Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน

Published by KrupisBio class, 2021-11-15 04:34:28

Description: วิจัยในชั้นเรียน

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ ฝา่ ยบริหารวชิ าการ โรงเรียนสามพรานวิทยา อำเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม ท่ี ............/2564 วนั ท่ี 28 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เร่ือง ส่งรายงานวจิ ยั ในชนั้ เรยี น ประจำภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 ............................................................................................................................. ................................................. เรียน ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสามพรานวทิ ยา ตามที่ฝ่ายบริหารวิชาการ โรงเรียนสามพรานวิทยา ได้ส่งเสริมให้ครูได้จัดทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอน ดังนั้นข้าพเจ้า นางสาวพิสมัย เจริญลอย ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสามพรานวิทยา ไดจ้ ัดทำวิจัยในชั้น เรียน เรื่องการใช้ Google Classroom ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาพันธุกรรมและ สิ่งแวดลอ้ ม ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 โรงเรยี นสามพรานวทิ ยาประจำปกี ารศึกษา 2563 ประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา ว31201 ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/1 ประจำภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 มาพร้อมนี้ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา ลงชอื่ ............................................................ (นางสาวพิสมัย เจรญิ ลอย) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ ความเหน็ รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ ความเห็น ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสามพรานวิทยา ......................................................................... ………………………………………………………………… ……………………………………………………………….. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………... ………………………………………………………………… ลงชอ่ื ..................................................... ลงชื่อ……………......................................... (นางสาวจารณุ ี สอนใจ) (นายสมเกียรติ ปทุมสูติ) รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสามพรานวิทยา ......./.............../.......... ......./.............../..........

ก บทคดั ยอ่ เร่อื ง การใช้ Google Classroom ในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น รายวชิ าพนั ธุกรรมและ ส่งิ แวดลอ้ ม ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา ผวู้ จิ ัย นางสาวพสิ มยั เจริญลอย ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ปีการศึกษา 2563 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้ Google Classroom ในรายวิชาพนั ธุกรรมและส่ิงแวดลอ้ ม ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรยี นสาม พรานวิทยา 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา ท่ีมีต่อ การจัดการเรียนการสอน โดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาพันธุกรรมและส่ิงแวดล้อม กำหนดกลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้คือ นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 จำนวน 33 คน โรงเรียนสามพรานวิทยา อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้มาจากการสุ่มแบบอย่างง่าย เคร่ืองมือที่ใช้ในครั้งนี้คือ 1) Google Classroom (ช้ันเรียนออนไลน์) 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาพันธุกรรมและ สิ่งแวดล้อม 3) แบบประเมินการจัดการเรียนการสอนของครูตามความคิดเห็นของนักเรียน สถิติท่ีใช้ในการ วิเคราะห์ขอ้ มลู คือ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งมาตรฐาน ผลการวิจัยในช้ันเรียนพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้ Google Classroom ในรายวชิ าพนั ธกุ รรมและสงิ่ แวดลอ้ ม ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา มีคะแนน ก่อนเรียนเฉลี่ย 3.91 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (ร้อยละ 39.1) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน มี คะแนนเฉลี่ย 6 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (ร้อยละ 60) 2) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา ท่ีมีต่อการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ Google Classroom ในรายวิชา พันธุกรรมและส่ิงแวดล้อม พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.19 และส่วนเบ่ียง มาตรฐานเทา่ กบั 0.11) คำสำคญั : การใช้ Google Classroom, ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น, ความพงึ พอใจของนักเรียน

ข กติ ติกรรมประกาศ รายงานการวิจัย การใช้ Google Classroom ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา พันธุกรรมและส่ิงแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา ฉบับนี้สำเร็จลุล่วง โดยได้รับการช้แี นะแนวทางที่เหมาะสม ไดร้ บั ความกรณุ าจาก คณะครูในกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โรงเรียนสามพรานวิทยา ให้คำแนะนำปรึกษาวิจัยนี้ ให้ดำเนินไปอย่างต่อเน่ืองจนเสร็จส้ิน สมบรู ณ์ พสิ มยั เจริญลอย

ค หนา้ สารบัญ ก ข บทคัดย่อ กติ ติกรรมประกาศ 1 2 บทท่ี 2 1 บทนำ 2 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา 3 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั ขอบเขตของการวจิ ยั ในช้ันเรียน 4 สมมติฐานในการวจิ ยั ในช้ันเรียน 5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 6 2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยทเ่ี ก่ียวของ 6 ความหมายและความสําคญั ของการจัดการเรียนการสอน ความหมายและความสําคัญของสื่อออนไลน์ 8 Google Classroom 8 งานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้อง 8 3 วธิ ีดำเนินการวจิ ัย 9 ประชากรทใ่ี ช้ในการวิจัย 11 เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั 13 การเก็บรวบรวมข้อมูล 14 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 15 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

ง สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา้ 1 ค่าเฉล่ีย จำนวนร้อยละ การทดสอบแบบทดสอบจาการใช้ Google Classroom ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี น รายวิชาพนั ธกุ รรมและสิง่ แวดลอ้ ม ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 โรงเรยี นสามพรานวิทยา 2 ความพึงพอใจของนกั เรยี นทม่ี ีต่อการใชโ้ ปรแกรม Quizizz Application วดั และประเมนิ ผล 11 2 ความพึงพอใจของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยาที่มตี อ่ การจดั การเรยี นการสอน โดยใช้ Google Classroom ในรายวชิ าพนั ธกุ รรมและส่งิ แวดล้อม 12

บทท่ี 1 บทนำ ความสำคัญและที่มาของวจิ ัยช้ันเรียน การจดั การศกึ ษาในปัจจุบันได้พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวมเร็วตามสภาพแวดลอ้ ม เขา้ สู่ในศตวรรษ ที่ 21 เทคโนโลยคี อมพิวเตอรถ์ ูก พฒั นาขน้ึ จนเป็นสง่ิ ทใ่ี ช้งานง่ายและใกลต้ ัวมนษุ ย์มากขึ้น ทาํ ให้เกิดนวตั กรรม การจัดการศึกษา จากระบบการเรียนการสอนเดิมที่ครูผู้สอนยืนหน้าช้ันเรียนและเขียนกระดานพร้อมการ บรรยาย ปรับเปล่ียนมาใช้เทคโนโลยีเพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนในสภาพแวดล้อมที่ เสมือน จริง จะนําเทคโนโลยี Google Apps for Education โดยผู้เรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับครูผู้สอนหรือกลุ่ม ผู้เรียนด้วยกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดหรือทํางานร่วมกันได้ ผ่านการเขียน การอ่านและการสร้างเนื้อหา รวมทั้ง การเก็บรวบรวมข้อมูลการแสวงหาและการนําเสนอความรู้ในรูปแบบของดิจิทัลผ่านระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศ ก่อให้เกิดการจดจําและแรงจูงใจในการเรียนรู้ของผู้เรียนมากขึ้นด้วยการ ใช้นวัตกรรมทาง การศึกษา ความเจริญก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยแี ละวทิ ยาการต่างๆ การรับรู้ข้อมูลขา่ วสารต่างๆ โดยผ่านสื่อท่ี มีอยู่ มากมาย ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันนอกจากให้ความรู้ว่าเข้าใจในเนื้อหาแล้ว จําเป็นต้อง ฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ ดังท่ี พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 3) พุทธศักราช 2553 กําหนดให้การจัดการ เรียนการสอนมุ่งเน้นผ้เู รยี นเป็นสําคัญ โดยกําหนดความมุ่งหมายและ หลักการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดํารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และได้วางแนวทางการจัดการศึกษาว่าให้ยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ซึง่ กระบวนการจัดการ เรียนรู้ต้องจัดเน้ือหาสาระ และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคํานึงถึง ความแตกต่างระหว่าง บุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ ความรู้มาใช้ เพ่ือป้องกนั และแก้ไขปัญหาจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏิบัติให้ ทาํ ได้ คิดเป็นและแกป้ ญั หาเป็น รกั การอา่ นและเกิดการใฝ่ร้อู ยา่ งตอ่ เน่ือง (สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษา แห่งชาติ, 2553) เนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ีรุดหน้าไปอย่างรวดเร็วได้ แสดงให้เห็นถึง ข้อจํากัดของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสารภายในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว ทําให้โอกาสในการส่ือสาร ระหวา่ งผู้สอนและผ้เู รยี นในสภาพการณท์ ตี่ า่ งกนั ลดนอ้ ยลงและเป็นอปุ สรรค ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ การใช้เทคโนโลยีเพื่อลดข้อจํากัดดังกล่าวจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งโดยนําเทคโนโลยี Google Apps for Education มาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือท่ีนํามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน สามารถ สร้างความ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน รวมถึงระบบการส่งและจัดเก็บผลงานต่างๆ ผู้วิจัยได้ ศึกษา Google Classroom เพ่ือนํามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน อันจะส่งผลให้การ เรียนรู้ของผู้เรียนเป็นไป อย่างมีประสทิ ธิภาพสูงสุดและเกดิ การเปลย่ี นแปลงในด้านการจัดการเรียนรู้

2 จากความสำคัญและสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะใช้ Google Classroom เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ซึ่งผลที่ได้จาก การวิจัยในครั้งนี้จะเป็นแนวทางนําเทคโนโลยี Google Apps for Education มาประยุกต์ใช้เป็นเคร่ืองมือใน การจัดการเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพย่ิงข้ึนต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนก่อนและหลังการใช้ Google Classroom ในรายวิชา พนั ธกุ รรมและสง่ิ แวดลอ้ ม ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/1 โรงเรยี นสามพรานวิทยา ทมี่ ีต่อการจดั การเรยี นการสอน โดยใช้ Google Classroom ในรายวชิ าพันธุกรรมและสงิ่ แวดลอ้ ม ขอบเขตของการวิจัยในช้ันเรียน การวิจัยในชั้นเรยี น เร่อื งการใช้ Google Classroom ในการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาพันธุกรรมและสิ่งแวดลอ้ ม ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 โรงเรยี นสามพรานวิทยา มีขอบเขต ของการวจิ ยั ในช้นั เรียน ดังนี้ 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง 1.1 ประชากรคือ นักเรียนระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 จาํ นวน 5 ห้อง นกั เรยี นทั้งหมด 164 คน ภาค เรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนสามพรานวทิ ยา อำเภอสามพราน จ.นครปฐม 1.2 กลุ่มตัวอยา่ งคอื นักเรยี นระดบั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4/1 จาํ นวน 33 คน ท่ไี ด้จากการส่มุ อยา่ ง งา่ ยโดย ใชห้ ้องเรยี นเป็นหนว่ ยในการสุ่ม 2. ตวั แปรของวิจยั ในชนั้ เรียน ตัวแปรตน้ คือ Google Classroom (ชั้นเรยี นออนไลน์) ตัวแปรตาม คือ 1) ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในรายวิชาพนั ธกุ รรมและสิ่งแวดล้อม 2) ความพึงพอใจในการจัดการเรยี นการสอนของครูตามความคดิ เหน็ ของนักเรยี น สมมติฐานในการวจิ ัยในช้ันเรียน 1) หลงั จากการใช้ Google Classroom แลว้ นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิสูงกว่า ก่อนใช้ Google Classroom 2) นักเรียนมีความพึงพอใจในการจดั การเรียนการสอนของครตู ามความคดิ เห็นของนักเรียนในระดบั มากทสี่ ดุ

3 นิยามศพั ท์เฉพาะ 1. Google Classroom หมายถึง การให้บริการสาหรับทุกคนท่ีใช้ Google Apps for Education ซึ่งเป็นชุดเครื่องมือ เพ่ือประสิทธิภาพการทางานท่ีให้บริการฟรีประกอบด้วย Gmail, เอกสาร และไดรฟ์ Classroom ได้รับการออกแบบมาเพ่ือช่วยให้อาจารย์สามารถสร้างและเก็บงานได้โดยไม่ต้องส้ินเปลือง กระดาษ มีคุณลักษณะท่ีช่วยประหยัดเวลา เช่น สามารถทำสำเนาของ Google เอกสารสาหรับนักเรียนและ คนทั่วไปได้โดยอตั โนมตั ิ โดยระบบจะสรา้ งโฟลเดอร์ของไดร์ฟสำหรบั แต่ละงาน เพือ่ ชว่ ยจดั ระเบียบใหท้ ุกคน 2.) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถงึ ระดับ ความรู้ ความสามารถและทักษะทผ่ี ู้เรยี นได้รับและพฒั นา ตนให้ดีขึน้ จากการเรียนการสอนวชิ ารายวิชาพันธกุ รรมและสิ่งแวดลอ้ ม โดยอาศยั เคร่อื งมือในการวัดผล หลงั จากการเรยี นหรือการฝึกอบรมเหลา่ นนั้ แลว้ ซึ่งอาจพิจารณาได้จาก คะแนน การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม หรอื ความชํานาญเชงิ ทักษะ 3.) ความพึงพอใจของนักเรยี น หมายถงึ . ความรูสกึ ของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ท่ีมีตอการดั การเรยี นการสอนในรายวิชาพันธกุ รรมและสงิ่ แวดล้อม ในการพฒั นานักเรียนทง้ั ดานรางกาย สตปิ ญญา อารมณและสงั คม และสามารถดาํ เนนิ ชวี ติ อยูในสงั คมไดอย่างมีความสุข

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง การวิจัยเรื่อง การใช้ Google Classroom ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวชิ าพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้องและได้นำเสนอตามหวั ขอ้ ต่อไปนี้ 1. ความหมายและความสาํ คัญของการจดั การเรียนการสอน ความหมายของการเรียนการสอน ในทางศกึ ษาศาสตร์มผี ู้ให้นิยามความหมายท่ีเกย่ี วกบั รูปแบบการ เรยี นการสอนไวม้ ากมาย ส่วนความหมายของคําว่าการเรยี นการสอนแบ่งความหมาย ออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ การเรยี น หรือการเรียนรู้ หมายถึง การได้รบั ความรู้ พฤติกรรม ทักษะ คุณค่า หรือความพึงใจ ที่เป็น สิ่งแปลกใหม่หรือปรับปรุงสิ่งท่ีมีอยู่ การเรียนรู้อาจมีการยึดเป้าหมายและอาจมีการจูงใจเป็นตัว ช่วย การ เรยี นร้อู าจกอ่ ใหเ้ กดิ ความตระหนกั อย่างมีสํานึกหรอื ไมม่ สี าํ นึกก็ได้ การสอน หมายถึง การถ่ายทอดเน้ือหาวิชาหรอื เป็นวิธกี ารหลากหลายทค่ี รนู ํามาใช้เพ่ือให้เด็ก เกิดการ เรยี นรู้ตามศกั ยภาพของเดก็ โดยมีลกั ษณะการสอน 3 ประการ ดังนี้ - การสอนเป็นกระบวนการปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างผูส้ อนกับผ้เู รียน - ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมตามจดุ ประสงค์ที่กําหนดไว้ - การสอนให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ต้องอาศัยท้งั ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ของผู้สอน สรุป ความหมายของการเรียนการสอน จึงหมายถึง การได้รับความรู้ พฤติกรรม ทักษะ คุณค่า หรือ ความพึงพอใจที่เป็นสิ่งแปลกใหม่ด้วยวิธีการถ่ายทอดหรือวิธีการสอนที่หลากหลายรูปแบบให้ เหมาะสมตาม ศักยภาพของผู้เรยี น รูปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการสอน หมายถึง แผนแสดงการเรียนการสอน สําหรับนําไปใช้สอนในห้องเรียน เพ่ือให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายท่ีกําหนดไว้ให้มากท่ีสุด และรูปแบบการสอนนั้นอยู่ภายใต้ หลักการของ แนวคิดพื้นฐานเดียวกัน องค์ประกอบของการสอนได้แก่ หลักการ จุดมุ่งหมาย เน้ือหา และ ทักษะที่ต้องการ สอน ยุทธศาสตรก์ ารสอน วธิ ีการสอน กระบวนการสอน ข้ันตอนและกิจกรรมการสอน การวัดและประเมนิ ผล สําหรับรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเป็นสากลมีเป็นจํานวนมาก ดังน้ันจึงมีการจัดหมวดหมู่ของ รูปแบบตามลักษณะของวัตถุประสงคเ์ ฉพาะหรอื ตามเจตนารมณ์ของรูปแบบไว้ 5 หมวด ดังนี้ 1. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) เป็นรูปแบบการ เรียนการสอนท่ีมุ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาสาระต่าง ๆ ซ่ึงเนื้อหาสาระน้ันอาจอยู่ในรูป ของข้อมูล ขอ้ เทจ็ จรงิ มโนทศั น์ หรือความคิดรวบยอด 2. รปู แบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพสิ ัย (Affective Domain) เป็นรปู แบบทม่ี ุ่งช่วย พัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม คุณธรรม และจริยธรรมท่ีพึงประสงค์ซึ่งเป็นเร่ืองที่ยากแก่การ พัฒนาหรือปลูกฝงั 3. รปู แบบการเรียนการสอนที่เนน้ การพัฒนาด้านทักษะพิสัย (Psycho-Motor Domain) เปน็ รูปแบบ ที่มงุ่ ช่วยพฒั นาความสามารถของผู้เรียนใน ด้านการปฏิบัติ การกระทํา หรือการแสดงออกต่างๆ ซ่ึงจําเปน็ ต้อง ใช้หลกั การ วิธกี าร ทแี่ ตกต่างกนั ไป

5 4. รูปแบบการเรยี นการสอนท่เี น้นการพฒั นาทักษะกระบวนการ (Process Ski) เปน็ ทกั ษะที่เกี่ยวข้อง กบั วธิ ีดําเนนิ การตา่ ง ๆ ซง่ึ อาจเปน็ กระบวนการ ทางสติปัญญา เชน่ กระบวนการสืบสอบแสวงหาความรู้ หรือ กระบวนการคดิ ตา่ ง ๆ อาทิ การคิด วเิ คราะห์ การอปุ นัย การนิรนยั การใช้เหตุผล การสบื สอบ การคดิ ริเริ่ม สรา้ งสรรค์ และการคดิ อย่าง มีวจิ ารณญาณ เป็นตน้ 5. รูปแบบการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ การบูรณาการ (Integration) เป็นรูปแบบที่พยายามพัฒนาการ เรียนรู้ด้านต่างๆ ของผู้เรยี นไปพรอ้ มๆ กนั โดยใชก้ ารบรู ณาการทั้งทางด้านเน้ือหาสาระและวธิ ีการ 2.ความหมายและความสาํ คญั ของสื่อออนไลน์ หรือสื่อสังคม (Social Media) สองคําท่ีสังคมเรียกติดปาก ซึ่งมีความหมายเดียวกัน ใน บทความนี้ ผู้เขียนเลือกใช้คําว่า “สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media Online)” มีผู้ให้ความหมาย ส่ือ สังคมออนไลน์ ไว้ มากมาย ดงั นี้ ราชบัณฑิตยสถาน (2554) ได้บัญญัติคํา ว่า “Social Media” ไว้ว่า “ส่ือสังคม” หมายถึงส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นส่ือกลางที่ให้บุคคลทั่วไปมีส่วนร่วมสร้างและแลกเปล่ียนความคิดเห็นต่าง ๆ ผ่าน อินเทอร์เน็ตได้ สื่อเหล่านี้เป็นของบริษัทต่างๆ ให้บริการผ่านเว็บไซต์ของตน เช่น เฟซบุ๊ก Facebook) ไฮไฟฟ์ (H15) (อ่านวา่ ไฮ-ไฟ)้ ทวิตเตอร์ (Twitter) วิกพิ เี ดยี (Wikipedia) ฯลฯ นาวิก นําเสยี ง (2554) ได้ให้คําจาํ กัดความของ ส่ือสังคมออนไลน์วา่ เปน็ ทีท่ ่ีผใู้ ช้อินเทอร์เน็ต สามารถ แลกเปล่ียนประสบการณ์ซ่ึงกันและกัน โดยใช้สื่อต่างๆ เป็นตัวแทนในการสนทนา โดยได้มีการ จัดแบ่ง ประเภทของส่ือสังคมออนไลน์ ออกเป็นหลายประเภท เช่น ประเภทส่ือส่ิงพิมพ์ (Publish) ท่ีมี Wikipedia, Blogger เป็นต้น ประเภทสื่อแลกเปล่ียน (Share) ท่ีมีYouTube Flickr SlideShare เป็น ต้น ประเภทสื่อ สนทนา (Discuss) ท่ีมี MSN Skype GoogleTalk เป็นต้น แสงเดือน ผ่องพุฒ (2556) ให้ความหมายของส่ือสังคมออนไลน์ว่าเป็นส่วนหน่ึงของเทคโนโลยี เว็บ 2.0 เป็นเคร่ืองมือที่ทํางานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายโทรศัพท์เคล่ือนท่ี ที่อนุญาตให้ แต่ละบุคคล เข้าถึง แลกเปล่ียน สร้างเนื้อหา และสื่อสารกับบุคคลอ่ืนๆ ร่วมถึงการเข้าร่วมเครือข่าย ออนไลน์ต่างๆ การ สอ่ื สารเป็นแบบสองทาง เขมณัฏฐ์ ก่ิงศิรธิ รรม (2557) ให้ความหมายของสื่อสงั คมออนไลนว์ ่าเป็นสอ่ื ดิจติ อลหรือ ซอฟแวร์ท่ีทํา งานบนพ้ืนฐานของระบบเว็บไซต์เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม เป็นการนํา เร่ืองราวต่างๆ เหตกุ ารณ์ ประสบการณ์ รปู ภาพวดิ โี อ รวมท้งั การพูดคุยต่างๆ แบง่ ปนั ให้คนทีอ่ ยูใ่ น สงั คมเดียวกนั ไดร้ ับรู้ โดยสรุป ส่ือสังคมออนไลน์ เป็นส่วนหน่ึงของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 เป็นเครื่องมือท่ีทํางาน บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตทั้งในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) และอุปกรณ์หรือโทรศัพท์เคล่ือนท่ี โดยมีวัตถุประสงค์ เพอ่ื การติดต่อส่ือสาร แลกเปลยี่ น การแบ่งปันเร่ืองราวเหตุการณต์ ่างๆ ระหวา่ งบุคคล สองคน หรือกล่มุ บคุ คล ในลกั ษณะของการเขา้ รว่ มในเครือขา่ ยออนไลนเ์ ดียวกนั

6 3. Google Classroom Google Classroom เปิดให้บริการสําหรับทุกคน ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยให้อาจารย์สร้างและ เก็บ งานโดยไม่ต้องใช้กระดาษ และยังสามารถช่วยประหยัดเวลา เช่น ความสามารถในการทําสําเนาของ Google ให้กบั นักศกึ ษาแต่ละคน นอกจากน้ียังสร้างโฟลเดอร์สําหรบั แต่ละกันและแต่ละคนเพ่ือความ เป็นระเบียบของ ขอ้ มูล นักศึกษาสามารถติดตามงานต่างๆ ที่ไดร้ ับมอบหมายวา่ มอี ะไรครบกาํ หนดบา้ ง อาจารย์สามารถตดิ ตาม การทํางานของนักเรียน นักศึกษา ได้ว่าใครยังไม่เสร็จ และอาจารย์ยังสามารถแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับงาน และให้คะแนนกับงานที่นักศึกษาส่งมาได้อย่างรวดเร็ว วิธีการเข้า Class แต่ละครั้งก็ ไม่ยุ่งยาก อาจารย์ สามารถเพิ่มนักศึกษาได้โดยตรง หรือแคแชร์รหัสเพ่ือให้นักศึกษาเข้าห้องเรียนได้ การ ตั้งค่ารหัสใช้เวลาเพียง แค่ครู่เดียว ประโยชน์ของการใช้งาน Google Classroom จะช่วยให้ ประหยัดเวลา ตรวจงานได้ง่ายมากขึ้น เปน็ ระเบียบ และปลอดภัยเพราะ Classroom จะไม่นาํ เนือ้ หา หรือข้อมลู ของนักศึกษาไปโฆษณา Google Classroom เป็นแอปพลิเคชันท่ีง่ายต่อการใช้งานฟงั กช์ ันไม่ซับซ้อน เมนูไม่ยุ่งยาก รองรบั ได้ หลากหลายอปุ กรณ์ ช่วยประหยัดเวลาในการศกึ ษาเรยี นรู้ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ที่ไม่จํากดั ว่าต้อง อยู่ในห้องเรียน ผู้เรียนสามารถใช้เวลาว่างเข้าไปทบทวนหรือศึกษาได้ด้วยตัวเอง เหมาะแก่สถานศึกษา ทุกระดับโดยเฉพาะ นักศึกษา กศน ซ่ึงเป็นวัยผู้ใหญ่ วัยแห่งการทํางาน ซ่ึงส่วนมากไม่มีเวลามาพบกลุ่มเรียนรู้ และตัว Google Classroom ยังไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ในการดําเนินการ เพราะทางบริษัท Google มีนโยบายส่งเสริมด้าน การศกึ ษาอยแู่ ล้วจงึ เปิดให้บริการฟรีแก่สถาบันการศึกษาทุกประเภท 4. งานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ ง พรศักดิ์ หอมสวุ รรณและคณะ (2560) ศึกษาระดับความพึงพอใจระบบการจัดการเรียนการ สอนแบบ ออนไลน์ผ่านกูเก้ิลคลาสรูมภายในวิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรมยานยนต์ การวิจัยคร้ังน้ีมี วัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษาระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ผา่ นกูเกิล้ คลาสรูม เพ่ือหาระดบั ความพึงพอใจท่ีมีตอ่ การใชง้ านระบบการจัดการ เรียนการสอนผ่านกูเกิ้ลคลาส รูมทั้ง 3 บทบาท ประกอบด้วย ผู้เรียน จํานวน 50 คน ผู้สอนจํานวน 10 ท่าน และผู้บริหาร 5 ท่าน โดยใช้ เคร่ืองมือในการวิจัยแบบประเมินความพึงพอใจระบบการจัดการเรียน การสอนแบบออนไลน์ผ่านกูเก้ิลคลาส รูม สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนมี ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนผ่านกูเกิ้ลคลาส รูมในระดับมาก (X= 4.32, S.D.= 0.63) ผู้สอนมี ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนผ่านกูเกิ้ล คลาสรูมในระดับมาก (X = 4.61, S.D.= 0.55) และ ผู้บรหิ ารมคี วามพึงพอใจในการจดั การเรียนการ สอนผ่านกเู ก้ลิ คลาสรมู ในระดบั มาก (X = 4.27, S.D. = 0.65) สาวิตรี สิงหาดและคณะ (2561) ศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาล ตอการ จดั การเรียนการสอนผ่าน Google Classroom ในรายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการพยาบาลการวิจัยเชิง ทดลองน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน จากการเรียนผาน Google Classroom เป็นเครือ่ งมือในการจัดการเรียนการสอน และศกึ ษาความพึงพอใจของนักศึกษาจากการ จัดการเรียนการสอนผ่าน Google Classroomโดยการเลือกตัวอย่างแบบ เจาะจง คือนกั ศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ทล่ี งทะเบียน เรยี นในรายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการ พยาบาล จํานวน 64 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ บทเรียนรายวิชา แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถาม ความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลและวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมติฐานโดยวิธีทำที่ (paired samples t-test) ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาลหลังเรียนโดยใช้

7 Google Classroom เป็น เคร่ืองมือสูงกว่าก่อนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 และความพึง พอใจของนักศึกษา พยาบาลจากการเรยี นโดยใช้ Google Classroom เปน็ เครอ่ื งมืออยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ ซีตอี ัยเซาะก์ ปูเตะ และคณะ (2561) การใช้ Google classroom .ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิททางการ เรียนและพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ห้อง 10 โรงเรียนเบญจมราชชูทิศ ปตั ตานี การวจิ ัยครง้ั นี้มีวัตถุประสงค์เพอ่ื ศึกษา 1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลัง การใช้ Google Classroom ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้อง 10 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปัตตานี 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนหลังการใช้ Google Classroom ของนักเรียนชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ห้อง 10 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปัตตานี กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยคร้งั น้ี คือ นักเรียนระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 1/10 จํานวน 32 คน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปัตตานี ซึ่ง กําหนดกลุม่ ตัวอยา่ งจากการสุม่ อย่างงา่ ยโดยใช้หอ้ งเรยี นเปน็ หน่วยในการสุ่ม เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการวิจัยครง้ั นค้ี ือ Google Classroom (ห้องเรียนออนไลน์) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ เร่ือง หลกั การทํางานของคอมพิวเตอร์ จํานวน 20 ข้อ และแบบบันทึก พฤติกรรมความรับผิดชอบ หลังใช้ Google Classroom สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน พัฒนาการสัมพัทธ์ และ การทดสอบแบบกล่มุ ตัวอยา่ งไม่เปน็ อสิ ระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ Google Classroom คะแนนสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 8.00 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.12 คะแนน ทดสอบหลังเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Classroom มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 10.72 และ ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน เท่ากับ 2.83 โดยค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติท่ี ระดับ .05 (2) ผลการบันทึกพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้อง 10 โรงเรียน เบญจมราชูทิศ ปัตตานี หลังการใช้ Google Classroom ผ่านการประเมินร้อยละ 96.88 คือมี คะแนนรวม 4 - 6 คะแนน จากงานที่มอบหมายทั้งหมด 3 ครัง้

บทที่ 3 วิธดี ำเนินการวจิ ยั จากการที่ผู้วิจัยได้ทำการศึกษา เรื่อง การใช้ Google Classroom ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี น รายวิชาพนั ธกุ รรมและสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 โรงเรียนสามพรานวทิ ยา มวี ธิ ดี ำเนินการวิจัยตามหัวข้อ ดงั น้ี 1. ประชากรทใ่ี ช้ในการวจิ ยั 2. เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะหข์ ้อมลู ประชากรทใ่ี ช้ในการวิจยั 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 1.1 ประชากรคือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 จํานวน 5 ห้อง นักเรียนท้ังหมด 164 คน ภาค เรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นสามพรานวทิ ยา อำเภอสามพราน จ.นครปฐม 1.2 กล่มุ ตัวอย่างคอื นกั เรยี นระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 จํานวน 33 คน ทีไ่ ด้จากการสุ่มอย่าง งา่ ยโดย ใช้ห้องเรยี นเป็นหน่วยในการสุม่ เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั การวิจัยครั้งนี้ใช้แบบประเมินความพึงพอใจในการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง หลังจากนั้น นํา มาวเิ คราะห์ขอ้ มูลและนํา เสนอรายงานในรปู แบบตารางและ ภาพประกอบความเรยี ง แบบสํารวจความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ Google Classroom จํานวน 1 ชุด ผ่านgoogle forms โดยแบ่งออกเปน็ สองส่วนคือ สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป เชน่ เพศ ส่วนท่ี 2 ความพึงพอใจเก่ียวกับการใช้งานสื่อออนไลน์ Google Classroom 15 ข้อ ด้วยการวัดและแปรผล แบบค่าเฉลี่ย 5 ระดับตามหลักของ Likert Scale คือ คะเเนน 5 หมายถงึ มีคุณภาพในระดับมากท่ีสดุ คะเเนน 4 หมายถึง มคี ณุ ภาพในระดับมาก คะเเนน 3 หมายถึง มีคุณภาพในระดบั ปานกลาง คะเเนน 2 หมายถงึ มีคณุ ภาพในระดบั น้อย คะเเนน 1 หมายถงึ มคี ุณภาพในระดบั นอ้ ยที่สุด การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งน้ี เป็นการประเมินความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อออนไลน์ Google Classroom ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ข้ันตอนที่ 1 สร้างชั้นเรียน ผู้สอนได้สร้างช้ันเรียนออนไลน์ห้องนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 ภาค เรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 โดยใช้ Google Classroom จากGoogle Apps for Education และหลังจากที่ ทําการสร้างช้ันเรียนแลว้ จะไดช้ ัน้ เรียนตามที่ครูผู้สอนต้องการ

9 ข้นั ตอนท่ี 2 ทําการเพิม่ นกั ศกึ ษาเข้าสู่ชัน้ เรยี น ผู้สอนได้ทําการเพ่ิมผเู้ รยี นโดยเชิญเขา้ ห้องเรยี นตาม อีเมล์ของนักเรียน และการเข้าใช้แอป classroom โดยการเข้าห้องเรียนออนไลน์ผ่าน รหัสผ่าน 2whllwc หรอื ลิงคเ์ ชิญ https://classroom.google.com/c/MTIxMTI4Nzg5OTYx?cjc=2whllwc ข้ันตอนท่ี 3 เริ่มการเรียนการสอน โดยผู้สอนทําการสอนผ่านสื่อออนไลน์ มอบใบงานให้ นักเรียน และประมวนผลการเรียนรใู้ ห้คะแนนนักเรียน ขน้ั ตอนท่ี 4 สร้างแบบสอบถาม ผู้สอนไดท้ ําการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจใน Google Form ต่อการจัดการเรียนการสอนผ่าน Google Classroom และนําไปสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง หลังจากที่เรียน ด้วยชัน้ เรียน Google Classroom คือนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4/1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 การวิเคราะหข์ อ้ มลู 1. สถติ ิท่ีใชว้ ิเคราะหข์ ้อมูล สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพ่ือทดสอบสมมตฐิ านในการวิจัยครั้งนี้มดี ังน้ี 1) หาคา่ เฉลยี่ ( X ) ของกลมุ่ ตัวอย่างโดยใช้สตู ร (ธานินทร์ ศิลปจ์ ารุ, 2549: 153) X= เมือ่ X แทน คา่ เฉลย่ี X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดในกลุ่ม N แทน จานวนคะแนนในกลุม่ 2) คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) ของกลุ่มตวั อยา่ ง โดยใชส้ ตู ร (ธานนิ ทร์ ศิลปจ์ ารุ,2549: 167) เมื่อ S แทน สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละส่วน N แทน จานวนคละในกลมุ่ ∑ แทน ผลรวม X แทน คา่ เฉล่ีย 1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของกล่มุ ตัวอย่าง (Sample Arithmetic Mean) 2. คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของกลมุ่ ตัวอย่าง (Sample Standard Deviation) 3.การวิเคราะหร์ ะดบั ความพงึ พอใจของนักเรยี นที่มีต่อการเรยี นการสอน วิเคราะห์โดยใช้ คา่ เฉลยี่ เลขคณติ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยเกณฑ์การแปรผลเกยี่ วกับระดบั ความพึงพอใจใน รปู แบบการจัดการเรียนการสอนใชห้ ลกั เกณฑ์ ดังน้ี 4.51–5.00 หมายถึง ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับ มากท่ีสุด 3.51 –4.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดับ มาก 2.51 –3.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอย่ใู นระดับ ปานกลาง

10 1.51 –2.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับ นอ้ ย 1.00–1.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั นอ้ ยท่สี ดุ

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเร่ืองการใช้ Google Classroom ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี น รายวิชาพันธกุ รรมและสง่ิ แวดลอ้ ม ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4/1 โรงเรียนสามพรานวทิ ยา ดังน้ี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังการใช้ Google Classroom ในรายวิชาพันธุกรรมและ สิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย จำนวนร้อยละ การทดสอบแบบทดสอบจาการใช้ Google Classroom ในการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาพันธุกรรมและส่ิงแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนสาม พรานวิทยา คะแนนแบบทดสอบ X รอ้ ยละ กอ่ นเรียน 39.1 หลงั เรยี น 3.91 60 6.00 จากตารางท่ี 1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลังการใช้ Google Classroom ในรายวชิ าพนั ธกุ รรมและ ส่งิ แวดล้อม ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนสามพรานวทิ ยา มีคะแนนกอ่ นเรียนเฉล่ีย 3.91 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (ร้อยละ 39.1) และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน มีคะแนนเฉลยี่ 6 จาก คะแนนเต็ม 10 คะแนน (ร้อยละ 60)

12 ความพงึ พอใจของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยาที่มตี ่อการจัดการเรยี น การสอน โดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาพันธกุ รรมและส่ิงแวดล้อม ตารางที่ 2 ความพงึ พอใจของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4/1 โรงเรียนสามพรานวทิ ยาท่ีมีตอ่ การจดั การเรยี นการสอน โดยใช้ Google Classroom ในรายวชิ าพันธกุ รรมและส่งิ แวดล้อม รายการ รายการ ระดับความพงึ พอใจ 1. ชว่ ยให้ผู้เรยี นบรรลเุ ปา้ หมายของการเรียน X S.D. แปลผล 2. ช่วยส่งเสริมทกั ษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. ตวั อย่างท่ใี ชอ้ ธิบายสอดคล้องกบั บทเรยี น 4.30 0.70 มาก 4. แบบฝึกหัดหลากหลายและสอดคลอ้ งกบั บทเรียน 5. ช่วยใหม้ ีผเู้ รียนมคี วามกระตือรือรน้ ในการเรียนมากข้ึน 4.17 0.89 มาก 6. เนอื้ หาเหมาะสมกบั การนำเสนอ 7. ชว่ ยให้เขา้ ใจบทเรียน 4.09 0.95 มาก 8. ช่วยใหป้ ระหยดั เวลาในการเรียน 9. ช่วยให้มสี ว่ นร่วมและการแสดงความคดิ เหน็ 4.09 0.79 มาก 10. มคี วามปลอดภัยในการเข้าถึง 11. ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นเรียนรไู้ ดม้ ากขน้ึ 4.22 0.85 มาก 12. เพ่มิ ขีดความสามารถในด้านการเรยี น 13. สะดวกในการเข้าเรียนและประหยัดเวลา 4.22 1.00 มาก 14. ผ้เู รียนประสบความสำ เร็จในดา้ นการเรียน 15. ตดิ ตามทบทวนเน้อื หาบางส่วนท่ีขาดหายไประหวา่ ง 4.26 0.75 มาก เรียน 4.26 0.86 มาก รวม 4.13 0.81 มาก 4.13 0.76 มาก 4.35 0.78 มาก 4.22 0.80 มาก 4.17 0.83 มาก 4.30 0.82 มาก 4.17 0.78 มาก 4.19 0.11 มาก จากตารางท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนสาม พรานวิทยา ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาพันธุกรรมและ ส่ิงแวดล้อม พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.19 และส่วนเบี่ยงมาตรฐานเท่ากับ 0.11)

บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรปุ ผล อภปิ รายผล ผลการศึกษาการเรียนหลังการใช้ Google Classroom ในรายวิชาพันธุกรรมและส่ิงแวดล้อม ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรยี นสามพรานวิทยา การวจิ ัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้ Google Classroom ในรายวิชาพันธุกรรมและ สิ่งแวดล้อม ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา มีคะแนนก่อนเรียนเฉลี่ย 3.91 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (ร้อยละ 39.1) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน มีคะแนนเฉล่ีย 6 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (ร้อยละ 60) สอดคล้องกับงานวิจัยของ ซีตีอัยเซาะก์ ปูเตะ และคณะ (2561) ได้ศึกษาการใช้ Google classroom .ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิททางการเรียนและพฤติกรรมความรับผิดชอบ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 หอ้ ง 10 โรงเรยี นเบญจมราชชูทิศ ปตั ตานี คา่ เฉลยี่ คะแนนทดสอบก่อนและ หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ Google Classroom คะแนนสอบก่อนเรียนมีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 8.00 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.12 คะแนนทดสอบหลังเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Classroom มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 10.72 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.83 โดยค่าเฉล่ียคะแนนทดสอบ หลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรยี นอย่างมนี ยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 ความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา ท่ีมีต่อการจัดการเรียน การสอน โดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาพันธุกรรมและส่ิงแวดล้อม พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับ มาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.19 และส่วนเบ่ียงมาตรฐานเท่ากับ 0.11) สอดคล้องกับงานวิจัยของ ปริญญา อินทรา (2556) ได้การสร้างและหาประสิทธิภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง วงจร อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น สําหรับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีมี รปู แบบน่าสนใจ มีความชัดเจน มีรูปแบบดึงดูดใจผู้เรียนจะสามารถ ดึงดูดผู้เรียนให้เกิดความสนใจที่จะศึกษา และทาความเข้าใจในเนื้อหาได้ดีย่ิงข้ึน ส่งผลทําให้ผู้เรียนเกิดความ พึงพอใจในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อยู่ในระดับมาก ซึ่งจะเห็นได้ว่าเมื่อมีการนําส่ือท่ีมีรูปแบบท่ีสามารถ ดึงดูดความสนใจผู้เรียนมาใช้ประกอบ การจัดการเรียนการสอนจะทาํ ให้ผูเ้ รยี นมคี วามสุข และสนุกกบั การ เรียนรอู้ ย่างไมเ่ บ่อื หนา่ ย ขอ้ เสนอแนะในวจิ ัยในชัน้ เรียน 1) การเข้าใช้ Google Classroom ผเู้ รยี นควรศึกษาวิธกี ารใช้ตามคำแนะนำใหเ้ ขา้ ใชก้ ่อนใชง้ าน 2) เนื้อหาของในแต่ละบทเรียน ควรปรับปรุงโดยการจัดทําส่ือออนไลน์ Google Classroom แยก เป็นใบงาน ใบความรู้ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ได้ อย่างเต็ม รปู แบบและมคี วามเข้าใจในเนอื้ หามากข้ึนได้ 3) ควรมีการใช้กลยุทธ์ทางการสอนรูปแบบใหม่ ๆ ที่หลากหลาย เช่น การระดมสมอง (Brainstorm) อภปิ รายและเปล่ียนความคิดเห็นภายในกล่มุ

14 บรรณานุกรม เขมณฏั ฐ์ กง่ิ ศริ ธิ รรม. (2557). Social media สือ่ สรา้ งสรรค์เพ่ือการศึกษา, สบื ค้นเม่อื 10 เมษายน 2564, จาก http://www.ejournal.su.ac.th/upload/556.pdf ซีตีอัยเซาะก์ ปูเตะ และคณะ (2561) การใช้ Google classroom .ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ททางการเรียน และพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ห้อง 10 โรงเรียนเบญจมราชชูทิศ ปัตตานี. การประชุมวิชาการระดับชาติ การเรียนเชิงรุก คร้ังท่ี 6 “Active Learning ตอบโจทย์ Thailand 4.0 อยา่ งไร”วันที่ 26-27 มนี าคม 2561 ณ มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ นาวกิ นาํ เสียง. (2554). เร่ืองจริงเกี่ยวกับ ส่อื สงั คมออนไลน์, สบื คน้ เมอ่ื 9 เมษายน 2564, จาก http://www.mediamonitor.in.th/.../233-2011-09-13-03-37-13.htm ปรญิ ญา อนิ ทรา. (2556). การสรา้ งและหาประสทิ ธภิ าพบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน เรือ่ ง วงจร อิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้น สําหรับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ อตุ สาหกรรมมหาบณั ฑิต สาขานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา, คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม, มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร. พรศกั ดิ์ หอมสุวรรณและคณะ (2560), ระดบั ความพงึ พอใจระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน กูเกิ้ลคลาสรมู ภายในวิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรมยานยนต์, รายงานสืบเนอ่ื งจากการประชุม วิชาการ ระดับชาติ ครง้ั ที่ 4 สถานบันวจิ ัยมหาวิทยาลัยราชภฏั กําแพงเพชร 22 ธนั วาคม 2560. สืบคน้ เมื่อ 11 เมษายน 2564. จากhttps://research.kpru.ac.th/sac/fileconference/5152018-05-01.pdf สาวิตรี สงิ หาดและคณะ (2561), ผลสัมฤทธิแ์ ละความพึงพอใจของนกั ศึกษาพยาบาลตอการจดั การเรยี นการ สอนผาน Google Classroom ในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล , วารสาร มนุษยศาสตรและสังคมศาสตรปท่ี 9 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 12 เมษายน 2564. จาก http://www.ubu.ac.th/web/files up/08f2018071111032473.pdf แสงเดอื น ผ่องพฒุ . (2556). สอ่ื สังคมออนไลน์: แนวทางการนํา มาประยกุ ต์ใช้. สืบค้นเมอื่ 9 เมษายน 2564, จาก http://library.senate.go.th/document/Ext6685/6685991_0004.pdf

ภาคผนวก

16 เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการใช้ Google Classroom ในการพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน รายวชิ าพันธุกรรมและสิ่งแวดลอ้ ม ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนสามพรานวิทยา 1. หอ้ งเรยี นรายวิชาพนั ธกุ รรมเเละสิง่ เเวดล้อม ม.4/1 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นสามพรานวิทยา จ.นครปฐม สพม.9

17 2. งานของชนั้ เรยี น 3. ผูค้ น (ครูและนักเรียน ม.4/1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นสามพรานวิทยา จ.นครปฐม สพม.9)

18 4. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการใช้ Google Classroom ต่อจดั กา พนั ธุกรรมเเละส่ิงเเวดล้อม ชั้น ม.4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์เเละเทคโนโล

8 ารเรยี นการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ครูพสิ มัย เจริญลอย รายวิชา ลยี โรงเรียนสามพรานวทิ ยา

19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook