เอกสารประกอบการอบรมปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง การพฒั นาสมรรถนะดา้ นภาษาตามแนวคดิ การเรยี นรู้ โปรแอคทฟี (Pro-Active Learning) สาหรบั เดก็ ปฐมวยั โดยรองศาสตราจารย์ ดร.พชั รา พมุ่ พชาติ ณ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารประถมศึกษาปตั ตานีเขต 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2565
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 1 แนวคิดเก่ียวกับ เปน็ ขอ้ มลู เพอ่ื ศึกษาสาหรบั นามาใชใ้ น การเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี การจดั กจิ กรรมของชดุ กจิ กรรม ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี ส่ิ งเรา้ อสิ รภาพ ตอบสนอง ในการเลอื ก ภาพท่ี 2.1 แสดงการคดิ แบบบคุ คลโปรแอคทฟี
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 2 1. ความรูเ้ บื้องตน้ เกี่ยวกับโปรแอคทฟี ท่ามกลางสังคมของการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดข้ึนอยา่ งรวดเรว็ สังคมท่ีมี ความซบั ซอ้ นและสังคมทที่ า้ ทาย การคิดเป็นเครอ่ื งมอื ทส่ี าคัญทจี่ ะชว่ ยเอาชนะ ปัญหาและอปุ สรรคให้บรรลผุ ลตามเป้าหมายอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การคิดแบบบคุ คล โปรแอคทฟี ได้มกี ารอธบิ ายไวใ้ นหนังสือ The 7 Habits of Highly Effective Families 7 อปุ นิสัยสาหรบั ครอบครวั ทีท่ รงประสิทธผิ ลย่งิ (Stephen R. Covey. 2006) ซ่งึ อธบิ ายวา่ บคุ คลโปรแอคทฟี คือ บคุ คลท่ีมีความสามารถในการคิด ตดั สินใจ บนรากฐานของหลกั การและค่านิยมแทนทจี่ ะตอบสนองด้วยอารมณ์และ สภาวการณ์ การอธบิ ายคุณลกั ษณะของบคุ คลโปรแอคทฟี ดังกลา่ วไดช้ ใี้ ห้เห็นวา่ การคิดก่อนการตัดสินใจทจ่ี ะตอบสนอง หรอื ปฏบิ ตั ิตอ่ เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ เป็น คุณลกั ษณะทจ่ี าเป็นของบคุ คลเพราะระหวา่ งส่ิงเรา้ และการตอบสนอง มชี อ่ งวา่ ง คั่นกลางอย่ใู นชอ่ งวา่ งนั้น มีอสิ รภาพและอานาจของเราทจ่ี ะเลอื กการตอบสนอง ใน การตอบสนองของเรามคี วามเจรญิ เติบโตและอสิ รภาพ
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 3 ในการดารงชวี ติ ของมนษุ ยห์ ลกี เลย่ี ง ส่ิ งเรา้ อสิ รภาพ ตอบสนอง ไม่ไดท้ จี่ ะตอ้ งเผชญิ กบั เหตุการณ์ ซ่งึ เป็นส่ิงเรา้ ในการเลอื ก ท่เี กดิ ข้ึนอาจหมายถึงเหตกุ ารณ์ทท่ี าให้บคุ คล สับสน วนุ่ วายใจ ไม่พอใจ ลาบากใจ ก่อนการ การรูต้ นเอง ความ ตอบสนอง จึงสรา้ งชอ่ งวา่ งให้เกิดข้ึนด้วยการ มโนธรรม ประสงค์ คิดทบทวน คิดวเิ คราะห์ กอ่ นการตอบสนองตอ่ เหตกุ ารณ์นั้นดว้ ยการใชค้ ุณสมบตั ิของบคุ คล อิสระ โปรแอคทฟี 4 ประการ ดงั น้ี จินตนาการ
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 4 1.การรูต้ นเอง (Self awareness) o เป็นการเข้าใจและมองเห็นพฤติกรรม “Self awareness” ของตนเองทแ่ี สดงออก หรอื ท่ีเรยี กว่า การคิดนอกรอบ อนั เป็นรากฐานของ การแสวงหาความรู้ เป็น คุณสมบตั ิเฉพาะของมนษุ ยเ์ ทา่ พื้นท่ี จะออกไปยนื นอกตวั เอง สังเกตการณ์ ความเป็นไปของกระบวนการคิดเดิม จากนั้นจงึ ยอ้ นกลบั เข้ามาสรา้ งความ เปลยี่ นแปลงและแก้ไขให้ดขี ้ึน
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 5 2.มโนธรรม (Conscience) “Conscience” เป็นการใชค้ วามรูส้ ึกผดิ ชอบชวั่ ดใี นใจ เชน่ ให้คาตอบกบั ตนเองในใจได้วา่ ส่ิงทีท่ าลงไปจะ เกดิ ผลเสียตอ่ ผ้อู นื่ มโนธรรมเป็น คุณสมบตั ิเฉพาะของมนษุ ย์ทชี่ ว่ ยให้สามารถ วดั ผล ประเมนิ ค่าเรอื่ งราวทเี่ กดิ ข้ึนได้ มโน ธรรมไม่เป็นแตเ่ พียงการรบั รูเ้ ชงิ ศีลธรรม หากแต่เป็นพลงั อานาจเชงิ ศีลธรรม เพราะ เป็นตวั แทนของแหลง่ พลงั งานทจี่ ะจัดเรยี งตัว ให้สอดคลอ้ งไปกับหลกั การงดงามทส่ี ุด ลกึ ซ้งึ ทส่ี ดุ ในธรรมชาตริ ะดบั สูงทส่ี ดุ ของมนษุ ย์
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 6 3.จินตนาการ (Imagination) “Imagination” เป็นความสามารถวาดภาพ มองเห็น แตกตา่ งไปจากเรอ่ื งราวท่ีเคยเกิดข้ึน ดว้ ยการสรา้ งภาพ การตอบสนองใน หนทางทด่ี กี ว่าเดมิ จากทเ่ี คยปฏิบตั ิ
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 7 4.ความประสงค์อสิ ระ (Independent will) “Independent will” เป็นพลงั อานาจในการแสดงออก อานาจใน การกระทาทใี่ ห้เกดิ การบรรลผุ ลอนั ย่งิ ใหญ่ ในบนั้ ปลายตามท่ีตอ้ งการ เชน่ การยอมท่ี จะหยดุ การตอบโต้ทร่ี ุนแรงดว้ ยอารมณ์ โกรธ แลว้ หันมาเสาะหาเหตผุ ล สนับสนนุ การกระทาของตนเอง เทา่ กับเป็นการรู้ ตนเอง ใชจ้ ินตนาการและมโนธรรม เพื่อ ต้องการผลทย่ี ่งิ ใหญ่นั่นคือ ความสุข
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 8 แนวคิดเก่ียวกับการเรยี นรู้ โปรแกรมการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี พัฒนาข้ึนโดยวทิ ยาลยั โปรแอคทีฟกับเด็กปฐมวัย การศึ กษาปฐมวยั นิวซแี ลนด์ เมอื งไครซเ์ ชอรท์ ประเทศนิวซแี ลนด์ (P.A.L. School and Nurseries in Association with the New Zealand College of Early Childhood Education, Christchurch, New Zealand) เป็นโปรแกรมทใี่ ชใ้ นการจัดการเรยี นรูร้ ะดบั เนอรส์ เซอรี่ และระดับอนบุ าล โดยปรชั ญาเกี่ยวกับเดก็ และการเรยี นรูใ้ นโลก ปัจจุบนั วา่ “เดก็ ทกุ คนเป็นเด็กฉลาด เด็กทกุ คนตอ้ งได้รบั การ เอาใจใส่ และเปิดโอกาสเด็ก ในการคิดพิจารณาและตัดสินใจ เลอื กในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมดว้ ยตนเอง” (Raywyn Ramage. 2003 : 9) จากปรชั ญาการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี ดังกลา่ วทใี่ ห้ ความสาคัญกับการจัดการศึกษาทใ่ี ห้ความสาคัญกบั เดก็
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 9 เดก็ มีความพรอ้ มท่ีมอี ย่ใู นตนเอง หากไดร้ บั การ ดแู ลอบรมเลยี้ งดู และให้การศึกษาทสี่ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ พัฒนาการ และการเรยี นรูด้ ้วยส่ิงแวดลอ้ มท่ี เหมาะสม ยอ่ มชว่ ยให้เดก็ ไดพ้ ัฒนาความฉลาดทมี่ ีอยใู่ น ตนเองไดเ้ ต็มศักยภาพ
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 10 ผู้ใหญ่จงึ จาเป็นต้องเข้าใจธรรมชาตแิ ละการเรยี นรู้ ของเดก็ พรอ้ มทาหน้าทจ่ี ดั เตรยี มส่ิงแวดลอ้ มทสี่ นับสนนุ และชว่ ยเหลอื การเรยี นรูข้ องเด็กทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะตาม ลกั ษณะของการเรยี นรูใ้ นเด็กแตล่ ะคนดว้ ยกจิ กรรมทม่ี ี ความหลากหลาย เพ่ือให้เดก็ ไดเ้ ลอื กเรยี นรูด้ ้วยวธิ กี าร ของตนเอง ยอ่ มทาให้เดก็ ได้ประสบผลสาเรจ็ ในการ เรยี นรูจ้ ากสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 11 ความหมายและ การเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี หลกั การ (Pro-Active learning) ใน ของแนวคิดการ ความหมายทอี่ ธบิ ายโดยเรวนิ ราเมจ เรยี นรูโ้ ปรแอคทีฟ (Raywyn Ramage. 2003 : 11) ไดก้ ลา่ ววา่ “การเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี เป็นการพัฒนา ทเี่ กย่ี วกับการเรยี นรู้ บคุ ลกิ ภาพ และพฤตกิ รรม เพ่ือให้เดก็ ไดเ้ ติบโตเป็นผทู้ ม่ี ีความฉลาด และมศี ักยภาพตามทคี่ วรเป็น” โดยมีหลกั การพื้นฐาน 3 ประการ คือ 1) เดก็ เป็นผทู้ คี่ วรได้รบั ความชว่ ยเหลอื และเอาใจใส่ 2) เดก็ ทุกคนมคี วามฉลาดทพ่ี รอ้ มมาตัง้ แตแ่ รกเกิด 3) เดก็ ทุกคนมีความฉลาดอยใู่ นตนเอง
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 12 ความหมายและหลกั การ ของแนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี (ต่อ) การเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี มลี กั ษณะของการ อบรมเลย้ี งดแู ละให้การศึกษาแบบบรู ณาการทกุ ดา้ น ให้แก่เด็ก ซ่งึ ประกอบด้วย การดูแลดา้ นรา่ งกายและ สุขภาวะ (Well-Being) พัฒนาการการเรยี นรู้ และ การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ การเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี เป็นแนวคิดพ้ืนฐานวา่ เดก็ ทุกคนมีศักยภาพของความฉลาด การจัดการ เรยี นรูต้ อ้ งเปิดโอกาสให้เดก็ ไดพ้ ัฒนาความฉลาด ตามความสนใจของเดก็ แต่ละคน (Raywyn Ramage. 2003 : 13)
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 13 ความหมายและหลักการ ของแนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี (ตอ่ ) แนวคิดน้ีเป็นวิธกี ารจดั การเรยี นรูท้ ส่ี อดคลอ้ งกับ ทฤษฎพี ัฒนาการทางสตปิ ัญญาของเพียเจท์ ที่กลา่ ววา่ การ ดารงชวี ิตของเด็กเพื่อให้เดก็ ไดแ้ สดงออกทางพฤติกรรม อยา่ งอสิ ระ เน่ืองจากพัฒนาการของเดก็ มลี กั ษณะของการ สะสมการเรยี นรูท้ ไ่ี ด้จากประสบการณ์กับส่ิงแวดลอ้ ม และ การปรบั ตวั ให้เข้ากบั ส่ิงแวดลอ้ มของเด็ก (พรรณทพิ ย์ ศิ รวิ รรณบุศย.์ 2553 : 39) จึงทาให้เดก็ ได้นาส่ิงท่สี ะสมจน กลายเป็นประสบการณ์ ซ่งึ แน่นอนประสบการณ์ท่เี ด็กเกดิ การเรยี นรูต้ ้องมคี วามสัมพันธก์ บั ความสามารถในตนเอง ของเด็ก จนกลายเป็นพฤตกิ รรมทางเชาวน์ปัญญา ทเ่ี ป็น ประโยชน์ตอ่ การเพ่ิมความสามารถในการเรยี นรูใ้ นวยั ตอ่ มา
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 14 ความหมายและหลักการ ของแนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี (ต่อ) ความฉลาดของเดก็ เป็นส่ิงทม่ี มี าแต่กาเนิด หลงั จากนั้น ส่ิงทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความฉลาดของเดก็ ประกอบดว้ ย วธิ กี ารเรยี นรูข้ องเดก็ แต่ละคน ซ่งึ หมายถึง ความสนใจในการทากิจกรรม และส่ิงแวดลอ้ มท่เี ด็ก เจรญิ เตบิ โต ซ่งึ หมายถึง การอบรมเลย้ี งดู โอกาส และประสบการณ์ท่ี สนั บสนนุ ให้เด็กไดพ้ ัฒนาความฉลาดข้ึนมา การเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี ได้มี หลกั การพื้นฐานของการพัฒนาความฉลาดของเด็กดว้ ยการสนับสนนุ ให้ เดก็ ได้อยใู่ นส่ิงแวดลอ้ มทเ่ี ปิดโอกาสให้เดก็ ได้แสดงออกซ่งึ ความสนใจ และความสามารถที่มีอยใู่ นตนเองออกมา ซ่งึ เด็กแตล่ ะคนมีวธิ กี ารเรยี นรูท้ ี่ แตกตา่ งกัน ส่ิงแวดลอ้ ม ทจี่ ดั เตรยี มให้เดก็ จาเป็นตอ้ งมีความหลากหลาย เพ่ือให้เด็กไดเ้ ลอื กปฏบิ ตั ติ ามความสนใจ
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 15 จุดมุ่งหมาย การเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี เป็นมติ ิใหม่ของการเตรยี มความ พรอ้ มสาหรบั เด็กในศตวรรษท่ี 21 โดยมีจดุ มุ่งหมายตอ้ งการ พัฒนาเดก็ ให้เป็นผู้ทีม่ ีความรบั ผดิ ชอบในการเรยี นรูแ้ ละดารง ชวี ติ ด้วยตนเอง เดก็ เป็นผู้ท่ที าการตัดสินใจอยบู่ นพื้นฐานตาม สภาพทเี่ ป็นจรงิ และคุณค่าทเ่ี ขายึดถือ เดก็ สามารถตดั สิน สถานการณ์ด้วยวธิ กี ารเชงิ ระบบ พิจารณาทางเลอื ก และ ตดั สินใจอย่างเหมาะสม สถานการณ์ทีเ่ ดก็ เผชญิ ทาให้เด็กได้ พัฒนาความสามารถดา้ นการมีวนิ ั ยในตนเอง และความ รบั ผิดชอบ เดก็ ทม่ี คี ุณสมบตั ติ ามแนวคิดโปรแอคทฟี จะเป็นเด็ก ท่ปี ระกอบด้วย ความมวี นิ ัยในตนเอง ดารงชวี ติ ไดอ้ ย่างมคี ุณค่า มคี วามสามารถในการตัดสินใจ และมคี วามซอ่ื สัตย์ในตนเอง
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 16 การจัดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี ทบี่ รรลเุ ป้าหมายจะทาให้ เด็กเกิดคุณลกั ษณะ (Raywyn Ramage. 2003 : 23-24) ดงั นี้ (1) เด็กมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อการเรยี นรู้ (2) เด็กได้รบั การสนับสนนุ การให้การพัฒนา และความประพฤตขิ องตนเอง ความมวี นิ ัยในตนเอง การคิดและความเข้าใจที่มี ประสิทธภิ าพ (3) เด็กไดพ้ ัฒนาความมวี นิ ัยในตนเองทเี่ กย่ี วกบั (4) เด็กไดพ้ ัฒนาทกั ษะการสารวจ การให้คุณค่า คุณค่าของการเคารพผูอ้ น่ื การยอมรบั นับถือใน และการตัดสินใจท่มี ีประสิทธภิ าพ ทรพั ยส์ ินของผอู้ น่ื และความสามารถในการตดั สินใจ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ (5) เดก็ ไดแ้ สดงลกั ษณะเฉพาะของตนเอง ความสามารถ พิเศษ ความมุ่งมนั่ ในประสบการณ์ทนี่ ่าต่นื เตน้
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 17 การจดั การเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี ท่บี รรลเุ ป้าหมายจะทาให้เด็กเกดิ คุณลกั ษณะ (Raywyn Ramage. 2003 : 23-24) ดงั นี้ (6) เด็กได้แสดงออกซ่งึ ความคดิ รเิ ร่มิ (7) เด็กไดแ้ สดงออกซ่งึ ความคิดเห็นท่ี สรา้ งสรรค์และการแก้ปัญหา กวา้ งไกล (8) เดก็ มคี วามกระตอื รอื รน้ และควบคุม (9) เด็กไดพ้ ัฒนาทกั ษะการคดิ ที่ ตนเองได้ ว่องไว คลอ่ งแคลว่ และไม่หยดุ น่ิง จดุ ม่งุ หมายของการเรยี นรูต้ ามแนวคิดโปรแอคทฟี ประกอบกบั แนวคิดของบคุ คลโปรแอคทฟี ทม่ี ี ความสอดคลอ้ งกนั ในคุณลกั ษณะสามารถสรุปจดุ มงุ่ หมาย และคุณลกั ษณะของแนวคิดการเรยี นรู้ และบคุ คลโปรแอคทีฟ ดังแสดงในตารางที่ 2.5
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 18 ตารางที่ 2.5 แสดงจุดมงุ่ หมายและคุณลักษณะ ของแนวคิดการเรยี นรูแ้ ละบคุ คลโปรแอคทฟี จากตารางท่ี 2.5 อาจสรุปเป็นจุดมุ่งหมายของการจัดการเรยี นรู้ตามแนวคิดโปรแอคทีฟ สาหรับเด็กปฐมวยั ได้วา่ การ จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดโปรแอคทฟี ชว่ ยสร้างให้เด็กรู้จักตนเอง มีความเชื่อมั่นในตนเองมีจินตนาการและ สร้างสรรค์ มีความอยากรูอ้ ยากเห็น ชอบแสวงหาความรู้ มีความสามารถในการสื่อสารและความรว่ มมือกับผู้อื่นมี ความรบั ผดิ ชอบในตนเอง มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มีสุขภาวะท่ดี ี และมีสมาธิ
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 19 หลกั การพัฒนาเดก็ ตามแนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 20 หลกั การพัฒนาเดก็ ตามแนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี 3.1 เดก็ ต้องการเรยี นและเข้าใจส่ิงตา่ งๆ (Children want to learn and Understand) ซ่ึงเป็นความเกีย่ วข้องกบั พัฒนาการดา้ น สติปัญญา รา่ งกายและจติ ใจของเดก็ เดก็ วัยนี้มีความพรอ้ มท่ตี อ้ งการเรยี นรู้ และสามารถปฏบิ ตั ิส่ิงต่างๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพสงู สดุ บทบาทของครูและ ผปู้ กครองควรตอ้ งสนับสนนุ และสอนเด็ก เดก็ ตอ้ งการส่ิงแวดลอ้ มทก่ี ระตนุ้ และสนับสนนุ การเรียนรูอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี เพราะ เด็กจะประสบผลสาเรจ็ ในการเรยี นรู้โดยการใชป้ ระสาทสัมผสั ดงั น้ัน จึงควร จัดกจิ กรรมให้เดก็ ไดส้ ารวจในโลกและชวี ติ ของเด็กเอง ยอ่ มทาให้เดก็ เกดิ สมาธทิ ่นี าไปสู่การคิดที่ลกึ ซ้งึ
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 21 หลกั การพัฒนาเด็กตามแนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี 3.2 เด็กตอ้ งการประสบผลสาเรจ็ (Children want to achieve) ซ่ึงเป็นความเกีย่ วข้องกบั พัฒนาการ ดา้ นสติปัญญาและร่างกาย เด็กต้องการประสบผลสาเรจ็ ถา้ ส่ิงทีเ่ ดก็ ทามี ความทา้ ทายตามศักยภาพของเดก็ เด็กสามารถ ท่ที าส่ิงตา่ งๆ ไดม้ ากมายเกนิ กว่าทผ่ี ู้ใหญ่คดิ เพราะเดก็ มี ความสามารถในการเรยี นรูอ้ ย่างมากมายในตนเอง และเดก็ เองตอ้ งการเรยี นรูใ้ นส่ิงท่ีทา้ ทายและกวา้ งขวาง และเด็กมี ความสามารถในการทาส่ิงต่างๆ ดว้ ยตนเอง ดงั นั้น เดก็ ควรท่ี จะได้รบั การให้กาลงั และให้โอกาสในการเรยี นรูแ้ ละปฏิบัติ เพ่ือให้เดก็ ไดป้ ระสบผลสาเรจ็ ด้วยตนเอง
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 22 หลกั การพัฒนาเด็กตามแนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี 3.3 เด็กตอ้ งการไดร้ บั ความชว่ ยเหลือและ การดูแลเอาใจใส่จากผูใ้ หญ่ (Your children want to help and Please you) ซ่งึ เป็นความ เกีย่ วข้องกบั พัฒนาการดา้ นบคุ ลกิ ภาพ เดก็ ทุกคนต้องการ ความรกั และการไดร้ บั การดแู ลเอาใจใส่จากผูใ้ หญ่ทอี่ ยกู่ บั เขามากกวา่ ส่ิงอน่ื ใด หากเด็กมคี วามผดิ พลาดหรอื ความ ขัดแย้งเกดิ ข้ึน ผู้ใหญ่ควรชว่ ยเหลอื ชแ้ี นะความผิดพลาด ด้วยวธิ กี ารในเชงิ บวก เพ่ือให้เด็กไดพ้ ัฒนาตนเองใน แบบอย่างทด่ี ี และส่งผลต่อพฤตกิ รรมในอนาคต
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 23 หลกั การพัฒนาเด็กตามแนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทีฟ 3.4 เดก็ ต้องการสารวจ สรา้ งสรรค์และความสนกุ สนาน ในชวี ติ (Explore, creative and Enjoy life) ซ่งึ เป็นความ เกีย่ วข้องกับพัฒนาการด้านวฒั นธรรม เด็กชอบสารวจส่ิงแวดลอ้ มรอบตนเอง ชอบผจญภยั และมคี วามสนกุ สนานในแนวทางของเดก็ เอง ผใู้ หญ่สามารถ ชว่ ยเหลอื การเรยี นรูแ้ ก่เดก็ โดยการจัดเตรยี มส่ิงแวดลอ้ มทน่ี ่าต่นื เตน้ ทา้ ทาย แต่มีความปลอดภยั ทางรา่ งกายให้แกเ่ ดก็ ไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิ ทาให้เด็กไดร้ บั ความ สนกุ สนาน แก้ปัญหาและความพึงพอใจจาก การสารวจโลกและความคิด ผู้ใหญ่สามารถชว่ ยเดก็ ได้ดี โดยการใชค้ าถามเชงิ สารวจ การแก้ปัญหา และ ความคิดท่ถี ูกต้องกับพวกเด็ก ทาให้เดก็ ไดค้ ้นควา้ หาคาตอบ
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 24 จากหลกั การพัฒนาเดก็ ตามแนวคดิ การเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี สรุปได้วา่ เดก็ ควรต้องไดร้ บั การจัดส่ิงแวดลอ้ มทก่ี ระตนุ้ และสนับสนนุ เพื่อให้เดก็ ได้ ประสบผลสาเรจ็ ในการเรยี นรูอ้ ยา่ งทา้ ทายและลงมอื ปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง การเรยี นรูข้ องเดก็ ควรได้รบั การช่วยเหลอื และเอาใจใส่จากผใู้ หญ่ เพื่อให้ เดก็ ไดพ้ ัฒนาตนเองในแบบอยา่ งทด่ี ี
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 25 บทบาทและหน้ าท่ีของครู การเรยี นรูต้ ามแนวคิดโปรแอคทฟี ได้ให้ความสาคัญกบั ส่ิงแวดลอ้ มการเรยี นรูข้ องเดก็ เนื่องจากส่ิงแวดลอ้ มท่ีมคี วามน่าสนใจตามบคุ ลกิ ลกั ษณะ และวธิ กี ารเรยี นรู้ จะเป็นการให้โอกาสแก่เดก็ ทกุ คนทจี่ ะ เรยี นรูไ้ ด้ บทบาทและหน้าทีข่ องครูในการจัดส่ิงแวดลอ้ ม จงึ มคี วามสาคญั ย่งิ ตอ่ การสนับสนนุ การเรยี นรูข้ องเดก็
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 26 ซ่งึ บทบาทและหน้ าท่ขี องครูมีได้ดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1 จดั ส่ิงแวดลอ้ มท่ีเปิดโอกาสให้เด็กได้ 4.5 จดั ส่ิงแวดลอ้ มท่ีสนั บสนนุ ให้เด็กเกิด เรยี นรูด้ ว้ ยวธิ กี ารทเี่ ดก็ แตล่ ะคนชอบ สมาธิ ความรบั ผิดชอบ และความ สนกุ สนาน 4.2 จดั ส่ิงแวดลอ้ มท่เี ปิดโอกาสให้เดก็ ได้ เรยี นรูใ้ นวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย 4.6 จัดส่ิงแวดลอ้ มทีส่ รา้ งให้เดก็ ได้มี ปฏสิ ัมพันธท์ างสังคมในเชงิ บวก 4.3 ใส่ใจกับความแตกต่างของบคุ ลกิ ภาพ การวางแผนการสอน สภาพอากาศ และ 4.7 จัดส่ิงแวดลอ้ มทใ่ี ส่ใจกบั ความคิด การ ความสนใจ กระทา และการเรยี นรูข้ องเด็ก 4.4 จดั ส่ิงแวดลอ้ มท่ีสรา้ งความภาคภมู ใิ จใน 4.8 จดั ส่ิงแวดลอ้ มทส่ี ่งเสรมิ ความมวี นิ ัย ตนเองให้เดก็ อยา่ งเข็มแข็ง ในตนเองให้แกเ่ ดก็
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 27 การพัฒนาเด็กดว้ ย เป็นการเสรมิ สรา้ งให้เดก็ เป็นผทู้ ม่ี ีความพรอ้ มทงั้ รา่ งกาย แนวคิดการเรยี นรู้ โปรแอคทีฟ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เป็นผทู้ ่มี คี วามสขุ ในการเรยี นรู้ และมี ความฉลาด สามารถประสบผลสาเรจ็ ในการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ด้วย วธิ กี ารเรยี นรูท้ ใี่ ห้อิสระ และเปิดโอกาสให้เดก็ ได้เลอื กจากส่ิงแวดลอ้ ม ท่ีท้าทาย สอดคลอ้ งกบั วยั พัฒนาการ และการเรยี นรูข้ องเดก็ เนื่ องจากเดก็ มคี วามสนใจ ความต้องการ และความถนั ดทีแ่ ตกตา่ งกนั ไป หากเดก็ ได้รบั การกระตนุ้ ให้เรยี นรูใ้ นส่ิงทต่ี รงกบั ความตอ้ งการ ย่อมเป็นการสรา้ งแรงจงู ใจและเรยี นรูไ้ ดป้ ระสบผลสาเรจ็
Pro-Active Learning เขียนโดย รศ.ดร.พัชรา พ่มุ พชาติ 28 จากข้อมูลแนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทีฟ สรุปไดว้ า่ แนวคิดการเรยี นรูโ้ ปรแอคทฟี มีเป้าหมาย ที่สาคัญ คือ ความตอ้ งการที่จะพัฒนาความฉลาดของเด็ก แต่ละคนให้แสดงออกมาโดยเชอื่ วา่ ทกุ คนเป็นเดก็ ฉลาด หากเด็กได้รบั การอบรมเลย้ี งดแู ละสอนดว้ ยวธิ กี ารที่ ตอบสนองกับธรรมชาติ พัฒนาการและการเรยี นรูด้ ้วย การให้อิสระในการคิด การเลอื ก การตดั สินใจ และการ ลงมือปฏบิ ตั ิด้วยตนเองตามความถนัดและความตอ้ งการ ของเดก็ ยอ่ มส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการทส่ี มบรู ณ์ ทงั้ ทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา
Pro-Active Learning เขยี นโดย รศ.ดร.พัชรา พุ่มพชาติ 29 เอกสารอ้างองิ ภาพท่ี 2.1 แสดงการคิดแบบบคุ คลโปรแอคทฟี ที่มา : Stenphen R. Covey. (2006). 7 อุปนิ สัยสาหรบั ครอบครัวท่ีทรง ประสิทธผิ ลย่ิง (The 7 Habits of Highly Effective Families). (แปล โดย นภดล เวชสวสั ด์ิ). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ดีเอ็มจี. ภาพที่ 2.2 คุณสมบตั ขิ องบคุ คลโปรแอกทฟี 4 ประการ ที่มา : Stenphen R. Covey. (2006). 7 อุปนิ สัยสาหรบั ครอบครัวท่ีทรง ประสิทธิผลย่ิง (The 7 Habits of Highly Effective Families). (แปล โดย นภดล เวชสวสั ด์ิ). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ดีเอม็ จี.
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: