวี ิต ประจาปี พ.ศ. 2561 ระดับเขตตรวจ ราชการ 8. รางวลั ชนะเลศิ ศูนย์สง่ เสรมิ พฒั นาประชาธิปไตย กศน.จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ประจาปี พ.ศ. 2560 9. รางวัลหมบู่ ้านท่องเทยี่ วตน้ แบบเชิงอนุรักษธ์ รรมชาติบา้ นเพชรเพลินดินปี พ.ศ. 2561 10. รางวัลชุมชนต้นแบบการขบั เคลอื่ นการพัฒนาตามโครงการไทยนยิ มยง่ั ยืน พ.ศ. 2561 ภาพกจิ กรรม/ความสาเร็จทไ่ี ด้รบั รางวลั ชนะเลิศ ระดับอาเภอ จังหวดั และระดับเขตราชการ เขต 5 หมบู่ า้ นดเี ดน่ (บ้านสวย เมอื งสขุ ) ประจาปี 2559 รางวัลชนะเลิศหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจาปี 2559
รางวลั ชมุ ชนต้นแบบการขบั เคลอื่ นการพฒั นาตามโครงการไทยนิยมยั่งยืน พ.ศ. 2561 ผใู้ หข้ ้อมูล 1. นายภทั รดนัย สมศรี กานนั ตาบลแสงอรุณ จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ 2. นางสาวจริ าพร ยอดแกว้ ครู กศน.ตาบลแสงอรณุ สานักงาน กศน.จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ ผูเ้ ขยี น นางมณรี ัตน์ อัจฉริยพนั ธกลุ ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอทับสะแก สานกั งาน กศน.จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ผบู้ รรณาธกิ าร อดีตศึกษานิเทศกเ์ ชย่ี วชาญ อดตี ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการพิเศษ 1. นายทวปี อภสิ ิทธิ์ 2. นายอวยชยั จนั ทปญั ญาศิลป์
การถอดบทเรียนความสาเร็จของ กศน.ตาบล ๔G ดเี ด่น (กรณีศึกษา กศน.ตาบลปา่ ยุบใน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั วงั จนั ทร์ (กศน.อาเภอวังจนั ทร)์ สานักงาน กศน.จังหวดั ระยอง) ความเปน็ มาโครงการ “กศน.ตาบล ๔G” เป็นนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง การศึกษาของสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ทุก กศน.ตาบล ต้องดาเนินการขับเคลื่อน “กศน.ตาบล ๔G” ประกอบไปดว้ ย ๑. Good Teacher: มคี วามเป็นครูมืออาชพี จัดกระบวนการเรยี นรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ๒. Good Place Best Check-in สภาพแวดลอ้ มมคี วามสวยงาม สะอาด บรรยากาศเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ๓. Good Activities มีกจิ กรรมยืดหยุ่น หลากหลาย ๔. Good Partnership มภี าคเี ครือขา่ ยท่ดี ี ทางานร่วมกันอย่างเข้มแข็ง กศน.ตาบลป่ายบุ ใน ไดด้ าเนินการตามนโยบายดงั กล่าวและได้พฒั นา กศน.ตาบลป่ายุบใน จนเป็น “กศน.ตาบล ๔G ดเี ดน่ ” ทมี่ ีคณุ ภาพและเป็นแบบอยา่ งให้ กศน.ตาบลอน่ื ได้
ข้ันตอนการดาเนินงาน ขั้นตอนที่ ๑ รบั นโยบาย นางวรมน รัตนจีน ผู้อานวยการ กศน.อาเภอวังจันทร์ นาคณะครู กศน.อาเภอวังจันทร์ เข้ารับการ อบรม โครงการพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เตรียมพลิกโฉม กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” นางวรมน รัตนจนี มอบหมายให้ ครู กศน.ตาบล ท้ัง ๔ ตาบล ของ กศน.อาเภอวงั จันทร์ ได้พัฒนา กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G”
ขน้ั ตอนท่ี ๒ วเิ คราะห์ปญั หา ความต้องการ นางสาวชลจริ ศั ม์ิ ชิตเจรญิ อยู่ ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน ไดว้ เิ คราะหป์ ัญหาของตาบลว่าขาดอะไรในการเปน็ กศน.ตาบล ๔G ปรับปรุง ครู กศน.ตาบล สภาพบรรยากาศดี ส่ิงแวดลอ้ มดี เอ้ือต่อการเรียนการสอนการจัด กิจกรรม วางแผนมกี ิจกรรมยดื หยนุ่ หลากหลาย ลงพน้ื ทเ่ี ข้าถงึ ชาวบา้ นและเครือขา่ ย สอบถามความต้องการ การพฒั นาทกั ษะตา่ ง ๆ ท้งั การเรียนการสอน การฝึกอาชีพตา่ ง ๆ ขัน้ ตอนท่ี ๓ ดาเนินการ พฒั นา กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” นางสาวชลจรี ศั มิ์ ชิตเจรญิ อยู่ ครกู ศน.ตาบลปา่ ยบุ ใน ได้พัฒนา กศน.ตาบล เป็น กศน.ตาบล ๔G โดยให้ความสาคัญตามลาดบั ดังนี้ 1. G๑ Good Teacher ครมู อื อาชีพ จัดกระบวนการเรียนรอู้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๑.๑ นางสาวชลจีรัศม์ิ ชติ เจริญอยู่ ครู กศน.ตาบลปา่ ยุบ ได้รับโอกาสให้ไปเปน็ วทิ ยากร ในโครงการต่าง ๆ ทั้งในและนอกหน่วยงาน เพมิ่ ศักยภาพของครใู หม้ ากขึ้น
1.2 เข้าร่วมอบรมโครงการต่าง ๆ ทั้งจัดโดยสานักงาน กศน.จังหวัดระยอง และหน่วยงานอื่น ๆ ได้มีการมกี ารพฒั นาตนเองอย่างสมา่ เสมอทง้ั ในด้านทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์และนามาขยาย ผลได้ 1.3 ครู สามารถสอนและถ่ายทอดความรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนได้อย่างสมบูรณ์ถูกต้อง สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างย่ังยืน มีการใช้เทคโนโลยี ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้นักศึกษา อยา่ งสมา่ เสมอ เม่อื ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน มคี วามพร้อมท้งั เรื่องความรู้ ความสามารถ ความตง้ั ใจมุง่ มั่น กพ็ ร้อม ท่จี ะพฒั นาในด้านอ่ืนต่อไปอีก
๒. G๒ Good Place Best Check-in สภาพแวดล้อมมีความสวยงาม สะอาด บรรยากาศเอ้ือ ต่อการเรียนรู้ 2.1 กศน.ตาบลป่ายุบใน มีอาคารที่ใหญ่กว้าง ครู กศน.ตาบล จึงปรับมุมให้เหมาะสาหรับการ จดั การเรียนการสอน มมี มุ สง่ เสรมิ การอ่าน มีมุมหนังสือพิมพ์ และยังเป็นศูนย์เรียนรู้ใกล้บ้านในชุมชน และมุม ไว้สาหรบั จัดฝกึ อาชีพ 2.2 ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน จัดมุมห้องให้เป็นมุม ๔ ศูนย์เรียนรู้ เพื่อตอบรับภารกิจให้สอดคล้อง กับนโยบายและบริบทของพื้นที่ ตลอดจนรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนมากขึ้น ภายใต้การขับเคล่ือน การดาเนนิ งาน
๓. G๓ Good Activities มีกจิ กรรมยดื หยุน่ หลากหลาย 3.1 กจิ กรรมทจ่ี ดั กบั ผู้เรยี น 3.1.1 การจดั กิจกรรมขั้นพื้นฐาน กศน.ตาบลป่ายุบใน จัดการเรียนการสอน ให้กับ นักศึกษา ๓ ระดับช้ัน ได้แก่ ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ในการจดั การเรยี นการสอน ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน ไดม้ ีการใช้เทคโนโลยี เกมส์ กจิ กรรม ต่างๆเขา้ มาเป็นตวั ชว่ ยใหก้ ารเรียนในห้องเรียนดนู ่าสนใจข้ึน 3.1.2 การจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง กศน.ตาบลป่ายุบใน ได้จัดอบรมประชาชนใน โครงการต่าง ๆ โดยกิจกรรมและโครงการท่ีจัด ได้มีการเปล่ียนแปลงในแต่ละปีงบประมาณ เพื่อให้กิจกรรม ตา่ ง ๆ สอดคลอ้ งกับภารกจิ และนโยบายอยู่เสมอ 4. G๔ Good Partner ship มภี าคีเครือข่ายท่ดี ี ทางานรว่ มกนั อยา่ งเข้มแขง็ กศน.ตาบลป่ายุบใน ให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ท้ังกิจกรรม ท่ี กศน.ตาบลป่ายุบใน เป็นผู้จัดแล้วเครือข่ายเข้ามาร่วม และ กศน.ตาบลป่ายุบใน นา นักศึกษา ครู หรือ กจิ กรรมไปรว่ มงานกับเครือข่ายตา่ ง ๆ เช่น
1) การผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษา ระหว่างสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ในการฝึกอบรมทักษะ อาชีพในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ได้จดั ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชนให้กลบั คนในชุมชน 2) คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้จัดต้ังศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล (ศส.ปชต.) เพื่อสร้างการเรียนรู้และความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีมี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นพระประมุข 3) การร่วมงานกับเครือข่าย กศน.ตาบลป่ายุบใน นานักศึกษาเข้าร่วมโครงการของหน่วยงาน ต่างๆ ท้งั วัด อบต. อาเภอ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนอน่ื ๆ ขน้ั ตอนท่ี ๔ สรปุ ผลกจิ กรรม กศน.ตาบลป่ายุบใน ได้พัฒนา กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” ทุกด้านอย่างมีประสิทธิภาพตามภารกิจ พัฒนาจากตัวครูให้เป็นที่ยอมรับจากชุมชน ชาวบ้าน และคณะครู จนส่งผลให้เกิดการขับเคล่ือนกิจกรรม ที่หลากหลาย จน กศน.ตาบลปา่ ยุบใน เปน็ ศูนย์การในการเรียนรูข้ องคนในตาบลป่ายุบใน มีความพร้อมในการ จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการศึกษาตลอดชีวิตให้คนทุกเพศ ทุกวัย มีการจัดพัฒนาอาชีพ ส่งเสริมการมี รายได้มีงานทาของชุมชน เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ท้ังกลุ่มแม่บ้าน ผู้สูงอายุ วัยรุ่น สับเปล่ียนหมุนเวียนกิจกรรม ร่วมกบั เคร่อื งขา่ ย หนว่ ยงาน ชุมชน อย่างต่อเน่ือง และเป็นแบบอย่างการดาเนินงาน ในเร่ือง กศน.ตาบล ๔G สู่ตาบลอ่ืน ๆ จนเป็นที่ยอมรบั ระดบั อาเภอและจงั หวัด
ความสาเร็จทเี่ ป็นจุดเดน่ ของโครงการหรอื กิจกรรมนี้ ได้รับการคัดเลือกจากสถาบัน กศน.ภาค ในการจัดทาคลิป VDO กศน.ป่ายุบใน “กศน.ตาบล ๔G ดีเด่น” ของจังหวัดระยอง เพ่ือใช้ในการเผยแพร่เป็นตัวอย่างแก่ครูของจังหวัดระยองและคนท่ีต้องการได้นาไปใช้ พัฒนา กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” ซ่ึง กศน.ตาบลป่ายุบใน มีจุดแข็งที่ทาให้ เกิดเป็น Best Practice คือ นางสางชลจีรัศมิ์ ชิตเจริญอยู่ เป็นครูกศน.ตาบล ซ่ึงเป็นครูที่มีความรู้ ความสามารถ เป็นครูที่มีทักษะ การเรียนรู้ในเร่ืองต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว และสามารถนาไปขยายผล จัดกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทา “กศน.ตาบล ๔G” ของ กศน.ตาบลป่ายุบใน ได้รับการยอมรับจากคณะครูและผู้บริหารของ กศน. อาเภอวังจันทร์ จงั หวดั ระยอง แนวทางในการนาไปประยุกต์ใช้ “กศน.ตาบล ๔G” เป็นนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน ปี ๒๕๖๑ ที่ทุก กศน.ตาบล จาเป็นต้อง ถอื ปฏิบัติ แต่การทาให้ “กศน.ตาบล ๔G” ของตนนนั้ มีประสิทธิภาพ ส่วนสาคัญ คือ ครู กศน.ตาบล ท่ีจะต้อง มีความอดมน ต้ังใจ ม่ังม่ัง พัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ จนเกิโเป็น Good Teacher ครูเป็นมืออาชีพ เม่ือครู เป็นที่ยอมรับ ในชุมชน ในการทางาน การขับเคลื่อน “กศน.ตาบล ๔G” จึง๗ธเดินไปสู่เป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ ข้อคดิ ควรคานึงในการนาไปขยายผล ควรมกี ารจดั ทา ส่ือ เอกสารที่ทนั สมัย มีคมู่ ือที่ชัดเจนในการดาเนนิ การ กศน.ตาบล ๔G ควรมีการจัด เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครู กศน.ตาบล และในส่วนของเครือข่าย ยังขาดการประเมินผลเพื่อนามาใช้ใน การปรบั ปรุงพฒั นาการจดั กจิ กรรมร่วมกัน
ข้อมูล/หลักฐานอ้างอิง ผเู้ ขียน นางสาวฐติ ิพร พาสี ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน กศน.อาเภอวงั จนั ทร์สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง ผ้สู นับสนนุ และตรวจสอบขอ้ มูล นายก อบต.ตาบลป่ายบุ ใน เจ้าอาวาสวัดปา่ ยบุ ใน 1. นายนติ ิพฒั น์ ยทุ ธเจริญกิจ กานันผใู้ หญ่บา้ น ตาบลป่ายุบใน 2. พระครูประจักษ์คณุ าภรณ์ ผู้ใหญบ่ ้าน ม.5 ตาบลป่ายุบใน 3. นายพสษิ ฐ์ จิระฉฐั วัฒน์ ครู กศน.ตาบล 4. นายนพิ นธ์ ศรีประเสริฐ 5. นายบัลลงั ก์ กจิ จนิ ดาหลาอยู่
ผบู้ รรณาธกิ าร อภสิ ิทธิ์ อดีตศึกษานเิ ทศก์เชย่ี วชาญ จนั ทปัญญาศลิ ป์ อดตี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ 1. นายทวปี รตั นจนี ผู้อานวยการ กศน.อาเภอวงั จันทร์ 2. นายอวยชัย สานักงาน กศน.จังหวดั ระยอง 3. นางวรมน พลฤทธิ์ ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ สานกั งาน กศน.จงั หวดั อุตรดิตถ์ 4. นางกฤษณา อนิ บวั ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ สานักงาน กศน.จังหวดั ระยอง 5. นางสาววารที ิพย์
การถอดบทเรยี นความสาเร็จดเี ดน่ กิจกรรมการใช้ SMART PLUG ในการบรหิ ารจดั การน้าและอุปกรณ์ไฟฟา้ อนื่ ๆ ผา่ น SMART PHONE (กรณีศกึ ษา : นายกอบกฤต เกษตรากสกิ รรม แหลง่ เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียง กศน.ตาบลโนนหอ้ ม กศน.อาเภอเมืองปราจีนบรุ ี สานกก งาน กศน.จกงหวกดปราจนี บรุ ี) ความเปน็ มาของโครงการ ตามท่ีรกฐบาลได้มีนโยบายช่วยเหลือเกษตรกร โดยให้เกษตรกรไทยต้องเป็น “เกษตรกรปราดเปรื่อง” (Smart Farmer) คือ ต้องนาความรู้ หลกกวิชาการและเทคโนโลยีสมกยใหม่ เข้ามาช่วยการทาเกษตรกรรม ทาเอง ใหน้ ้อยลง แตไ่ ด้ผลผลิตมากข้นึ ใช้พื้นท่นี ้อยลง ใช้นา้ นอ้ ยลง แต่ผลผลติ เพิม่ ขนึ้ กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรี จึงได้จกดทาหลกกสูตรความรู้ท่ีสามารถถ่ายทอดข้อมูลเชิงลึกให้แก่ผู้อ่ืน (Smart ONIE) เพ่อื สร้างเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Famer) จานวน 18 ช่กวโมง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ทกนต่อ การเปลย่ี นแปลงของพฤติกรรม ผู้บรโิ ภค และเทคโนโลยที ่ีเปล่ียนแปลงไปในยคุ ดิจทิ ลก โดยการใช้กระบวนเรียนของเกษตรกรให้ได้รกบความรู้ ความเข้าใจ ในเร่ืองต่าง ๆ ดกงนี้ (1) มีความรู้ ในเร่ืองท่ีทาอยู่ (2) มีข้อมูลประกอบการตกดสินใจ (3) มีการบริหารจกดการผลผลิตและการตลาด (4) มีความ ตระหนกก ถึงคณุ ภาพสินค้าและความปลอดภกยของผ้บู รโิ ภค (5) มีความรบก ผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม/สกงคม (6) มีความ ภูมิใจในความเป็นเกษตรกร เพ่ือสร้างความมก่นคง ม่กงค่กง ย่กงยืน ต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นเกษตรกร ปราดเปร่ือง (Smart Farmer) ยุค Thailand 4.0 อย่างแท้จรงิ จากหลกกสูตร หลกกคดิ เกษตรกรปราดเปร่ือง (Smart Famer) หกวข้อการนาเทคโนโลยี เข้ามาช่วยทาให้ การทาเกษตรกรรมได้มปี ระสิทธิภาพมากขึ้น โดยวิยากรได้นา เทคโนโลยแี ผน่ โซล่าเซลล์ เคร่ืองต้กงเวลาการทางาน และ SMART PLUG กศน.อาเภอเมืองปราจีนบรุ ี ได้ระดมความคิดจากเกษตรกรท่ีเขา้ อบรมในการนาเทคโนโลยีใน 3 รายการ มาต่อยอดในพื้นท่ีที่เหมาะสมที่สุด มติในท่ีประชุมคือ การทดลองการนา SMART PLUG มาต่อยอด พร้อมกกบได้ คกดเลือกจดุ ตน้ แบบในการทดลอง กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรี ได้นาความรู้จากโครงการ Smart Farmer หลกกสูตรเกษตรกรปราดเปร่ือง (Smart Farmer) ยุค Thailand 4.0 (การใช้ SMART PLUT ในการบรหิ ารจกดการน้า ) มาต่อยอดในการจกดอบรม การใช้ SMART PLUG ให้กกบประชาชนในอาเภอเมืองปราจีนบุรี เพื่อจกดต้กงจุดเรียนรู้ต้นแบบ “การใช้ SMART PLUG” ในการบริหารจกดการน้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าอ่ืน ๆ ผ่าน SMART PHONE” เพื่อส่งเสริมสนกบสนุนให้ประชาชน ได้พกฒนาความรู้ด้านการเกษตร และยกระดกบเกษตรกรให้เป็น เกษตรกรปราดเปร่ือง (Smart Famer) ตามความ เหมาะสมกกบบรบิ ท และความตอ้ งการของท้องถ่นิ ในแตล่ ะชุมชน
SMART PLUG (Wi-Fi Smart Plug TP-LINK) คือ ปล๊กกไฟอกจฉริยะมีคุณสมบกติ ดกงนี้ - สามารถควบคุมอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกกบ SMART PLUG ทุก ๆ ที่ที่มีอินเตอร์เน็ต โดยใช้ แอป Kasa บน SMART PHONE - กาหนดตารางเวลาให้กกบ SMART PLUG สาหรกบ การเปิดและปิด โดยอกตโนมกติ ตามตอ้ งการ เช่นการตก้งเวลาในการเปดิ ไฟฟา้ ในช่วงค่า ใหป้ ดิ เองในตอนสว่าง - สามารถหาซื้อได้ที่ร้าน IT ทก่วไป มีต้กงแต่ราคา 550 – 2,000 บาท (ข้ึนอยู่กกบ คณุ สมบกตขิ องการใช้งาน) ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน ผงั แสดงกจิ กรรมการใหค้ วามรู้ในเร่อื ง การใช้ SMART PLUG 1. การอบรมหลกกสูตรความรู้ที่สามารถถ่ายทอดข้อมูลเชิงลึกให้แก่ผู้อื่น (Smart ONIE) เพื่อสร้าง เกษตรกรปราดเปรอื่ ง (Smart Famer) และหลกกสูตรเกษตรกรปราดเปร่ือง (Smart Farmer) ยุค Thailand 4.0 ตามหลกกสูตรของสานกกงาน กศน. จกดโครงการโดย กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรีให้แก่เกษตรกรในอาเภอเมือง ปราจนี บรุ ี จานวน 20 คน 2. การนาความรู้จากการอบรมในหลกกสูตรเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ยุค Thailand 4.0 (การใช้ SMART PLUT ในการบริหารจกดการน้า) มาต่อยอดจกดอบรมการใช้ SMART PLUG ให้กกบประชาชน ในอาเภอเมอื งปราจนี บรุ ี เพ่ือจกดตก้งจุดเรียนรตู้ น้ แบบ “การใช้ SMART PLUG ในการบริหารจกดการน้าและอุปกรณ์ ไฟฟา้ อื่น ๆ ผา่ น SMART PHONE” 3. ได้ทาการคดก เลอื กพื้นท่ีในการติดต้กงจุดการเรียนรู้ต้นแบบในตาบลโนนห้อม โดยครู กศน.ตาบลโนนห้อม เป็นผู้รกบผิดชอบ คือแหล่งเรียนรู้เป็นพ้ืนที่สวนสกบปะรดสี มีพื้นท่ีประมาณ 3 ไร่ ซ่ึงประกอบไปด้วยสวนมะนาว ในวงบ่อ สวนมกลเบอร์ร่ีสายพกนธุ์ต่างประเทศ (ลูกหม่อน) ต้นชวนชมสายพกนธ์ุต่าง ๆ และมีแหล่งเรียนรู้ ด้านประติมากรรม เชน่ กระถางต้นไม้รปู ทรงแปลกตา แผน่ ปูนปูทางเดิน แผ่นปนู ติดผนกง เป็นตน้ นายกอบกฤต เกษตรากสกิ รรม นาความรู้ท่ีได้รกบจากการอบรมนามาใช้ในการบริหารจกดการน้าในสวน สกบปะรดสี โดยใช้ติดต้กงกาหนดเวลาในการเปิด – ปิดน้า เพ่ือลดแรงงาน เวลา และสามารถกาหนดเวลาให้น้า ได้ตรงตามความต้องการ และมีความรู้สึกดีใจที่มาร่วมกิจกรรมน้ีกกบ กศน. ทาให้ประหยกดเวลาและแรงงาน ค่าใชจ้ ่ายในการในการบรหิ ารจกดการน้า โดยมขี กน้ ตอนในการดาเนนิ งานดกงนี้
ขัน้ ตอนการตดิ ตัง้ แอปพลเิ คชนั Kasa การติดตงั้ แอปพลเิ คชัน การตดิ ตัง้ กบั ป๊มั น้า Smart Plug ใน Smart Phone เปิดใชง้ านจาก Smart Phone การให้น้าสกบปะรดสี เปิด – ปิด พดก ลม การเปิด – ปิดสปิงเกอร์น้า ความสาเรจ็ ทีเ่ ปน็ จดุ เด่นของโครงการ ผู้เข้าร่วมอบรมในโครงการได้นา SMART PLUG ไปใช้ในสวนสกบปะรดสี ในตาบลโนนห้อม ได้ประสบ ความสาเรจ็ คือ 1. การควบคุมการรดน้าต้นสกบปะรดสีตามเวลาท่ีกาหนด ในพ้ืนทีประมาณ 2 ไร่ ซ่ึงสกบปะรดสีมีความ ตอ้ งการน้าอยา่ งสม่าเสมอ 2. ประหยดก เวลาและแรงงานในการดูแลสบก ปะรดสี 3. จากประสบการณ์การนา SMART PLUG มาปรกบใช้ในบริหารจกดการน้าและเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ในครกวเรือนทาใหม้ เี วลาในการทากิจกรรมอย่างอ่ืน มากขน้ึ เช่น การทาศิลปะปูนป้ัน เพอื่ ใช้ในการประดกบตกแต่งสวน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132