ค่มู ือแนวการจดั ทําแผนงานด้านความปลอดภยั ในการทาํ งาน สาํ หรับงานก่อสรา้ ง สํานกั ความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน
คาํ นาํ กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๑ กําหนดให้นายจ้างจัดทําแผนงานด้านความ ปลอดภัยในการทํางานสําหรับงานกอ่ สร้าง โดยให้อาํ นาจอธิบดีออกประกาศกาํ หนด ดังนั้น สํานักความปลอดภัยแรงงาน จึงได้จัดทําคู่มือแนวการจัดทําแผนงานด้านความปลอดภัยในการ ทํางานสําหรับงานก่อสร้าง เพื่อให้สถานประกอบกิจการท่ีมีการดําเนินการเกี่ยวกับงานก่อสร้างสามารถนําไปใช้ เป็นแนวทางปฏิบัติและจัดทําแผนงานด้านความปลอดภัยในการทํางานได้อย่างถูกต้อง ซึ่งในการจัดทําคู่มือฉบับนี้ ไดร้ ับความรว่ มมอื จากสถานประกอบกิจการในการเขา้ เกบ็ ข้อมูลภาคสนามในโครงการก่อสร้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน่วยงานก่อสร้าง บริษัท นครหลวงก่อสร้าง จํากัด ทําให้การจัดทําคู่มือประสบความสําเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ ท่ีตั้งไวต้ ลอดจนทาํ ให้คู่มือฉบับน้ีมีความสมบรู ณม์ ากยิง่ ขึน้ สามารถนําออกเผยแพรไ่ ด้เปน็ อย่างดี สํานักความปลอดภัยแรงงาน จึงขอขอบคุณผู้ท่ีเกี่ยวข้องดังกล่าวข้างต้น ณ โอกาสนี้ด้วยและหวังว่าคู่มือน้ี จะเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้สนใจท่วั ไป สํานักความปลอดภัยแรงงาน ๒๕๕๔
สารบญั ๑ บทนํา แผนงานด้านความปลอดภัยในการทํางานสาํ หรบั งานก่อสร้าง ขน้ั ตอนการจดั ทาํ แผนงานด้านความปลอดภัยในการทาํ งานสาํ หรับงานกอ่ สรา้ ง ๒-๔ • โครงสร้างระบบจัดการดา้ นความปลอดภยั ในการทํางานของหน่วยงาน • นโยบายด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน โครงสรา้ งการบรหิ ารงานดา้ นความปลอดภยั ในการทาํ งาน ๕-๙ • การจดั ต้ังหนว่ ยงานความปลอดภยั ในการทาํ งาน • การแต่งต้งั คณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน • การแตง่ ตั้งเจ้าหน้าท่คี วามปลอดภัยในการทํางานระดบั ต่างๆ • การกาํ หนดหนา้ ท่ีผูร้ บั ผิดชอบ การจดั เตรียมข้อมูลจากแผนงานกอ่ สรา้ ง ๑๐-๑๙ • โครงสร้างแสดงรายการงานก่อสร้างทีใ่ ชเ้ ปน็ ขอ้ มูล • โครงสร้างกลุ่มบคุ คลทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับงานก่อสร้าง • โครงสร้างการบรหิ ารงานภายในหนว่ ยงานก่อสรา้ งโครงการกอ่ สรา้ งฯ • รายการงานก่อสร้าง • การวิเคราะหอ์ ันตรายและแนวทางป้องกนั • ตารางแจกแจง จํานวนทรพั ยากรบุคคล • แบบแผนผังบริเวณ และพื้นทโ่ี ดยรอบอาคารทําการก่อสรา้ ง (Site Layout) จดั ทาํ องคป์ ระกอบ และแผนงานดา้ นความปลอดภยั ฯ ๒๐-๓๓ • แผนการควบคมุ ดแู ลความปลอดภัยในการทํางาน • แผนฝกึ อบรมใหค้ วามร้ดู า้ นความปลอดภยั ในการทํางานแก่ลูกจา้ ง • แผนการรณรงค์สง่ เสรมิ ความปลอดภยั ในการทาํ งาน • แผนฉกุ เฉนิ กรณีเกิดอบุ ตั เิ หตุในการทํางาน • แผนการตรวจสอบ วเิ คราะห์ และรายงานอบุ ัติเหตใุ นการทํางาน ภาคผนวก ๓๔-๔๑ ภาคผนวก ๑ กฎหมายความปลอดภัยในการทํางานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ภาคผนวก ๒ แบบทดสอบการประเมินลูกจ้างใหม่ ภาคผนวก ๓ แบบประเมนิ ผลการฝกึ อบรม ภาคผนวก ๔ แบบการรายงานอบุ ตั ิเหตุ ภาคผนวก ๕ แผนผงั โครงการกอ่ สรา้ ง บรรณานกุ รม
บทนาํ การจัดทําแผนงานด้านความปลอดภัยในการทํางาน เป็นการวางแผนขั้นตอนวิธีการทํางานก่อสร้าง ในแต่ละช่วงที่ถูกกําหนดไว้ตามแผนงานก่อสร้างจนเสร็จสิ้นการดําเนินงานหรือเสร็จสิ้นโครงการ โดยต้อง สอดคล้องกับกฎหมายความปลอดภัยในการทํางานท่ีเกี่ยวข้อง นายจ้างหรือผู้บริหารสูงสุดต้องเป็นผู้นําหลัก ในการแสดงเจตนารมณ์และความมุ่งม่ันโดยเริ่มจากการจัดทํานโยบายด้านความปลอดภัยในการทํางานที่จะนํามา ประกาศใช้ เพ่ือให้นําไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจังในหน่วยงานก่อสร้าง การบริหารงานด้านความปลอดภัย ในการทํางานจงึ บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายได้ การกําหนดโครงสร้างการบริหารงานด้านความปลอดภัยในการทํางาน หรือองค์กรด้านความปลอดภัย ในการทํางานของหน่วยงาน ซึ่งต้องมีการจัดหรือเตรียมบุคลากรมารองรับต่อองค์กรดังกล่าว หรือบุคลากรผู้มี หน้าท่ีด้านความปลอดภัยในการทํางานท่ีสอดคล้องกับกฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน และต้องกําหนด หน้าท่ีรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทํางานให้ชัดเจน ซ่ึงต้องมีการเตรียมความพร้อม เช่น หน่วยงานความ ปลอดภัยในการทํางาน(ถ้ามี) คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน และเจา้ หนา้ ที่ความปลอดภัยในการทาํ งานระดบั ต่างๆ ผคู้ วบคุมงานหรือผู้มีหน้าทต่ี ามทีก่ ฎหมายความปลอดภัยใน การทํางานอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง และตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทํา แผนงานด้านความปลอดภัยในการทํางานสําหรับงานก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๒ กําหนดองค์ประกอบของแผนงานด้าน ความปลอดภัยในการทํางานสาํ หรับงานกอ่ สร้างไว้ ดังนี้ ๑. แผนควบคมุ ดูแลความปลอดภัยในการทํางานที่สอดคลอ้ งกับกฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน ๒. แผนฝึกอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยในการทํางานแก่ลูกจ้างท่ีมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับ การทํางาน ดงั น้ี (๑) งานอาคารที่มีพื้นท่ีรวมกันทุกชั้นหรือชั้นหน่ึงชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน ๒,๐๐๐ เมตร หรืออาคารท่ีมีความสูงต้ังแต่ ๑๕ เมตรข้ึนไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหน่ึงช้ันใดในหลังเดียวกันเกิน ๑,๐๐๐ ตารางเมตร (๒) งานสะพานที่มีชว่ งความยาวตัง้ แต่ ๓๐ เมตรข้นึ ไป หรืองานสะพานข้ามทางแยกหรอื ทางยกระดับ สะพานกลบั รถ หรือทางแยกตา่ งระดบั (๓) งานขุด งานซ่อม หรืองานรอื้ ถอนระบบสาธารณูปโภคทล่ี ึกตัง้ แต่ ๓ เมตรขนึ้ ไป (๔) งานอุโมงค์หรือทางลอด ๓. แผนรณรงค์ส่งเสรมิ ความปลอดภยั ในการทาํ งาน ๔. แผนฉกุ เฉินกรณเี กิดอบุ ัติเหตใุ นการทาํ งาน ๕. แผนการตรวจสอบ วิเคราะห์ และรายงานอบุ ัติเหตุทเ่ี กิดขึ้น ทง้ั น้ี แผนงานดังกล่าวต้องมรี ายละเอยี ดเก่ียวกับ ช่ือโครงการหรือกิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ แผนการปฏิบัติงาน ซึ่งระบุวิธีการ ข้ันตอนและระยะเวลาการปฏิบัติ ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลสมั ฤทธ์ขิ องโครงการหรือกิจกรรม วิธีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม ระยะเวลาการทบทวนและปรับปรุง แกไ้ ขแผนงาน และผ้มู ีหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบดว้ ย
-๒– ขนั้ ตอนการจดั ทําแผนงานด้านความปลอดภัยในการทาํ งานสาํ หรบั งานกอ่ สรา้ ง ในการจัดทําแผนงานด้านความปลอดภัยฯ ตามท่ีได้กล่าวมาแล้ว ต้องมีการกําหนดนโยบาย การกําหนด โครงสร้างการบริหารงานด้านความปลอดภัยในการทํางาน การกําหนดหน้าที่รับผิดชอบและการปฏิบัติตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงในท่ีนี้จะกล่าวถึงโครงการก่อสร้างอาคารแห่งหน่ึง โดยสมมุติชื่อโครงการว่า โครงการกอ่ สร้างอาคาร....ก..... บรษิ ทั ..........ข.......... จาํ กัด ทจ่ี ะใชเ้ ป็นแนวทางหรือตวั อยา่ งในการจัดทาํ สําหรับข้ันตอนการกําหนดนโยบาย และโครงสร้างการบริหารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน และการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อใช้ประกอบการจัดทําแผนงานฯ อาจแสดงองค์ประกอบ รวม ในรปู ของแผนผังดังตอ่ ไปน้ี โครงสรา้ งระบบจดั การดา้ นความปลอดภัยในการทาํ งานของหน่วยงาน ระบบจัดการดา้ นความปลอดภัย ในการทํางานของหน่วยงาน ๑. นโยบายด้านความปลอดภยั ของ ๒. โครงสรา้ งการบรหิ ารดา้ นความ หนว่ ยงานก่อสรา้ ง ปลอดภยั ของหนว่ ยงาน ๒.๑ หน่วยงานความปลอดภัยฯ (หากเข้าขา่ ย) ๒.๒ คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ๒.๓ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการ ทาํ งานระดบั ต่าง ๆ ๒.๓ ผคู้ วบคมุ งาน หรอื บุคคลตามท่ี กฎหมายกําหนด
-๓- จากแผนผงั ข้างต้นสามารถกาํ หนดรายละเอียดแต่ละส่วนได้ ดงั น้ี ๑. นโยบายดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน นายจ้างต้องประกาศนโยบายด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน อย่างชัดเจนที่แสดงถึงความจริงใจต่อการดูแลลูกจ้างให้ได้รับความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงสุขภาพ อนามัยโดยรวมของทุกคน ต้องเป็นผู้นําและทําหน้าท่ีควบคุมดูแล รวมถึงต้องส่งเสริมให้ลูกจ้างทุกคนมีส่วนร่วมใน การรับผิดชอบ เร่ืองความปลอดภัยในการทํางานของหน่วยงานก่อสร้างของตน นโยบายที่จะประกาศใช้ต้อง สามารถนาํ ไปปฏิบตั ไิ ด้ ซ่งึ สาระสําคญั ของนโยบาย อย่างน้อยควรครอบคลุมในเรอ่ื ง ดังนี้ ๑.๑ การกําหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งาน รวมถงึ การตรวจสอบและประเมนิ ประสิทธิภาพการปฏบิ ัติงาน ๑.๒ การปฏิบัติตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั และมาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน อย่างเครง่ ครัด ๑.๓ การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร ซ่ึงผู้บริหาร ลูกจ้าง และผู้รับเหมา มีความเข้าใจและมุ่งม่ัน ใหค้ วามสาํ คัญต่อการบรหิ ารจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน นอกจากนี้นโยบายความปลอดภัย ควรมีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสถานการณ์อยู่เสมอ ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปนี้
-๔- นโยบายด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ประกาศ เรือ่ ง นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ของบรษิ ทั ........ข......... จาํ กัด ................................................................. ด้วยบริษัท .....ข....... จํากัด มีความห่วงใยในเรื่องความปลอดภัยในการทํางานของลูกจ้างทุกคน มุ่งม่ันและ จะดําเนินการในทุกทางเพื่อมีการดูแลเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานเป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานของลูกจ้างทุกคนของหน่วยงานก่อสร้างภายใต้ความรับผิดชอบของ บรษิ ัทฯ โดยให้ผู้บริหารทุกคนตอ้ งเป็นผนู้ าํ ในการปฏิบตั ิตาม และตอ้ งเปิดโอกาสให้ลูกจ้างทุกคนมีส่วนร่วม จึงกําหนดนโยบาย เพ่ือให้ทุกคนได้ปฏบิ ัติ ดังต่อไปนี้ ๑. ลกู จา้ งทกุ คนต้องไดร้ บั การพฒั นา โดยใหค้ วามร้คู วามเขา้ ใจ เกยี่ วกบั ความปลอดภยั ในการทํางาน ๒. ลกู จ้างทุกคนตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบอยา่ งเคร่งครดั ๓. ผู้บังคับบัญชาทุกระดับช้ันมีหน้าท่ีควบคุมดูแลความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ของลูกจา้ ง แนะนาํ สอนงานและปฏิบัติตนให้เป็นตวั อย่างแกผ่ ูใ้ ต้บังคับบญั ชา จึงประกาศมาใหท้ ราบและถอื ปฏบิ ัติ ประกาศ ณ วนั ท่ี ......................... เป็นตน้ ไป ............................................ () กรรมการผู้จัดการบรษิ ทั .......ข......... จํากดั
-๕- ๒. โครงสรา้ งการบรหิ ารงานด้านความปลอดภัยในการทํางาน กําหนดโครงสร้างการบริหารงานด้านความปลอดภัยในการทํางาน หรือองค์กรด้านความปลอดภัยในการ ทํางานของหน่วยงาน ซ่ึงต้องมีการจัดหรือเตรียมบุคลากรมารองรับต่อองค์กรดังกล่าว หรือบุคลากรผู้มีหน้าท่ี ด้านความปลอดภัยในการทํางานท่ีสอดคล้องกับกฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน และต้องกําหนดหน้าที่ รับผิดชอบดา้ นความปลอดภยั ในการทาํ งานให้ชัดเจน ซึ่งตอ้ งมกี ารเตรียมความพร้อม ดังนี้ ๒.๑ การจดั ต้งั หน่วยงานความปลอดภยั ในการทํางาน(ถ้ามี) แสดงองค์ประกอบรวม ในรปู ของแผนผัง ดงั ตอ่ ไปน้ี โครงสรา้ งการจัดองคก์ รดา้ นความปลอดภัยในการทํางาน ของหนว่ ยงานก่อสรา้ งโครงการกอ่ สรา้ งอาคาร...ก...... องค์กรด้านความปลอดภยั ในการทาํ งาน ของหนว่ ยงานกอ่ สร้างโครงการก่อสรา้ งอาคาร....ก..... เจ้าหนา้ ทีค่ วามปลอดภยั คณะกรรมการความ ในการทํางาน ปลอดภัยฯ ประธาน (ผจู้ ัดการโครงการ) ๑ คน ลกู จ้างระดับบังคบั บญั ชา ๒ คน ลูกจ้างระดับปฏบิ ัตกิ าร ๓ คน เลขานุการฯ ( จป. วิชาชีพ) ๑ คน หมายเหตุ แผนผังน้เี ปน็ ตวั อยา่ งสําหรับกรณีทมี่ ลี ูกจา้ งตั้งแต่ ๑๐๐ คนขน้ึ ไปแต่ไม่ถงึ ๕๐๐ คน
-๖- ๒.๒ การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน คําสง่ั ที่ .... / .... เร่ือง แตง่ ต้ังคณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามัย ละสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ประจาํ หนว่ ยงานก่อสร้าง โครงการกอ่ สรา้ งอาคาร....ก...... บริษทั .....ข....... จํากัด ด้วยกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ กําหนดให้กิจการหรือสถานประกอบกิจการท่ีเข้าข่ายบังคับใช้ของกฎหมาย ต้องทําการแต่งต้ังคณะกรรมการ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ตามทีก่ ฎหมายกําหนด ดงั น้ัน เพ่อื ใหบ้ ริษัทปฏิบตั สิ อดคลอ้ งตามท่ีกฎหมายระบไุ ว้ ทางบรษิ ทั ฯ จงึ แต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ดังน้ี ๑. นาย/นางสาว................................. ประธานกรรมการ ๒. นาย/นางสาว................................. กรรมการผแู้ ทนระดบั บงั คบั บัญชา ๓. นาย/นางสาว................................. กรรมการผูแ้ ทนระดับบงั คับบัญชา ๔. นาย/นางสาว................................. กรรมการผู้แทนระดับปฏิบตั ิการ ๕. นาย/นางสาว................................. กรรมการผู้แทนระดบั ปฏิบัตกิ าร ๖. นาย/นางสาว................................. กรรมการผแู้ ทนระดับปฏิบตั ิการ ๗. นาย/นางสาว................................. กรรมการและเลขานุการ โดยใหค้ ณะกรรมการดังกล่าว มีหน้าท่ี ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. จดั ประชุมอยา่ งนอ้ ยเดอื นละ ๑ ครั้ง ๒. พิจารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัยในการทํางาน รวมท้ังความปลอดภัยนอกงานเพื่อป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอนั ตรายการเจ็บป่วยหรือการเกิดเหตเุ ดอื ดรอ้ นรําคาญอนั เนอื่ งจากการทํางานหรือความไมป่ ลอดภยั ในการทาํ งาน ๓. รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง การปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมายเก่ียวกับความปลอดภัยในการ ทํางานและมาตรฐานความปลอดภัย เพ่ีอความปลอดภัยในการทํางานของลูกจ้าง ผู้รับเหมาและบุคคลภายนอกท่ีเข้ามาปฏิบัติงานหรือ เข้ามาใช้บริการในสถานประกอบกจิ การ ๔. สง่ เสริม สนบั สนุน กิจกรรมดา้ นความปลอดภัยในการทํางานของสถานประกอบกจิ การ ๕. สํารวจการปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการทํางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอันตรายท่ีเกิดข้ึนในสถาน ประกอบกิจการ อย่างนอ้ ยเดือนละ 1 ครัง้ ๖. พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน รวมถึงโครงการหรือแผนการอบรม เกย่ี วกับบทบาทหน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบในด้านความปลอดภยั ของลกู จา้ ง หวั หน้างาน ผบู้ ริหาร นายจา้ ง และบุคลากรทุกระดบั ๗. วางระบบการรายงานสภาพแวดลอ้ มการทาํ งานที่ไมป่ ลอดภยั ใหเ้ ปน็ หน้าทข่ี องลกู จา้ งทกุ คนทกุ ระดบั ต้องปฏบิ ัติ ๘. รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านประจําปี รวมท้งั ระบุปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ เมื่อปฏิบัตหิ นา้ ที่ครบหน่งึ ปี ๙. ประเมนิ ผลการดําเนินงานดา้ นความปลอดภัยในการทํางานของสถานประกอบกจิ การ ๑๐. ปฏบิ ตั งิ านดา้ นความปลอดภัยในการทาํ งานอ่นื ตามทนี่ ายจ้างมอบหมาย ๑๑. ตดิ ตามผลความคบื หน้าเรือ่ งทไี่ ดเ้ สนอบรษิ ัทฯ ไปแล้ว ทั้งนีใ้ หค้ ณะกรรมการดังกล่าว อยู่ในตาํ แหน่งเปน็ เวลา ๒ ปี นับตั้งแตว่ ันท่ี ........... ถงึ วนั ที่ ............ สงั่ ณ วนั ที่ ................... กรรมการผู้จัดการบริษทั ......ข......... จาํ กัด
-๗- ๒.๓ การแตง่ ต้ังเจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภัยในการทาํ งานระดบั ตา่ งๆ คําสั่งที่ .... / .... เรอ่ื ง แตง่ ต้ังเจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทาํ งานประจาํ หนว่ ยงานกอ่ สร้าง โครงการก่อสรา้ งอาคาร......ก......... บริษัท .........ข...... จํากดั ด้วยกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ กําหนดให้กิจการหรือสถานประกอบกิจการท่ีเข้าข่ายบังคับใช้ของกฎหมาย ต้องทําการแตง่ ต้งั เจ้าหนา้ ที่ความปลอดภยั ในการทํางานระดบั ตา่ ง ๆ ตามทกี่ ฎหมายกาํ หนด ดงั นัน้ เพอื่ ให้บริษัทปฏิบัติสอดคล้องตามทกี่ ฎหมายระบไุ ว้ ทางบรษิ ทั ฯ จงึ แต่งตั้งและกําหนดหนา้ ท่ขี อง เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภัยในการทํางานประจาํ หน่วยงานกอ่ สร้าง ดังน้ี ๑. นาย/นางสาว................................. เจ้าหนา้ ท่ีความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร ๒. นาย/นางสาว................................. เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภยั ในการทาํ งานระดับบริหาร ๓. นาย/นางสาว................................. เจ้าหนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทํางานระดบั บริหาร ๔. นาย/นางสาว................................. เจ้าหนา้ ท่คี วามปลอดภยั ในการทํางานระดับบริหาร ๕. นาย/นางสาว................................. เจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทํางานระดบั หัวหนา้ งาน ๖. นาย/นางสาว................................. เจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภยั ในการทาํ งานระดบั หวั หน้างาน ๗. นาย/นางสาว................................. เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภยั ในการทาํ งานระดับหวั หนา้ งาน ๘. นาย/นางสาว................................. เจ้าหนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหน้างาน ๙. นาย/นางสาว................................. เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทาํ งานระดับหัวหน้างาน ๑๐. นาย/นางสาว................................. เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทาํ งานระดบั วชิ าชีพ เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทํางานระดับบริหาร มีหนา้ ที่ ๑. กํากับ ดูแล เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน การทาํ งานระดับบริหาร ๒. เสนอแผนงานโครงการด้านความปลอดภยั ในการทํางานในหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบตอ่ บรษิ ทั ฯ ๓. ส่งเสริม สนับสนุน และติตามการดําเนินงานเก่ียวกับความปลอดภัยในการทํางานให้เป็นไปตามแผนงานโครงการ เพอ่ื ให้มกี ารจดั การด้านความปลอดภัยในการทาํ งานท่เี หมาะสมกบั บริษัทฯ ๔. กํากับ ดูแล และติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพ่ือความปลอดภัยของนพนักงานตามที่ได้รับรายงานหรือตาม ขอ้ เสนอแนะของเจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภัยในการทํางาน คณะกรรมการฯหรอื หนว่ ยงานความปลอดภัยฯ เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทํางานระดับหวั หนา้ งาน มหี น้าท่ี ๑. กาํ กับ ดแู ล ใหล้ ูกจา้ งในหนว่ ยงานท่ีรบั ผิดชอบปฏบิ ัตติ ามข้อบงั คบั และคมู่ ือความปลอดภัยของบรษิ ัทฯ ๒. วิเคราะหง์ านในหน่วยงานที่รับผดิ ชอบเพื่อคน้ หาความเสีย่ งหรอื อันตรายเบือ้ งตน้ ๓. สอนวิธีการปฏิบัตงิ านทถี่ กู ตอ้ งแกพ่ นกั งานในหน่วยงานท่รี ับผดิ ชอบเพือ่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงาน ๔. ตรวจสอบสภาพการทาํ งาน เคร่ืองจักร เครื่องมอื และอปุ กรณใ์ หอ้ ยู่ในสภาพท่ปี ลอดภัยกอ่ นลงมือปฏิบตั ิงานประจําวัน
-๘- -๒- ๕. กํากบั ดแู ล การใช้อปุ กรณ์ค้มุ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คลของพนักงานในหนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ ๖. รายงานการประสบอนั ตราย การเจ็บปว่ ย หรอื การเกิดเหตุเดือดร้อนราํ คาญอนั เน่ืองจากการทํางานของพนักงานต่อ บริษทั ฯ และแจง้ ตอ่ เจ้าหนา้ ที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับวชิ าชีพรวมทั้งหนว่ ยงานความปลอดภยั ทนั ทที่ เี่ กิดเหตุ ๗. ตรวจสอบสาเหตุการประสบอนั ตราย การเจบ็ ป่วย หรือการเกดิ เหตุเดือดร้อนรําคาญอันเน่ืองมาจากการทํางานของ พนักงานและผู้รับเหมา ร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับวิชาชีพ และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปญั หาตอ่ บรษิ ัทฯ ๘. สง่ เสริมสนบั สนนุ กจิ กรรมความปลอดภยั ในการทํางาน ๙. ปฏบิ ตั งิ านด้านความปลอดภัยในการทาํ งานอื่นตามทเี่ จา้ หน้าท่คี วามปลอดภัยในการทาํ งานระดับบริหารมอบหมาย เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั ในการทํางานระดับวิชาชพี มหี น้าที่ ๑. ตรวจสอบและเสนอแนะใหน้ ายจ้างปฏบิ ตั ิตามกฎหมายเกีย่ วกบั ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ๒. วิเคราะห์งานเพอื่ ช้ีบ่งอันตราย รวมทงั้ กาํ หนดมาตรการป้องกนั หรือข้ันตอนการทํางานอยา่ งปลอดภยั เสนอตอ่ บริษทั ฯ ๓. ประเมินความเสยี่ งดา้ นความปลอดภยั ในการทาํ งาน ๔. วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมทั้งข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่าง ๆ และเสนอมาตรการความปลอดภัยในการ ทํางานตอ่ บริษทั ฯ ๕. ตรวจประเมินการปฏิบตั ิงานของบริษทั ฯ ใหเ้ ป็นไปตามแผนงานโครงการหรือมาตรการความปลอดภัยในการทํางาน ๖. แนะนาํ ให้ลูกจ้างปฏิบัตติ ามข้อบงั คบั และคู่มอื ความปลอดภัยของบริษัทฯ ๗. แนะนาํ ฝกึ สอน อบรมลกู จา้ งเพอ่ื ให้การปฏิบตั งิ าน ปลอดจากเหตอุ ันจะทาํ ให้เกดิ ความไม่ปลอดภัยในการทาํ งาน ๘. ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน หรือดําเนินการร่วมกับบุคคลหรือหน่วยงานท่ีข้ึนทะเบียนกับกรม สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้รับรองหรือตรวจสอบเอกสารหลักฐานรายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมใน การทํางานในสถานประกอบกจิ การ ๙. เสนอแนะตอ่ บรษิ ทั ฯ เพ่อื ให้มีการจดั การดา้ นความปลอดภยั ในการทํางานทเ่ี หมาะสมและพฒั นาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพอยา่ งต่อเนื่อง ๑๐.ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะหก์ ารประสบอันตราย การปว่ ย หรือการเกดิ เหตุเดอื ดรอ้ นราํ คาญอันเนอ่ื งจากการ ทํางาน และรายงานผล รวมท้ังเสนอแนะตอ่ บรษิ ทั ฯ เพ่อื ป้องกันการเกิดเหตุ ๑๑. รวบรวมสถติ ิ วเิ คราะหข์ อ้ มลู จดั ทํารายงาน และขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกับการประสบอันตราย การเจบ็ ป่วย หรอื การ เกิดเหตุเดอื ดรอ้ นรําคาญอันเนอื่ งจาการทํางาน ๑๒. ปฏบิ ตั ิงานดา้ นความปลอดภยั ในการทํางานอ่นื ตามทบี่ ริษทั ฯ มอบหมาย ทงั้ น้ีใหม้ ีผลต้งั แตว่ ันท่.ี ....................... เปน็ ต้นไป สง่ั ณ วันท่ี ............ () กรรมการผู้จดั การบรษิ ทั .....ข....... จํากดั
-๙- ๒.๔ การกําหนดหนา้ ท่ีผรู้ บั ผิดชอบ ประกาศ คาํ สง่ั ที่ .... /..... เรือ่ ง กําหนดหนา้ ที่รบั ผิดชอบผ้มู ีหน้าทเี่ กย่ี วกับความปลอดภัยในการทํางาน ของหนว่ ยงานกอ่ สรา้ ง....ก...... โดยบริษทั ....ข...... จาํ กดั ....................................................................... เพ่ือให้พนักงานทุกระดับได้เข้าใจขอบข่ายหน้าท่ีรับผิดชอบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน ตามท่ีกําหนดไว้ในนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทาํ งาน ของบริษทั นครหลวงกอ่ สรา้ ง จํากดั จึงประกาศกาํ หนดหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ ไว้ดงั น้ี ๑. เจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทาํ งานระดับบริหาร ใหป้ ฏิบตั หิ นา้ ที่ตามที่กฎหมายกําหนด ๒. เจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภัยในการทํางานระดับหวั หน้างานใหป้ ฏิบตั หิ นา้ ทีต่ ามทีก่ ฎหมายกาํ หนด ๓. เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทํางานระดบั วชิ าชีพ ให้ปฏิบัติหน้าทตี่ ามท่ีกฎหมายกําหนด ๔. ผู้ควบคุมงาน มีหน้าท่ีตรวจความปลอดภัยในการทํางานก่อนการทํางานและขณะทํางานทุกข้ันตอน เพ่อื ให้เกิดความปลอดภัย ๕. ลกู จ้าง และลูกจา้ งผรู้ บั เหมาทกุ คน ใหป้ ฏบิ ตั หิ น้าท่ี ดงั นี้ (๑) ทํางานดว้ ยความมจี ิตสํานึกและตระหนกั ถึงความปลอดภยั ในการทาํ งานเสมอ (๒) ปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บอย่างเคร่งครดั (๓) ปฏบิ ัตงิ านภายใตก้ ารควบคุมของหวั หนา้ งาน จงึ ประกาศให้ทราบและถอื ปฏบิ ตั ิ ท้ังนี้ ต้งั แตว่ นั ท่ี ................... เป็นต้นไป ลงชื่อ ............................................ () กรรมการผจู้ ดั การ
-๑๐- การจัดเตรียมข้อมูลจากแผนงานกอ่ สรา้ ง แผนงานด้านความปลอดภัยในการทํางานสําหรับงานก่อสร้างที่ดี จะต้องสอดคล้องกับรายการงาน ก่อสร้างหรือแผนงานก่อสร้าง และครอบคลุมงานทุกงาน เพ่ือสามารถนําไปสู่การปฏิบัติได้ตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงใน ที่นีจ้ ะยกตวั อยา่ งการรวบรวมขอ้ มลู ท่จี ําเป็นจากแผนงานกอ่ สรา้ งทมี่ ีอยแู่ ล้ว นํามาประกอบการจัดทําแผนงานด้าน ความปลอดภยั ฯเทา่ น้ัน จะไม่กลา่ วถงึ รายละเอียดในการจัดทําแผนงานก่อสร้าง สําหรับข้อมูลรายการงานก่อสร้าง จากแผนงานก่อสร้างทตี่ อ้ งการ มีดังนี้ ๑. รายการงานทต่ี ้องทาํ ๒. รายการผรู้ บั ผิดชอบ ๓. วธิ ีการปฏบิ ัติ/เทคนิคการทํา ๔. สถานทที่ ่ดี ําเนินการและสภาพแวดลอ้ มโดยรอบ ๕. ความต้องการใชเ้ ครื่องมอื เคร่ืองจกั ร และอุปกรณ์ ๖. ระยะเวลาในการดาํ เนินการ ดังน้ัน จากโครงการก่อสร้างอาคารผลิตยาดังกล่าว ผู้จัดทําแผนงานความปลอดภัยฯ จะได้ข้อมูล เบือ้ งตน้ ตามตวั อยา่ ง ดงั นี้ โครงการก่อสร้างอาคาร....ก...... ขนาด อาคาร ๒ ชน้ั พน้ื ที่ ๑๖,๐๐๐ ตารางเมตร กอ่ สรา้ งโดย บรษิ ทั .....ข..... จาํ กัด ระยะเวลาในการกอ่ สรา้ ง ๑๒ เดอื น วนั เริม่ โครงการ ๒๕๕๓ วันสนิ้ สดุ โครงการ ๒๕๕๔ วศิ วกรโครงการ นาย/นางสาว..................... วศิ วกรควบคมุ งาน นาย/นางสาว.....................
-๑๑- ๑. โครงสรา้ งแสดงรายการงานกอ่ สร้างทใ่ี ช้เปน็ ขอ้ มลู โครงการ ก่อสรา้ ง รายการงานที่ รายการ รายการวธิ ี สถานทท่ี ี่ รายการ ระยะเวลา ตอ้ งทํา ผู้รบั ผิดชอบ การทํา ดาํ เนนิ การ เคร่อื งมือ ดําเนนิ การ และต้องใชใ้ คร กอ่ สร้าง เคร่ืองจักร กอ่ สรา้ ง เปน็ ผูท้ าํ งานนน้ั งานก่อสร้าง และอุปกรณ์ จดั เรยี งรายการ จดั องค์กร กําหนดเทคนคิ นาํ มาวางแผนใน กําหนด งานกอ่ น -หลงั โครงการและ และวิธีการทํา การกาํ หนดและ ระยะเวลาและ แจกแจงความ ใหเ้ หมาะสมกบั จดั หาเครอื่ งมอื ช่วงเวลาตาม รบั ผดิ ชอบ งานท่ตี ้องทํา รายการงานทม่ี ี เครอ่ื งจักร และอุปกรณ์
-๑๒- ๒. โครงสรา้ งกลมุ่ บุคคลทเ่ี กีย่ วข้องกับงานก่อสร้าง (ผ้รู บั เหมาหลกั ผรู้ ับเหมายอ่ ย จํานวนลกู จา้ ง) โครงการก่อสร้างอาคาร ก เจา้ ของโครงการ กลมุ่ ผูอ้ อกแบบ บรษิ ัท ....ข....... จํากดั /ท่ีปรึกษาโครงการ (ผู้รบั เหมาหลัก) ระบบงานสขุ าภิบาล ระบบงานไฟฟ้า บรษิ ทั .....ค..... กร๊ปุ จาํ กัด บรษิ ทั ....ง.... จาํ กัด (ผู้รับเหมาช่วง) (ผ้รู บั เหมาช่วง)
-๑๓- ๓. โครงสรา้ งการบรหิ ารงานภายในหนว่ ยงานกอ่ สร้างโครงการก่อสรา้ งอาคารโรงงานผลิตยา บริษทั .....ข..... จาํ กัด (ผรู้ บั เหมาหลัก) ผอู้ ํานวยการโครงการ ผู้จดั การโครงการ หนว่ ยงานดา้ นความ ปลอดภยั /จป.วชิ าชพี วิศวกรโครงการ(1) สถาปนิก วศิ วกรโครงการ(2) วิศวกรสนาม ช่างสํารวจ ธรุ การ ทว่ั ไป ระบบงานสขุ าภิบาล ระบบงานไฟฟา้ วศิ วกรสขุ าภิบาล วศิ วกรไฟฟ้า ชา่ งเทคนิคโยธา 1 บรษิ ัท .....ง..... จาํ กัด โฟรแ์ มน งานค.ส.ล. บริษัท .....ค.... กร๊ปุ จาํ กัด โฟร์แมนไฟฟ้า ช่างเทคนิคโยธา 2 คนงาน โฟรแ์ มนงานเหล็ก คนงาน โฟรแ์ มนสขุ าภบิ าล งานโครงสร้าง ค.ส.ล. งานโครงสรา้ งเหลก็ คนงาน หวั หน้าคนงาน หัวหนา้ คนงาน คนงาน คนงาน
๔. รายกา ลาํ ดับ รายการงาน งาน เครอ่ื งมือ/เครอื่ งจกั ร งาน ท่ี ความ นาํ รายการงานก่อสรา้ งตา่ งๆ เครอ่ื งจกั เขตกอ่ ส ๑ งานปรับเตรยี มพนื้ ที่ มาจดั ทาํ องคป์ ระกอบและ - งานปรบั พืน้ ที่ - งานปกั วางผังบริเวณ ไถปรบั กลบหแนผา้ นดินงานดา้ นครวถแาบมลป็คโลฮอดภยั ฯ - กําหนดพืน้ ทกี่ ่อสร้าง - สาํ รวจเพื่อการก่อสรา้ ง รถแทรคเตอร์ - ลอ้ มร้ัว/จัดทําเขตก่อสร้าง เคร่ืองมือสํารวจ - เส้นทางเข้าออก รถบด / รถบรรทกุ ๒ โครงสรา้ งฐานราก ตอกเสาเข็มขนาด เครื่องตอกเสาเข็ม งานกอ่ ส - ตอกเสาเขม็ ๖๐๐ ตน้ - ขนยา้ ยเสาเขม็ รถปนั้ จั่น (รถเฮียบ) งานเจาะ (เข็มคอนกรีตกลวง d ๔๕-๒๓) - เก็บกองเสาเขม็ รถบรรทุก เครอ่ื งจกั - ขุดดนิ ลกึ ๒.๐๐ เมตร รถแบล็คโฮ ทางเดนิ - งานขุดดนิ - ตัดหัวเสาเขม็ เครื่องมือตดั คอนกรีต ไฟฟา้ - งานตัดหวั เสาเข็ม - ขนย้าย รถแทคเตอร์ คาํ้ ยัน - ไถกลบ ตู้เช่ือมไฟฟ้า - กลบดิน - ผูกเหล็ก เครื่องดัด - เสา ตอม่อ - ต้งั แบบหลอ่ เครือ่ งสน่ั คอนกรตี - เทคอนกรีต รถเทคอนกรตี
ารงานก่อสร้าง นท่ีสอดคลอ้ งกบั ช่วงเวลาดาํ เนนิ การ ผคู้ วบคุม ผู้รับผดิ ชอบสงู สดุ กฎหมาย วศิ วกรโครงการ1 โฟร์แมนโครงสร้าง มปลอดภัยในการ ช่างสํารวจ วิศวกรโครงการ1 ทาํ งาน กร สร้าง/เขตอันตราย -๑๔- สร้างทีม่ ีเสาเข็ม โฟร์แมนโครงสร้าง ะงานขุด ผู้บงั คับเคร่อื งตอกฯ กร ผใู้ ห้สญั าณ นยกระดบั ชัว่ คราว
ลาํ ดับ รายการงาน งาน เคร่อื งมอื /เครื่องจกั ร งาน ท่ี งานโครงสร้าง ค.ส.ล กฎหมา - เสา คาน ช้นั ท่ี ๑ ๓ - เสา คาน ชัน้ ท่ี ๒ ตูเ้ ชอื่ มไฟฟา้ ทางเดนิ เครือ่ งดัด เครอ่ื งจกั ๔ งานโครงหลังคาเหล็ก - ตดิ ตัง้ โครงหลงั คา เครอ่ื งสั่นคอนกรตี การใชน้ - ตดิ ตัง้ วัสดมุ ุงหลงั คา รถเทคอนกรตี ม้ายืน ๕ งานระบบ - งานระบบไฟฟ้า เครือ่ งมอื ชา่ ง ค้ํายนั สาธารณูปโภค - งานระบบประปา & Mobile crane เครอื่ งจัก ดับเพลงิ Tower crane การป้อง ๖ งานสถาปตั ย์ งานผนงั ตู้เชือ่ มไฟฟ้า เครื่องจกั การติดดัง้ ประตู / หน้าต่าง งานสี ไฟฟา้ งานผิวพ้ืน น่งั ร้าน บ งานตดิ ต้งั ระบบความ การป้อง ปลอดภัยฯ การตกจ - งานปรบั พ้ืนที่ เคร่ืองจัก - งานก่อสร้างรว้ั ล้อมรอบ ๗ งานเก็บรายละเอยี ด ไถปรบั กลบหนา้ ดนิ เคร่อื งจัก ปรับพ้นื ที่
นทีส่ อดคล้องกับ ชว่ งเวลาดาํ เนนิ การ ผู้ควบคมุ ผู้รับผดิ ชอบสูงสดุ ายความปลอดภยั ใน วศิ วกรโครงการ1 โฟร์แมนไฟฟา้ การทํางาน วศิ วกรโครงการ2 สถาปนกิ นยกระดับช่ัวคราว วิศวกรโครงการ1 กร นัง่ ร้าน บันได ขาหยง่ั กร/ปัน้ จ่นั โฟร์แมนโครงสร้าง -๑๕- งกนั การตกจากทีส่ ูง โฟร์แมนงานระบบ กร โฟร์แมน บนั ได ขาหยัง่ ม้ายืน งกนั อนั ตรายจาก โฟร์แมน จากที่สูง กร กร
๕. การวิเคราะห์อนั ตรายและแ ลาํ ดบั ท่ี รายการงาน งาน เครือ่ งมอื /เครอื่ ง ๑ งานปรบั เตรยี มพน้ื ท่ี - ไถปรับ กลบหนา้ ดนิ รถแบล็คโฮ ๒ - งานปรับพ้ืนท่ี - สาํ รวจเพื่อการก่อสร้าง รถแทรคเตอ - งานปกั วางผงั บรเิ วณ - ล้อมรว้ั /จัดทาํ เขตกอ่ สร้าง เคร่อื งมอื สําร - กําหนดพ้นื ทก่ี ่อสร้าง - เส้นทางเข้าออก รถบด โครงสรา้ งฐานราก ตอกเสาเข็ม รถบรรทุก - ตอกเสาเขม็ ๖๐๐ ต้น - ขนย้ายเสาเขม็ (เข็มคอนกรีตกลวง - เก็บกองเสาเขม็ เคร่ืองตอกเสา d ๔๕-๒๓) รถบรรทุก - งานขุดดนิ - ขุดดนิ รถแบล็คโฮ - งานตดั หัวเสาเขม็ - ตดั หวั เสาเขม็ เคร่อื งมือตดั คอน - ขนยา้ ย รถแทรคเตอ ต้เู ชอื่ มไฟฟ้า ไฟเบอรต์ ัดเหล ตดั คอนกรีต
แนวทางการปอ้ งกัน งจกั ร อันตราย แนวทางการป้องกนั ฮ การทาํ งานของเครื่องจกั ร ตรวจสอบเครอื่ งจักร อร์ เครอ่ื งจกั รชํารุด PM เครอ่ื งจกั ร รวจ ลกู จ้างขาดความรู้ และจิตสาํ นึก อบรมให้ความรู้กอ่ นอนญุ าต ให้ทํางาน าเขม็ การยกเคลื่อนย้ายเข็ม อบรมใหค้ วามรู้ -๑๖- เครื่องตอกเสาเขม็ ล้ม ขั้นตอนการทาํ งาน ฮ อุปกรณ์เครอื่ งตอกเสาเข็มชาํ รุด กฎระเบียบ รูกลวงของเสาเข็ม PM เครอ่ื งจกั ร นกรีต ลูกจ้างขาดความรู้ และจิตสาํ นึก ตรวจสอบเครอ่ื งจักร อร์ การพงั ทลายของดิน า การทํางานของเครื่องจักร ตรวจสอบเคร่อื งจักร ลก็ , PM เครอ่ื งจกั ร ต อนั ตรายจากการใช้เครอื่ งมอื อบรมให้ความรู้ อนั ตรายจากการใช้เครื่องจักร ไฟฟา้ ดดู ไฟฟ้าช็อต
ลาํ ดับท่ี รายการงาน งาน เคร่ืองมือ/เครื่อง - ฐานราก ตอม่อ - ผกู เหลก็ เครอ่ื งดดั ๓ งานโครงสรา้ ง ค.ส.ล - ตั้งแบบหล่อ เครอื่ งสนั่ คอนก - เทคอนกรีต ๔ งานโครงหลงั คาเหล็ก - ทอดแบบหล่อ รถเทคอนกร - ไถกลบ เครอื่ งมือช่า - เสา คาน ชั้นที่ ๑ - เสาคาน ชนั้ ท่ี ๒ ตเู้ ช่ือมไฟฟ้า - ตง้ั แบบหลอ่ เครอ่ื งดดั - ทอดแบบหลอ่ เครอ่ื งสนั่ คอนก - ตดิ ตง้ั โครงหลังคา รถเทคอนกร - ติดตั้งวสั ดุมุงหลังคา เคร่อื งมอื ชา่ Mobile cran ๕ งานระบบสาธารณูปโภค - งานระบบไฟฟา้ Tower cran ๖ งานสถาปัตย์ - งานระบบประปา & ระบบ ดับเพลิง ตูเ้ ชอ่ื มไฟฟ้า ๗ งานเกบ็ รายละเอียด - งานผนงั ปรับพ้นื ท่ี - การติดดัง้ ประตู / หนา้ ตา่ ง บนั ได ขาหย - งานสี มา้ นง่ั น่งั รา้ น - งานผิวพื้น เครื่องมือช่าง - งานติดตั้งระบบความปลอดภัยฯ เคร่อื งมือชา่ ง - งานตดิ ตั้งเครอื่ งจักร เครอื่ งมือกล เครื่องมอื กล - งานปรับพ้นื ท่ี - งานก่อสร้างร้วั ล้อมรอบ รถแทรคเตอร ไถปรบั กลบหน้าดนิ รถเทคอนกรตี รถบด
งจกั ร อันตราย แนวทางการป้องกัน -๑๗- กรีต อนั ตรายจากการใช้เครอ่ื งมือ อบรมใหค้ วามรู้ รตี คาํ้ ยันพงั ขั้นตอนการทํางาน าง เทคอนกรีตผดิ วิธี กฎระเบียบ อันตรายจากการใช้เครอ่ื งจกั ร PM เครอ่ื งจักร า ตรวจสอบเคร่อื งจักร อนั ตรายจากการใช้เครอ่ื งจกั ร ตรวจสอบเครอ่ื งจักร กรตี ไฟฟ้าดดู ไฟฟา้ ช็อต การใช้ PPE รีต คํ้ายนั พัง ตรวจสอบ าง การใช้น่ังร้าน การป้องกนั การตกจากท่สี ูง ne ne รถป้นั จั่นล้ม อบรมให้ความรู้ / ขน้ั ตอนการทาํ งาน ตกจากทส่ี ูง การป้องกนั การตกจากทส่ี งู า อนั ตรายจาก การใชล้ วดสลงิ กฎระเบยี บ และการยึดเกาะสิ่งของ ตรวจสอบเครื่องจักร / PM เครอ่ื งจกั ร ย่งั อนั ตรายจากไฟฟา้ รั่ว ตรวจสอบเครื่องจักร น ขัน้ ตอนการทํางาน ง การลม้ พัง จากการใช้ การใช้ PPE ง บนั ได ขาหย่ัง มา้ นง่ั นั่งรา้ น การปอ้ งกันการตกจากทส่ี ูง ล สารเคมี ล อนั ตรายขณะมกี ารติดต้งั และ การใช้ PPE / ป้องกนั อัคคีภยั การทดสอบเครื่องจกั ร ตรวจสอบเครอ่ื งจักร ร์ ต อนั ตรายจากการใช้เครือ่ งจักร ตรวจสอบเครอ่ื งจักร / PM เครอื่ งจักร อบรมให้ความรู้ / ข้ันตอนการทํางาน
-๑๘- ๖. ตารางแจกแจง จาํ นวนทรัพยากรบคุ คล ลาํ ดบั ที่ ทรพั ยากรบุคคล จาํ นวน (คน) ๑ ผู้จดั การโครงการ ๑ ๒ วศิ วกรสนาม ๒ ๓ วศิ วกรงานระบบ ๑ ๔ วิศวกรงานไฟฟ้า ๑ ๕ สถาปนกิ ๑ ๖ โฟรแ์ มน ๔ ๗ ชา่ งสาํ รวจ ๒ ๘ ช่างเขียนแบบ ๒ ๙ หวั หนา้ งาน ๔ ๑๐ ช่างปนู ๒ ๑๑ ชา่ งเหลก็ ๒ ๑๒ ชา่ งไม้ ๑ ๑๓ ช่างไฟฟ้า ๒ ๑๔ ช่างเช่ือม ๒ ๑๕ ชา่ งประปา , สขุ าภิบาล ๒ ๑๖ ชา่ งปรับอากาศ ๒ ๑๗ ชา่ งเครอ่ื ง/ช่างเทคนคิ ท่ัวไป ๒ ๑๘ ผคู้ วบคมุ เครือ่ งจกั ร ๓ ๑๙ เจา้ หนา้ ท่ธี รุ การ/จดั ซ้อื /สโตร/์ รปภ. ๖ ๒๐ เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทาํ งานระดับวิชาชีพ ๑ ๒๑ คนงาน ๗๐ รวมลกู จ้าง ๑๑๓
-๑๙- ๗. แบบแผนผงั บริเวณ และพืน้ ที่โดยรอบอาคารทําการก่อสรา้ ง (Site Layout) ประกอบไปดว้ ย ๖.๑. กําหนดเขตก่อสรา้ ง ๖.๒ สํานกั งานควบคมุ โครงการช่ัวคราว ๖.๓ บริเวณทพี่ ักคนงาน(ถ้ามี) ๖.๔ พื้นทพ่ี ักของคนงาน ๖.๕ ห้องน้ําสาํ หรบั คนงาน ( หญิง,ชาย) ๖.๖ พ้นื ท่ีเกบ็ กองวสั ดชุ ั่วคราว (แยกตามประเภท) ๖.๗ ระบบสุขาภิบาลภายในหน่วยงาน ๖.๘ พนื้ ท่ตี ัด ดัด ผกู เหลก็ ๖,๙ ระบบไฟฟา้ ชัว่ คราวในหนว่ ยงาน ๖.๑๐ พ้ืนท่จี อดรถ( รถขนวสั ดุ ,รถยนต์ส่วนตวั ) ๖.๑๑ พ้ืนทจี่ ัดเกบ็ เครือ่ งมอื เคร่อื งจกั ร ๖.๑๒ เสน้ ทางการขนถ่ายวสั ดุ ๖.๑๓ ประตเู ขา้ ออก หนว่ ยงานกอ่ สรา้ ง ๖.๑๔ พน้ื ทท่ี ้ิงขยะชวั่ คราว (ขยะก่อสรา้ ง,ขยะของเหลือใช้) เมื่อทราบถึงข้อมูลแผนงานก่อสร้างในเบ้ืองต้นของโครงการก่อสร้างดังกล่าวแล้ว สามารถนําข้อมูลต่างๆ เหลา่ นั้นมาบริหารและจัดการโดยทาํ การวิเคราะห์งานกอ่ สร้าง เพื่อวางแผนรวมถึงแจกแจงรายการงานก่อสร้างท่ีมี ตามแผนผังการแจกแจงรายการงานก่อสร้าง และนําแต่ละรายการงานที่มีมากําหนดหรือจัดทํารายละเอียด ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติ เคร่ืองมือเคร่ืองจักร อุปกรณ์ในการใช้ รวมถึงจํานวนลูกจ้างหรือบุคลากรท่ีต้องใช้ และการ กําหนดช่วงเวลาการทํางานท่ีเหมาะสม เพื่อใช้ข้อมูลเหล่าน้ีท้ังหมดมาวางแผนและจัดทําแผนงานด้านความ ปลอดภัยในการทํางานสําหรับงานกอ่ สร้างทีส่ อดคล้องกบั แผนงานกอ่ สร้างอย่างเปน็ ระบบ ดังนี้
-๒๐- ๑. จัดทําองคป์ ระกอบ และแผนงานด้านความปลอดภยั ฯ ๑.๑ โครงสรา้ งแสดงกจิ กรรมงานด้านความปลอดภยั ในการทาํ งานสําหรบั งานกอ่ สรา้ ง แผนงานด้านความปลอดภยั ในการทํางานสาํ หรับ งานก่อสร้าง แผนควบคุมดแู ลความ แผนฝกึ อบรมใหค้ วามรู้ แผนรณรงค์สง่ เสรมิ แผนฉกุ เฉนิ กรณเี กดิ แผนการตรวจสอบ ปลอดภยั ในการทํางาน ดา้ นความปลอดภัยใน ความปลอดภัยใน อุบตั ิเหตใุ นการทาํ งาน วิเคราะห์ และ การทาํ งาน การทํางาน รายงานอบุ ัตเิ หตุที่ เกิดขน้ึ พนื้ ที่ท่ดี ําเนินการ อบรมลกู จา้ งใหม่/ Morning แผนฉุกเฉนิ กรณี อบรมท่ัวไป talk อบุ ตั ิเหตุ บคุ คล เฉพาะงาน ๕ ส. งาน / วิธกี ารทาํ งาน เครอ่ื งมือ เครื่องจักร อบรมกฎหมาย และอุปกรณ์ อบรมการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ ๕ ส.
๑.๒ แผนงานความปลอดภัยในการทาํ งานสําหรบั งานก่อสร้าง หน่วย ผู้มีหน้าท่ี แผนความปลอดภัยฯ แผนปฏบิ ัติ ผ้ทู ต่ี อ้ งปฏบิ ัติ ผู้ควบคมุ / เป้าหมา ให้เปน็ ไปตามกฎ ผูม้ ีหน้าที่ การปฏิบ ๑. แผนการควบคมุ ดแู ลความ รบั ผิดชอบ ผู้ตรวจสอบ ปลอดภยั ฯ ระเบียบ/คมู่ อื ๑.๑ ตรวจสอบพน้ื ทก่ี ารทํางาน - ควบคมุ ดูแลการพื้นทคี่ จวบดั คมุทํารายละเอยี ดของ เพือ่ ความปลอดภยั ในหน่วยงานฯ - กตฎรวคจวสาอมบปคลวอาดมภปัยลทกอั่วดิจไภปกยั ใรนกรามร ตามแผนทกุ งคานนด้าน รปภ/ จป.วิชาชีพ ตลอดเวล ๑.๒ ตรวจสอบความปลอดภัยฯ - หวั หน้างาน/ การทํางา เข้า-ออกพ้นื ท่ีเขตกอ่ สรา้ ง/เขคต วามปลอดภยั ฯ ผูค้ วบคมุ งาน ๑.๓ ตรวจสอบความปลอดภยั ฯ อนั ตราย ใช้เครือ่ งมอื /เครอ่ื งจกั ร หัวหน้างาน/ - พ้นื ทค่ี วบคุมอ่ืน ๆ ผคู้ วบคมุ งาน ๑.๔ ตรวจสอบการใช้อปุ กรณ์ ppe ท่กี าํ หนดในหนว่ ยงานก่อสร้าง หวั หน้างาน และการแต่งกายทเี่ หมาะสม ผู้ควบคมุ งาน - กฎความปลอดภยั ในการทํางาน หัวหน้างาน/ - ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงานใหเ้ ป็น ลกู จา้ งผ้มู ีหนา้ ที่ ผูค้ วบคมุ งาน จป.วิชาชีพ ทกุ วัน ไปตามกฎความปลอดภยั / เกีย่ วขอ้ ง ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน จป.วิชาชพี ทกุ วัน - กฎความปลอดภยั เครอ่ื งมือ ลูกจ้างผ้มู ีหนา้ ท่ี /เครอ่ื งจักร เก่ียวขอ้ ง จป.วชิ าชีพ ทุกวนั - ตรวจสอบให้มีการปฏบิ ัติให้ เปน็ ไปตามกฎ/ขน้ั ตอนการใช้ ทุกคน/ ลกู จ้างมหี นา้ ที่ เครอื่ งมอื ฯ เกยี่ วขอ้ ง - กฎความปลอดภัยการใช้ ppe - ตรวจสอบให้มีการแตง่ กาย ทีเ่ หมาะสม / การสวมใส่ ppe ทุกคน/ ลกู จ้างมหี นา้ ท่เี กีย่ วข้อง
ยงานกอ่ สร้างโรงงานผลิตยา โดยบรษิ ัท นครหลวงกอ่ สร้าง จํากัด าย งบประมาณ ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. บตั ิ (บาท) ๕๓ ๕๓ ๕๓ ๕๓ ๕๓ ๕๔ ๕๔ ๕๔ ๕๔ ๕๔ ๕๔ ๕๔ ๕๔ ๕๔ ๕๔ ลา าน -๒๑-
แผนความปลอดภยั ฯ แผนปฏิบตั ิ ผทู้ ต่ี ้องปฏิบตั ิ ผู้มีหน้าที่ เป้าหมา ให้เป็นไปตามกฎ การปฏบิ ผคู้ วบคมุ / ผู้ตรวจสอบ ระเบยี บ/คมู่ ือ ผู้มีหนา้ ท่ี รบั ผิดชอบ ๒. แผนอบรมการทาํ งานให้ - อบรมท่วั ไป ลูกจา้ งใหม่ทุกคน จป.วิชาชพี จป. บรหิ าร ทุกคน ความรูด้ ้านความปลอดภยั ฯ ลกู จา้ งผูม้ หี น้าท่ี จป.วชิ าชพี จป.บริหาร/ ลกู จา้ งท ให้แก่ลกู จา้ งที่มีหนา้ ที่เก่ยี วกับ - การอบรมตามท่กี ฎหมายความ ตามทีก่ ฎหมายกาํ หนด เก่ียวข้อ การทาํ งาน ปลอดภัยฯ กําหนด หวั หน้างาน/ จป.บรหิ าร/ ลกู จา้ งปฏบิ ัติหน้าที่ ผู้ควบคมุ งาน จป.วชิ าชีพ ลูกจ้างท ๒.๑ อบรมลกู จา้ งใหม่ จดั ให้มกี ารการอบรมเฉพาะงานที่ หัวหนา้ งาน/ จป.บริหาร/ เกยี่ วขอ้ ง เฉพาะงานทเี่ กยี่ วข้อง ผู้ควบคมุ งาน จป.วชิ าชพี เกี่ยวข้อ ๒.๒ อบรมลูกจ้างตามกฎหมาย ลกู จ้างปฏิบัตหิ นา้ ที่ ลกู จ้างท ท่เี กีย่ วขอ้ ง เฉพาะงานทเ่ี กย่ี วข้อง เกย่ี วข้อ ๒.๓ การอบรมลกู จา้ งเฉพาะงาน ๒.๔ ลกู จา้ งเฉพาะงาน ท่ตี ้องมี จัดใหม้ ีการอบรมทบทวนเฉพาะ การอบรมทบทวน เรอื่ งทเ่ี ก่ยี วข้อง ๓. แผนรณรงค์สง่ เสรมิ ความ ลกู จ้างทกุ คน หัวหน้างาน/ จป.บรหิ าร/ ทกุ จนั ท ปลอดภัยในการทาํ งาน ลกู จา้ งทุกคน ผู้ควบคมุ งาน/ คปอ. ทกุ ศกุ ร์ วิชาชพี วชิ าชพี / ทุกเสาร ๓.๑ การสนทนาความปลอดภยั หัวหน้างาน/ คปอ. ผูค้ วบคมุ งาน/ ๓.๒ การรณรงค์ การใช้ ppe วิชาชพี คปอ. ๓.๓ กิจกรรม ๕ ส. ลกู จ้างทกุ คน หวั หน้างาน/ ผูค้ วบคมุ งาน/ วิชาชีพ ๔. แผนฉกุ เฉนิ กรณเี กดิ อบุ ัตเิ หตุ แผนฉุกเฉินกรณเี กิดอบุ ตั เิ หตุ ผูท้ ีม่ หี น้าทต่ี ามท่รี ะบไุ วใ้ นแผนฉุกเฉิน ในการทาํ งาน ประจาํ หนว่ ยงานกอ่ สรา้ งฯ ผู้ท่ีมีหน้าทต่ี ามทร่ี ะบุไวใ้ นแผนตรวจสอบ ๕. แผนตรวจสอบ วเิ คราะห์และ แผนตรวจสอบหลังเกดิ อุบตั ิเหตุ รายงานอบุ ัติเหตใุ นการทํางาน
าย งบประมาณ ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. บัติ (บาท) ท่ี -๒๒- อง ที่ อง ท่ี อง ทร์ ร์
-๒๓- ๒. การจดั ทาํ รายละเอยี ดของกจิ กรรม ตามแผนงานด้านความปลอดภัยฯ ๒.๑. แผนการควบคุมดูแลความปลอดภัยในการทํางาน ต้องเป็นแผนท่ีมีความสอดคล้องกับกฎหมาย ความปลอดภยั ในการทาํ งาน การกาํ หนดแผนงานการควบคมุ ดูแลความปลอดภัยในการทํางานได้นน้ั ตอ้ งทาํ ความ เข้าใจพ้ืนฐานถึงสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ ปัจจัยที่อาจก่อให้เกิดอันตรายโดยการประเมินความเส่ียง หรือความ ไม่ปลอดภัยต่างๆ ในหน่วยงานก่อสร้าง โดยพื้นฐานของสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุในงานก่อสร้างมีสาเหตุหลักๆ มา จากการกระทําท่ีไม่ปลอดภัย และหรือสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย หลังจากน้ันจึงกําหนดเป็นกฎ ระเบียบ ขน้ั ตอน หรอื วธิ ีการทาํ งานทีป่ ลอดภยั และเพ่ือให้มาตรการการป้องกันไม่ว่าจะเป็นกฎ ระเบียบ ขั้นตอนหรือวิธีการทํางานที่นํามาใช้สําหรับ ควบคุมดูแลในเร่ืองต่าง ๆ เพ่ือให้ลูกจ้าง บุคคลท่ีเก่ียวข้องถือปฏิบัติอย่างจริงจัง และเกิดผลในทางปฏิบัติและ มีประสิทธิภาพจําเป็นต้องสร้างกลไกเพื่อนํามาใช้สําหรับควบคุม คือการกําหนดให้มีการตรวจความปลอดภัยใน การทํางานขึ้น ซ่งึ การจัดทําแผนการควบคุมควรมกี ารดําเนินการ ดังนี้ ก. การกาํ หนดกฎ ระเบยี บ ขัน้ ตอน หรอื วิธีการทาํ งานที่ปลอดภยั เช่น - กําหนดพนื้ ทที่ ดี่ ําเนนิ การ หรอื หนว่ ยงานก่อสรา้ ง - กาํ หนดวธิ ีการปฏิบตั ิงาน / ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน - กําหนดเครื่องมอื เคร่ืองจกั ร และ อปุ กรณท์ ่มี ใี ชใ้ นงานกอ่ สร้าง - ควบคุมผู้ปฏบิ ตั ิงาน / ลกู จ้าง ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บ ข. การกาํ หนดใหม้ ีการตรวจความปลอดภยั ในการทาํ งาน เช่น - การตรวจปกติ - การตรวจเปน็ ระยะ ๆ ตามชว่ งเวลาที่กาํ หนดไว้ - การตรวจเป็นครัง้ คราวหรือการสุ่มตรวจแบบไมก่ ําหนดเวลาการตรวจ - การตรวจพเิ ศษเฉพาะเร่อื ง โดยการตรวจความปลอดภัยในแต่ละเรื่องต้องกําหนดให้ชัดเจนถึงขอบเขตของเร่ืองที่ให้มีการตรวจ รูปแบบและวิธีการตรวจ ผู้รับผิดชอบในการตรวจ รายงานผลการตรวจต่อใคร ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับลักษณะและความ เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ของหน่วยงานก่อสร้าง และงานก่อสร้างที่มี ในการจัดทําเป็นแผนการควบคุมดูแลความ ปลอดภยั ในการทาํ งาน
-๒๔- ตวั อย่างแผนการควบคมุ ดแู ลความปลอดภยั ในการทาํ งาน แผนการควบคุมดแู ลความปลอดภยั พน้ื ทเ่ี ขตก่อสรา้ ง การขออนญุ าตเข้าพ้นื ทีเ่ ขตกอ่ สร้างของหน่วยงานก่อสรา้ ง วัตถุประสงค์ เพ่ือควบคุมดูแล และตรวจสอบเบื้องต้นสําหรับผู้ที่เข้าออกหน่วยงาน ให้ปฏิบัติให้ เป็นไปตามการควบคุมดูแลความปลอดภัยเขต/พื้นที่การทํางานก่อสร้างโดยทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย ทว่ั ไปของหนว่ ยงานกอ่ สร้างกําหนด ผทู้ ่ตี ้องปฏบิ ตั ติ ามกฎ : ทกุ คน ผูค้ วบคุม/ ตรวจสอบ : รปภ. ผู้อนญุ าต : จป.วชิ าชีพ เครื่องมอื ในการควบคมุ ดูแล : แบบแจง้ การเขา้ พืน้ ท่ีเขตกอ่ สร้างของหน่วยงานก่อสร้าง แนวปฏบิ ตั สิ าํ หรบั ควบคมุ /ตรวจสอบการเข้า-ออก ๑.๑ พนกั งานหรือลูกจ้าง ตอ้ งปฏิบัติ ดังนี้ - ตอ้ งแสดงบตั รทุกครง้ั - ต้องแต่งกายสุภาพ/ไมส่ วมรองเท้าแตะ - ต้องไมม่ ีอาการมนึ เมาสรุ า ๑.๒ ผู้รบั เหมา หรอื ผ้มู าตดิ ตอ่ ต้องปฏบิ ตั ิ ดังนี้ - ตอ้ งแจ้งเพอื่ ขออนุญาตเขา้ ทํางานต่อ จป.วิชาชีพ - ตอ้ งแลก และตดิ บัตรผู้รับเหมา - ต้องแตง่ กายสุภาพ/ไม่สวมรองเทา้ แตะ - ต้องไม่มอี าการมนึ เมาสุรา ๑.๓ รปภ. มีหนา้ ท่ีตอ้ งควบคุมและตรวจสอบ ดงั น้ี - ต้องจดบนั ทกึ ช่ือผูม้ าตดิ ต่อ - ประสานไปยังผ้ปู ระสงค์มาตดิ ต่อ - แลกบตั รผู้มาตดิ ตอ่ - อนญุ าตเฉพาะผู้ทีแ่ ตง่ กายสุภาพ/ไม่สวมรองเท้าแตะ - ไม่อนุญาตให้บคุ คลอาการมึนเมาสรุ าเขา้ พน้ื ท่ี หรอื เขตก่อสร้าง หมายเหต:ุ จดบนั ทกึ หมายเลขทะเบียนรถ วนั /เวลา/ ที่เขา้ ออกพนื้ ที่ก่อสร้างทกุ คัน
-๒๕- ๒.๒ แผนฝึกอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยในการทํางานแก่ลูกจ้าง ถือเป็นกิจกรรมหนึ่งที่มี ความสําคัญและเป็นสิ่งจําเป็นสําหรับการทํางานในทุกสถานประกอบกิจการ เพ่ือเป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ท้ังเป็นการวางรากฐานสร้างจิตสํานึกให้มีความตระหนักตลอดเวลาท่ีมีการปฏิบัติงานให้เกิดความปลอดภัยและเพ่ิม ทักษะในการปฏิบัติงาน ดังนั้นเพื่อให้การวางแผนฝึกอบรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจําเป็นต้องนําข้อมูลเกี่ยวกับ ลูกจ้างทมี่ ใี นหนว่ ยงาน มาพิจารณาโดยต้องคาํ นึงถงึ ประเดน็ ตา่ ง ๆ ต่อไปนี้ - ตรงตามความต้องการ และความจําเปน็ ของหนว่ ยงาน - หลักสตู รการฝกึ อบรมจะต้องเหมาะสม และครอบคลุมส่ิงทีจ่ าํ เป็นทีล่ กู จา้ งต้องทราบ - การตรวจประสทิ ธภิ าพของการฝกึ อบรมเปน็ ระยะ ๆ เนื้อหาในหลักสูตรควรจะต้องคํานึงถึงเรื่องต่างๆ ซ่ึงต้องครอบคลุมและสอดคล้องกับงานก่อสร้าง และ กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งานทเ่ี ก่ยี วข้อง ดงั เชน่ - ความรู้เก่ยี วกับกฎหมายความปลอดภยั ในการทํางานและการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น - ความรพู้ ้ืนฐานเกย่ี วกบั ความปลอดภัยในการทาํ งาน สถานทแ่ี ละสภาพแวดล้อมในสถานที่ทํางาน - ความรู้เกีย่ วกับการใช้อปุ กรณค์ วามปลอดภยั ส่วนบคุ คล - ความร้เู กี่ยวกับงานทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ิ - ความรู้เกี่ยวกบั การใชเ้ ครอื่ งมอื อุปกรณฉ์ กุ เฉนิ ในแตล่ ะพื้นที่ จากข้อมูลทใ่ี ช้ประกอบการจดั ทาํ เนอื้ หาดงั กลา่ วข้างต้น ทําให้สามารถนํามาวางแผนการจัดทําหลักสูตร การฝึกอบรมให้ความรู้แก่ลูกจ้างในกลุ่มต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยการจัดทําแผนการฝึกอบอมให้แก่ลูกจ้าง ให้ไดร้ ับการฝึกอบรม ให้ความรูแ้ กล่ กู จ้างในระดบั ตา่ ง ๆ ซ่ึงอยา่ งน้อยควรครอบคลมุ ดังน้ี - การอบรมลกู จา้ งใหม่ - การอบรมลกู จา้ งตามกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ ง - การอบรมลูกจ้างเฉพาะงาน - การอบรมทบทวนให้แก่ลกู จา้ ง
-๒๖- ตัวอย่างแผนฝึกอบรมใหค้ วามรดู้ ้านความปลอดภัยในการทาํ งานแกล่ ูกจา้ ง โครงการอบรมลกู จ้างใหม่ วัตถุประสงค์ เพอื่ ให้ลกู จา้ งใหมท่ กุ คน มีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ยี วกับความปลอดภัยในการทํางานขน้ั พืน้ ฐานนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับความปลอดภยั ในการทํางาน และสภาพพน้ื ที่โดยรวมในหน่วยงาน กอ่ สรา้ ง อนั ตรายจากการทาํ งาน และการปอ้ งกนั และปฏิบัตติ นใหถ้ ูกตอ้ งและเกิดความปลอดภยั ในการทํางาน กล่มุ เป้าหมาย ลกู จ้างใหม่ทุกคน งบประมาน **** ระยะเวลาปฏบิ ตั ิ ๒ ชม. ผูม้ หี น้าท่ีรับผดิ ชอบ จป.วิชาชีพ ผลลัพธท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ ลกู จ้างใหมท่ ุกคนมีความร้คู วามเข้าใจ และสามารถปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบียบ และข้อปฏิบตั ิอ่ืน ๆ ได้ด้วยความเข้าใจ และมีความตระหนัก วิธกี ารประเมนิ ผลโครงการ โดยใชแ้ บบประเมนิ แนวปฏิบตั สิ ําหรบั การอบรมลูกจ้างใหม่ทุกคน ๑. พนักงาน หรอื ลูกจา้ งใหม่กอ่ นอนุญาตใหท้ าํ งานต้องผ่านการอบรม โดยรับฟังวีดิโอ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เกีย่ วกับความปลอดภยั ในการทํางาน และข้อปฏิบัติอ่ืน ๆ ใช้เวลา ๔๕ นาที ๒. หลังการอบรมทกุ คนตอ้ งทําแบบทดสอบคําถามภายใน ๑๕ นาที ๓. ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จะได้รับบัตรประจําตัวเพื่อแสดงว่าผ่านการอบรมลูกจ้างใหม่แล้ว และต้อง แสดงบัตรกอ่ นเขา้ เขตกอ่ สรา้ งทกุ คร้ัง ๔. ผทู้ ี่ไมผ่ ่านเกณฑ์ ต้องรับฟังข้อปฏบิ ตั ิ จาก จป.วชิ าชีพ เพ่ิมเติม ๒๐ นาที และรับบัตรประจําตัวเพ่ือแสดง ว่าผ่านการอบรม ลูกจ้างใหมแ่ ล้ว
-๒๗- ตัวอย่าง หัวขอ้ การจดั ฝกึ อบรม ลาํ ดับ หวั ข้อการฝึกอบรม กลมุ่ เป้าหมาย ขอบเขต ระยะเวลา ๑ การอบรมลูกจา้ งใหม่ ลกู จา้ งใหม่ทกุ คนทกุ ระดับ ๓ ช่วั โมง เพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั ความปลอดภัยใน ๒ อบรมเฉพาะงาน ลูกจา้ งที่เกี่ยวข้อง การทาํ งานข้นั พน้ื ฐานนโยบาย กฎ ระเบยี บ ข้อบังคับ ๖ ชว่ั โมง เกยี่ วกับความปลอดภัยในการทํางาน และสภาพพ้ืนที่ ๓ กฎหมายความปลอดภัย ผู้บริหาร/นายจ้าง/ ผ้คู มุ งาน / โดยรวมในหนว่ ยงานก่อสรา้ ง อนั ตรายจากการทาํ งานและ ๓ ชั่วโมง การปอ้ งกนั ๓ ชั่วโมง ในการทํางาน คระกรรมการความปลอดภัยฯ เพอ่ื ให้ผู้เข้ารบั การอบรม สามารถเข้าใจหลกั การใช้ ๓ ชว่ั โมง อปุ กรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ตาม ๔ การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น ลูกจา้ งทุกระดับ ลักษณะงานและสว่ นของรา่ งกายท่ีตอ้ งการจะปอ้ งกนั แนวทางในการจงู ใจและโครงการรณรงคใ์ ห้เกิดการใช้ ๕ ๕ส ลกู จ้างทุกคน อปุ กรณฯ์ อยา่ งต่อเน่ือง เพื่อใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการอบรมเขา้ ใจกฎหมายความปลอดภัยใน การทํางานว่ากําหนดในเรือ่ งใดบ้าง เนื้อหาโดยสรปุ มาตรการในการลงโทษผฝู้ า่ ฝนื ไมป่ ฏิบตั ติ ามกฎหมาย เพอ่ื ให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการ ปฐมพยาบาล สามารถประเมินสถานการณ์ของการ บาดเจบ็ ก่อนการช่วยเหลือให้การปฐมพยาบาลอย่างถูก วธิ จี นสมารถลดความรุนแรงทอี่ าจเกิดข้ึนได้ เพือ่ ใหผ้ ู้เขา้ รับการอบรมมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ กจิ กรรม 5ส โดยมีนโยบายของหนว่ ยงานก่อสร้าง สนบั สนนุ กอ่ ใหเ้ กดิ สภาพการทาํ งานท่ีปลอดภัยเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยจนสามารถลดอุบัติเหตุจากการ ทาํ งานได้
-๒๘- ๒.๓ แผนการรณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัยในการทํางาน เพื่อให้ความปลอดภัยในการทํางาน ในหน่วยงานก่อสร้างบรรลุวัตถุประสงค์ การหาแนวทางหรือกําหนดวิธีการเพื่อกระตุ้นจิตสํานึกและลดพฤติกรรม ความเสี่ยงของลูกจ้างทุกระดับ ทุกสถานท่ีในหน่วยงาน จึงต้องเพ่ิมกิจกรรมการรณรงค์หรือประชาสัมพันธ์ ให้ลูกจ้างทุกคนให้ความสําคัญ และปฏิบัติตามกฎระเบียบ และขั้นตอนการทํางาน ซึ่งในแต่ละหน่วยงานก่อสร้าง ควรเลอื กกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการณ์หรือความพร้อมของหน่วยงาน เพ่ือใช้ในการกระตุ้นและสร้าง จิตสํานกึ ดา้ นความปลอดภยั ให้แกล่ ูกจา้ ง เชน่ - การสนทนาความปลอดภยั และการรบั ฟงั ข้อเสนอแนะ - กิจกรรมการรณรงค์ ๕ ส. - การรณรงคด์ ว้ ยโปสเตอรแ์ ละสญั ลกั ษณ์ความปลอดภัย - การรณรงคก์ ารใช้อปุ กรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั - การรณรงคล์ ดอุบตั ิเหตุเป็นศนู ย์ - การเข้าร่วมกจิ การดา้ นความปลอดภยั กบั หน่วยงานภายนอก
-๒๙- ตัวอยา่ งกิจกรรมการรณรงคส์ ่งเสริมความปลอดภัยในการทาํ งาน กิจกรรมการสนทนาความปลอดภัย ( Morning Talk) วตั ถุประสงค์ เพ่ือให้ลูกจ้างใหม่ทุกคน ได้รับทราบข้อมูลใหม่ ๆ และได้มีโอกาสสนทนาความปลอดภัย และ สภาพปัญหาต่าง ๆ รวมท้ังเห็นถึงเจตนาความห่วงใยของผู้บริหาร อีกท้ังทําให้ผู้บริหารได้รับฟังหรือรับทราบปัญหา โดยตรงจากลูกจา้ งในหน่วยงาน เพื่อนาํ ไปปรับปรุงและแก้ไข และหาแนวทางป้องกันได้ กลุม่ เปา้ หมาย ลกู จา้ งทกุ คน งบประมาน ***** แผนการปฏิบตั ิงาน ทกุ เชา้ วนั จนั ทร์ และเช้าวนั เสาร์ ระยะเวลาปฏบิ ัติ ๒๐-๓๐ นาทกี อ่ นเร่ิมการปฏิบัตงิ าน ผมู้ ีหน้าทรี่ ับผดิ ชอบ ผู้บรหิ ารโครงการ / จป.วิชาชีพ ผลลพั ธ์ที่คาดว่าจะได้รบั ลูกจ้างทุกคนได้รับทราบ และเห็นความห่วงใยอย่างจริงใจของผู้บริหารที่มี ต่อผู้ปฏิบัติงานที่เก่ียวข้องทุกคน อันส่งผลให้เกิดความยอมรับและการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และข้อบังคบั ต่าง ๆ อย่างจริงใจ วธิ ีการประเมนิ ผลโครงการ โดยใช้แบบประเมนิ แนวปฏบิ ตั สิ ําหรับกจิ กรรม ( Morning Talk) ๑. ลูกจ้าง และทุกคนที่เก่ียวข้องรวมกัน ณ จุดนัดหมายท่ีกําหนด ตามวัน เวลาท่ีได้แจ้งให้ทราบ อย่างพร้อมเพรยี งกนั ๒. ผู้บริหาร และจป.วิชาชีพ แจ้งเหตุการณ์หรือสถานการณ์ความปลอดภัย และข่าวสารท่ีเก่ียวข้อง กล่าวแสดงเจตนารมณ์ ท่ีแสดงให้เห็นความห่วงใยให้ความสําคัญ และความจริงใจจริงใจในปัญหาต่าง ๆ ต่อลูกจ้างใน ระดับต่าง ๆ และรับฟงั ปญั หาตา่ ง ๆ โดยตรงจากลูกจา้ งทุกระดับ ๓. ลูกจ้าง หรือหัวหน้างานต้องมีส่วนร่วมในการแจ้งข่าว และบอกถึงเร่ืองราวในงานหรือพื้นที่การทํางาน เพอ่ื เสนอความคิดเหน็ โดยตรงตอ่ ผบู้ ริหาร
-๓๐- ๒.๔ แผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุในการทํางาน เป็นแผนงานที่วางไว้เพื่อเป็นแนวทางในการใช้แก้ไข ปัญหากรณีเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉินข้ึนในหน่วยงานก่อสร้าง ซ่ึงงานก่อสร้างเป็นงานที่มีลูกจ้างจํานวนมากและ มีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ ความรู้ด้านความปลอดภัยในการทํางานแตกต่างกัน อีกทั้งมีความหลากหลาย ในการใช้เทคโนโลยี กระบวนการทํางาน การใช้เคร่ืองมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ประเภทกิจการงานก่อสร้างถือ เป็นงานทม่ี ีความเส่ียงสูง ดังนัน้ การจดั ทาํ แผนฉกุ เฉนิ ต้องกําหนดอย่างชัดเจนว่าอุบตั เิ หตกุ รณีใดบา้ งท่ีเกดิ ขน้ึ แล้วต้อง ปฏบิ ัติตามแผนฉกุ เฉนิ ที่จัดทําขึน้ นี้ โดยต้องคํานึงถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ จากอบุ ัติเหตทุ เี่ กิดจากภัยธรรมชาติ ลักษณะของ งานก่อสร้าง รวมท้ังสภาพพื้นที่ท่ีมีการดําเนินการก่อสร้างและสิ่งแวดล้อมโดยรอบ เช่น แผ่นดินไหว น้ําท่วม การเคล่ือนตัว ของผิวหน้าดินขณะมีการขุดเจาะหลุมหรือบ่อ การก่อสร้างในนํ้า โดยนํามาพิจารณาวิเคราะห์ เพ่ือจัดทําเป็น แผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุที่สอดคล้องกับงานท่ีทํา ซ่ึงเป็นปัจจัยท่ีอาจส่งผลกระทบต่อการเกิดอุบัติเหตุจาก การทํางาน ดังนั้นเพ่ือให้แผนฉุกเฉินท่ีจัดทําขึ้นสามารถปฏิบัติและนํามาแก้ไขปัญหา หรือสถานการณ์ที่เกิดข้ึน อนั เน่อื งจากปัจจยั ต่าง ๆ ขา้ งต้น ตอ้ งวางแนวทางการดาํ เนินการขณะเกิดเหตอุ ย่างน้อยควรประกอบด้วยเรอื่ ง ดงั น้ี - มาตรการควบคมุ ดแู ลบคุ คลในกรณเี กิดอบุ ตั เิ หตุ - แผนการอพยพและการวางเสน้ ทางอพยพทปี่ ลอดภัย - ขอความชว่ ยเหลอื จาก หน่วยงานภายนอกที่เกยี่ วขอ้ ง - มาตรการควบคมุ ความปลอดภยั ในทุกพื้นท่ี - การคน้ หา ช่วยชวี ติ ผ้บู าดเจ็บ - การควบคุมวัสดุอันตราย - การเคลือ่ นยา้ ยและป้องกนั เครอ่ื งมือ เครอ่ื งจกั รท่สี าํ คญั - การยกเลิกแผนฉุกเฉิน และการกลับเขา้ ทํางานปกติ ทง้ั นีแ้ ผนฉุกเฉนิ กรณเี กิดอุบตั ิเหตุในการทํางานที่จัดทําข้ึนต้องกําหนดผู้มีหน้าที่รับผิดชอบสูงสุด เพ่ือทํา หน้าท่ีตดั สินใจ อํานวยการ ส่ังการ ควบคมุ สถานการณฉ์ ุกเฉินหรอื บุคคลใดมาหนา้ ทตี่ ่าง ๆ เช่น ควบคุมดูแลบุคคล และอพยพ ค้นหา ช่วยชีวิต เป็นต้น และข้ันตอนต่าง ๆ ของแผนท่ีจัดทําขึ้นให้ชัดเจน และส่ิงสําคัญต้องกําหนดให้ มกี ารฝกึ ซอ้ มตามแผนเปน็ ระยะ ๆ ตามความความจาํ เปน็ และความเหมาะสมของหน่วยงานกอ่ สรา้ งน้ัน ๆ
-๓๑- ตวั อยา่ งแผนฉุกเฉินกรณเี กดิ อบุ ตั ิเหตุในการทํางาน แผนฉกุ เฉนิ กรณีเกิดอุบัตเิ หตุในการทาํ งานก่อสรา้ ง วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ใหล้ ูกจ้างและทุกคนผูม้ หี น้าทเี่ ก่ยี วข้อง ได้รบั ทราบแนวทางการปฏิบัติ กรณี มอี บุ ตั ิเหตเุ กดิ ขึน้ ในหนว่ ยงานก่อสรา้ ง โดยรบั ทราบวิธกี าร และขั้นตอน รวมถึงไดร้ บั การฝึกซ้อม การปฏิบตั กิ รณเี กิดเหตุการณจ์ รงิ กล่มุ เป้าหมาย ลกู จา้ งผู้มหี นา้ ที่เกย่ี วขอ้ ง งบประมาน ***** แผนการปฏิบตั ิงาน : ลกู จา้ งผู้มีหน้าท่ีเก่ยี วข้อง ระยะเวลาปฏบิ ตั ิ เป็นประจาํ ทุกเดือน ผูม้ ีหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบ ผ้บู ริหารโครงการ / จป.วิชาชพี ผลลัพธ์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั ลกู จ้างผมู้ ีหน้าที่เก่ียวขอ้ งตามแผนฉุกเฉิน ได้รบั ทราบข้ันตอน และวธิ ี ปฏบิ ัติ และสามารถปฏิบตั ใิ หเ้ ป็นไปตามแผน และเปา้ หมายของการฝึกอบรมตามแผนฉุกเฉิน แนวปฏบิ ตั สิ ําหรับกรณเี กิดเหตุฉุกเฉนิ ๑. ให้ผูพ้ บเห็นหรือทราบเหตุ แจง้ หวั หนา้ งาน หรือเจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภัยในการทํางานระดบั วิชาชีพโดยทนั ที ๒. จป.วิชาชีพ เป็นผู้ให้สัญญาณเหตุฉุกเฉินซึ่งเป็นท่ีเข้าใจ และแจ้งให้ผู้บริหาร หรือนายจ้างทราบ ทันทีส่ังการเพ่ืออพยพลูกจ้างไปตามเส้นทางที่กําหนดหรือท่ีปลอดภัย (หัวหน้างาน/ผู้ควบคุมงาน) ขอความช่วยเหลือ จากหนว่ ยงานภายนอกทเ่ี กย่ี วข้อง (จป.วชิ าชพี ) ๓. วศิ วกรโครงการ ๒ ดาํ เนินการตามมาตรการป้องกัน หรือเคล่ือนย้ายเคร่ืองมอื เครื่องจกั ร ๔. หัวหน้างาน หรือผู้ควบคุมงาน ดูแลลูกจ้างแต่ละส่วนไปยังพื้นท่ีหรือจุดที่ปลอดภัย แล้วนับจํานวน และแจง้ ยอดจํานวนลูกจา้ ง ตอ่ จป.วชิ าชพี ทันที ๔.๑ กรณมี ีจํานวนลกู จ้างขาดหาย ตอ้ งดาํ เนนิ การคน้ หา ๔.๒ คน้ หาช่วยชีวติ ผูบ้ าดเจ็บ/เสยี ชีวิต และปฐมพยาบาล / นาํ ส่งโรงพยาบาล ๕. จป.วิชาชีพ วิศวกรโครงการ ผู้บริหาร และหน่วยงานภายนอก ต้องทําการตรวจสอบ และวเิ คราะหส์ ถานการณ์ ร่วมกนั เพื่อให้ม่ันใจว่าทกุ อย่างคลี่คลาย ๖. ผู้บริหารสงู สดุ ของหน่วยงานแจง้ ยกเลิกแผนฉุกเฉนิ เพอ่ื ส่ังให้ทกุ คนกลับเขา้ ทํางาน
-๓๒- แผนผงั แสดงการดาํ เนนิ การตามแผนฉกุ เฉินกรณเี กิดอบุ ัติเหตุ แผนฉุกเฉนิ กรณีเกิดอบุ ัตเิ หตุ (ผู้รู้เหน็ เหตุการณ)์ แจง้ เหตุฉกุ เฉิน จป.วิชาชพี มาตรการควบคุมบคุ คล (หัวหน้างาน//ผู้ควบคุมงาน) นายจา้ งหรือผู้บริหารสงู สดุ ในโครงการสั่งการ (ผู้บริหารโครงการ/นายจา้ ง) อพยพและการวางเส้นทางอพยพ แจ้งจํานวนลูกจา้ ง ขอความช่วยเหลอื มาตรการปอ้ งกนั และดูแลเครือ่ งมือ ลกู จา้ ง หนว่ ยงานภายนอก เครื่องจักร (ผคู้ วบคมุ งาน/ จป.หวั หน้างาน) (จป. วิชาชีพ) (วศิ วกรโครงการ ๒) มาตรการควบคมุ ความปลอดภัย เฉพาะท่ี / ทกุ พื้นท่ี ขั้นตอนการค้นหาช่วยชวี ิต เคลอ่ื นย้ายเครอ่ื งมือ เครือ่ งจกั ร (วศิ วกรโครงการ1 รว่ มกับจป.หวั หน้างานงาน) (ถา้ จาํ เป็น) ผู้บาดเจบ็ /เสียชวี ิต (วศิ วกรโครงการ ๒ รว่ มกับ จป. หัวหนา้ งาน /ผู้ควบคุมงาน) ปฐมพยาบาล / นําส่งโรงพยาบาล ตรวจสอบและวเิ คราะห์สถานการณ์ (จป.วชิ าชพี / วิศวกรโครงการ /ผู้บริหาร/หน่วยงานภายนอก) แจ้งยกเลิกแผนฉุกเฉนิ กลับเข้าทาํ งาน (ผ้บู รหิ ารสูงสุด)
-๓๓- ๒.๕ แผนการตรวจสอบ วิเคราะห์ และรายงานอุบัติเหตุในการทํางาน กรณีเกิดอุบัติเหตุขึ้นใน หน่วยงานก่อสร้าง ไม่ว่าอุบัติเหตุนั้นจะทําให้ลูกจ้างเสียชีวิต หรือได้รับบาดเจ็บ เกิดความเสียหายหรือไม่ก็ตาม ผู้ท่จี ะเข้าไปตรวจสอบสถานทเ่ี กิดเหตุต้องเป็นผู้ท่ีได้รับมอบหมายมีหน้าที่รับผิดชอบเท่าน้ัน ในเบื้องต้นต้องทําการ ตรวจสอบความเสียหายและตรวจสอบความปลอดภัยของพ้ืนที่ที่เกิดเหตุเพื่อประเมินสถานการณ์ก่อนเข้าไปสู่ กระบวนการการสอบสวนเพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูลรายละเอียด โดยทําการสอบสวนหาข้อเท็จจริง และวิเคราะห์หา สาเหตุของอุบัติเหตุ โดยผู้ท่ีมีหน้าที่ในการสอบสวนต้องเป็นผู้ที่มีหน้าท่ี เช่น หัวหน้างาน ผู้ควบคุมงาน หรือ เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทํางานร่วมกับวิศวกร หรือร่วมกับผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านจากหน่วยงานภายใน หรือหน่วยงานภายนอกแล้วแต่กรณี เพื่อรวบรวมข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ มากําหนดมาตรการหรือแนวทาง การป้องกัน หรอื แกไ้ ขไม่ให้เกดิ ขึน้ ซ้ําอกี ภายหลังจากที่มีการตรวจสอบเหตุการณ์ของอุบัติเหตุที่เกิดข้ึนแล้ว สิ่งที่ต้องดําเนินการต่อมาคือการนํา ผลของการตรวจสอบ ณ สถานท่ีเกิดอุบัติเหตุ ท่ีมีการสอบสวน หรือการค้นหาทางเทคนิควิธีการเพ่ือหาสาเหตุ โดยนําผลนั้นมาทําการวิเคราะห์หาสาเหตุของอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือนําข้อมูลท่ีได้มาวางแนวทาง หรอื วิธปี อ้ งกนั ไม่ให้เหตกุ ารณน์ นั้ เกิดข้ึนซํ้าอกี ในหน่วยงานก่อสรา้ ง การรายงานอุบัติเหตุ เป็นหน้าท่ีของหัวหน้างานผู้ควบคุมงานหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการ ทํางานโดยตรง แต่ท้ังนี้ต้องมีการกําหนดบทบาทและความชัดเจนของตัวบุคคลในการทําหน้าที่รายงาน และต้อง รายงานให้ใครทราบบ้างข้ึนอยู่กับโครงสร้างการบริหารงานหรือการจัดการองค์กรภายในหน่วยงานก่อสร้างนั้น ๆ ซง่ึ การกาํ หนดรูปแบบและวิธกี ารรายงานอุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นน้ัน ไม่ว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน ลูกจ้าง ได้รับบาดเจ็บ หรือเสียชีวิตหรือไม่ก็ตาม ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รายงานขณะเกิดเหตุ อาจกําหนดให้สามารถแจ้ง โดยตรงต่อนายจ้าง หรือผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบสูงสุดของหน่วยงานก่อสร้างโดยใช้ช่องทางการรายงาน เช่น ทาง โทรศพั ท์ ทางสอื่ อิเล็คทรอนคิ ส์ เป็นตน้ เพอ่ื ใหส้ ามารถตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาเรง่ ด่วน ทันต่อสถานการณ์ หรือหากเป็น การรายงานภายหลังจากเกิดอุบัติเหตุแล้ว อาจสามารถกําหนดให้มีการใช้แบบฟอร์มการ บันทึกอุบัติเหตุ และ คําอธิบายการกรอกแบบฟอร์มพอสังเขป ซ่ึงขึ้นอยู่กับการกําหนดขอบเขตของความร้ายแรง หรือความรุนแรงของ อบุ ตั ิเหตทุ ี่เกดิ ขนึ้ ใหใ้ ช้รูปแบบหรือวธิ ีการใด
ภาคผนวก
-๓๔- ภาคผนวก ๑ กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งานทเี่ กยี่ วขอ้ ง มีดังน้ี เมื่อทราบถึงรายละเอียดและขั้นตอนรวมถึงรายการงานก่อสร้างท่ีจะต้องมีการดําเนินการ ตามแผนผังการจัดทําแผนงานและรายการงานก่อสร้างแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการศึกษาข้อปฏิบัติท่ีเก่ียวกับ กฎหมายความปลอดภัยในการทาํ งานทมี่ อี ยู่ในปัจจบุ นั ท่ีเก่ียวข้องในเร่ืองใดบ้าง เพื่อนําข้อกําหนดหรือข้อกฎหมาย มาปฏิบตั ใิ หส้ อดคลอ้ งกับงานหรอื กจิ กรรมทต่ี อ้ งดาํ เนนิ การให้ถูกตอ้ ง ๑. พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ ๓. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานเกย่ี วกบั เคร่ืองจกั ร ปนั้ จน่ั และหมอ้ นํา้ พ.ศ. ๒๕๕๒ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดรูปภาพการใช้สัญญาณมือในการ สอ่ื สารระหวา่ งผูป้ ฏิบตั ิงานเก่ยี วกบั ป้นั จนั่ พ.ศ. ๒๕๕๓ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการ ปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับป้ันจ่ันผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจ่ัน ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นและการอบรม ทบทวนการทาํ งานเกีย่ วกับปน้ั จ่นั พ.ศ. ๒๕๕๔ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบส่วนประกอบ และอุปกรณ์ของปัน้ จน่ั ๔. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานเกี่ยวกบั งานกอ่ สร้าง พ.ศ. ๒๕๕๑ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทําแผนงานด้านความ ปลอดภยั ในการทาํ งานสาํ หรบั งานกอ่ สรา้ ง พ.ศ. ๒๕๕๒ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการทํางาน เก่ียวกับเครื่องตอกเสาเข็มระบบไอนํ้า ระบบลม ระบบไฮดรอลิค ระบบเคร่ืองยนต์เผาไหม้ภายใน ระบบดีเซลแฮมเมอร์ หรอื ระบบอื่น พ.ศ. ๒๕๕๒ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการก่อสร้างอุโมงค์และ การทํางานในอุโมงค์ พ.ศ. ๒๕๕๓ • ประกาศกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน เรื่อง หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการตรวจสอส่วนประกอบ และอุปกรณ์ของลฟิ ต์ขนส่งวัสดุชัว่ คราว ลฟิ ตโ์ ดยสารชวั่ คราว และลิฟตท์ ใ่ี ช้ท้ังขนส่งวสั ดุและโดยสารชว่ั คราว พ.ศ. ๒๕๕๓
-๓๕- • ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานเร่อื ง หลักเกณฑแ์ ละวิธกี าร การใชเ้ ชือก ลวดสลงิ และรอก พ.ศ. ๒๕๕๓ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานเร่อื ง ชนดิ และประเภทเครื่องจักรและอปุ กรณท์ ใ่ี ช้ ในการทาํ งานกอ่ สร้างทตี่ ้องตรวจรับรองประจําปี ๕. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทาํ งาน • ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยหลักสูตรการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ • ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการข้ึนทะเบียนเป็น หนว่ ยงานฝกึ อบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภยั ในการทํางาน และการดําเนนิ การฝกึ อบรม พ.ศ. ๒๕๔๙ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งกรรมการ ผูแ้ ทนลกู จา้ ง • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานของสถานประกอบกิจการ พ.ศ. ๒๕๔๙ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งช่ือเจ้าหน้าท่ี ความปลอดภยั ในการทํางาน เพื่อข้นึ ทะเบยี น และแจ้งกรณีลกู จ้างประสบอันตราย เจ็บปว่ ย หรอื สูญหาย • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดแบบรายงานผลการดําเนินงานของ เจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภัยในการทํางานระดบั เทคนิคขัน้ สูงและระดับวิชาชพี • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหัวหน้าหน่วยงาน ความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ๖. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อม ในการทํางานเกย่ี วกบั ความรอ้ น แสงสวา่ ง และเสียง พ.ศ. ๒๕๔๙ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการดําเนินการตรวจวัดและ วิเคราะห์สภาวะการทํางานเก่ียวกับระดับความร้อน แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถานประกอบกิจการระยะเวลา และ ประเภทกิจการท่ีตอ้ งดาํ เนนิ การ พ.ศ. ๒๕๕๐ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบคําขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับรองรายงานการ ตรวจวดั และวิเคราะห์สภาวะการทาํ งาน พ.ศ. ๒๕๕๐ • ประกาศกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอื่ ง กาํ หนดสถานทีย่ ื่นคําขอขึ้นทะเบยี นเปน็ ผูร้ บั รอง รายงานการตรวจวดั และวเิ คราะห์สภาวะการทาํ งานในเขตกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๒ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทําโครงการอนุรักษ์การ ได้ยินในสถานประกอบกจิ การ พ.ศ. ๒๕๕๓
-๓๖- ๗. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานเก่ยี วกบั งานประดาน้ํา พ.ศ. ๒๕๔๘ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง กําหนดแบบแจ้งสถานท่ีการปฏิบัติงานเก่ียวกับ การใหล้ กู จ้างทาํ งานประดานํ้า พ.ศ. ๒๕๕๒ ๘. กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง และส่งผลการตรวจ แกพ่ นักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๗ • ประกาศกระทรวงแรงงาน เร่ือง กําหนดสารเคมีอันตรายท่ีให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพ ของลูกจ้าง พ.ศ. ๒๕๕๒ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง กําหนดแบบสมุดสุขภาพประจําตัวของ ลูกจ้างที่ทํางานเก่ียวกับปัจจัยเสี่ยงและแบบแจ้งผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างที่พบความผิดปกติหรือการเจ็บป่วย การให้การรกั ษาพยาบาล และการปอ้ งกนั แกไ้ ข พ.ศ. ๒๕๕๑ ๙. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานในท่ีอับอากาศ พ.ศ. ๒๕๔๗ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง กําหนดมาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยสว่ นบุคคล อปุ กรณช์ ว่ ยเหลอื และชว่ ยชวี ิตสาํ หรับการทํางานในท่ีอบั อากาศ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและหลักสูตรการ ฝึกอบรมความปลอดภัยในการทาํ งานในทอี่ ับอากาศ • ประกาศกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน เรอ่ื ง หลักเกณฑ์ วิธกี ารและหลักสูตรการฝกึ อบรม ความปลอดภยั ในการทํางานในท่อี ับอากาศ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑๐. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบิหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานเก่ียวกับรังสชี นดิ ก่อไอออน พ.ศ. ๒๕๔๗ • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง กําหนดแบบแจ้งจํานวนและปริมาณความ แรงรงั สีของตน้ กําเนิดรังสี และแบบแจง้ การเปลย่ี นแปลงของจํานวนหรือปรมิ าณความแรงรังสี ของต้นกาํ เนดิ รงั สี • ประกาศกรมสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน เร่อื ง กาํ หนดแบบการจดั ทาํ ข้อมลู เกีย่ วกบั ปรมิ าณรงั สสี ะสมท่ลี ูกจ้างได้รับเปน็ ประจาํ ทกุ เดือน • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดแบบแจ้งชื่อและคุณสมบัติของ ผู้รับผิดชอบดําเนินการทางด้านเทคนิคในเร่ืองรังสี และแบบแจ้งช่ือและคุณสมบัติของผู้รับผิดชอบดําเนินการ ทางดา้ นเทคนคิ ในเร่อื งรงั สีแทนผรู้ ับผดิ ชอบเดมิ ซ่งึ พ้นจากหน้าที่ • ประกาศกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน เรื่อง กําหนดแบบเครือ่ งหมายเตอื นภัยในบรเิ วณ รังสี บรเิ วณรังสสี งู บรเิ วณทมี่ กี ารฟงุ้ กระจายของสารกัมมนั ตรงั สี หรือบริเวณหรือหอ้ งใด ๆ ทมี่ ีการเกบ็ รกั ษา สาร กมั มันตรังสี • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดแบบรายงานการปฏิบัติงานของ ผูร้ ับผิดชอบดาํ เนินการทางดา้ นเทคนิคในเรอ่ื งรังสี
-๓๗- • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดเง่ือนไขและวิธีการเก็บรักษา เคลอื่ นยา้ ย ขนสง่ ต้นกาํ เนิดรังสี และการจัดการกากกัมมนั ตรงั สี • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดแบบฉลากท่ีมีเคร่ืองหมาย และ ขอ้ ความเตอื นภัยติดไว้ทภ่ี าชนะที่ใช้บรรจหุ รอื ห่อห้มุ สารกมั มันตรงั สี • ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์วิธีการอบรมความ ปลอดภัยในการทาํ งานในการป้องกนั อนั ตรายจากรังสี
-๓๘- ภาคผนวก ๒ ตัวอยา่ งแบบทดสอบการประเมนิ ลูกจ้างใหม่สาํ หรบั ทุกคน หลกั สูตร. “ โครงการอบรมลกู จ้างใหม่ “ เพศ { ชาย { หญงิ อายุ ........ ปี แผนก ................................................. หัวข้อเร่ือง ........................................................... วนั ที่ .......................... โปรดขีดเครือ่ งหมาย 9 ลงในช่องวา่ งตามความคิดเหน็ ของทา่ น ๑. ท่านมีความคิดเห็นเกีย่ วกับหัวขอ้ เรอ่ื งนี้ ในรายการต่อไปนีอ้ ยา่ งไร รายการ มาก ระดบั ความคดิ เห็น นอ้ ย ใช้ได้ พอใช้ ๑.๑ ความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั เน้อื หาของหัวข้อเรื่องน้กี ่อน การฝกึ อบรม ๑.๒ ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั เน้อื หาของหัวขอ้ เร่ืองนห้ี ลงั การฝกึ อบรม ๑.๓ ประโยชน์ของเนอื้ หาหัวข้อเรื่องน้ี ๑.๔ ความรคู้ วามเข้าใจกับการลงมือปฏบิ ัติ ๒. ท่านคดิ วา่ เวลาของหัวเรอื่ งน้เี หมาะสมหรอื ไม่ { เหมาะสม { ไม่เหมาะสม ควรเปน็ .............ช่ัวโมง ๓. สิง่ ทีท่ ่านประทบั ใจมากทส่ี ุดสาํ หรับหัวข้อเรอ่ื งน้ี ................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ๔. ท่านคิดวา่ ในเน้อื หาของเร่อื งควรมีการเพ่ิมเตมิ เป็นพเิ ศษในเร่ืองใด .................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ๕. ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ .................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
-๓๙- ภาคผนวก ๓ ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ผลการฝึกอบรม แบบประเมนิ ผลการฝกึ อบรม หลกั สตู ร ................................................................. เพศ { ชาย { หญิง อายุ ........ ปี แผนก ................................................. หวั ขอ้ เรอื่ ง ........................................................... วันที่ .......................... โปรดขีดเคร่ืองหมาย 9 ลงในชอ่ งวา่ งตามความคิดเหน็ ของทา่ น ๑. ทา่ นมคี วามคดิ เห็นเกย่ี วกบั หวั ขอ้ เรอื่ งน้ี ในรายการต่อไปน้อี ย่างไร รายการ มาก ระดับความคิดเห็น นอ้ ย ใชไ้ ด้ พอใช้ ๑.๑ ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั เนอ้ื หาของหวั ข้อเรอ่ื งนีก้ ่อน การฝึกอบรม ๑.๒ ความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับเนือ้ หาของหวั ข้อเรอื่ งนหี้ ลงั การฝกึ อบรม ๑.๓ ประโยชน์ของเนือ้ หาหัวข้อเร่ืองนี้ ๑.๔ ความรคู้ วามเขา้ ใจกบั การลงมือปฏบิ ตั ิ ๒. ทา่ นคคิดว่าเวลาของหัวเรอ่ื งนีเ้ หมาะสมหรอื ไม่ { เหมาะสม { ไม่เหมาะสม ควรเป็น ............... ช่วั โมง ๓. ส่งิ ทีท่ า่ นประทบั ใจมากที่สดุ สาํ หรบั หัวข้อเรือ่ งน้ี .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๔. ท่านคิดวา่ ในเนอื้ หาของเร่อื งควรมกี ารเพิม่ เตมิ เป็นพเิ ศษในเรอ่ื งใด .................................................................................................................................................................. ๕. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................
-๔๐- ภาคผนวก ๔ ตัวอย่างแบบการรายงานอบุ ัตเิ หตุ วนั ท่รี ายงาน.................เดือน..............................พ.ศ. ........ เรียน.................................................................. ช่ือ-นามสกุล ผปู้ ระสบอบุ ตั ิเหต.ุ .....................................................วนั ที่ประสบอบุ ตั ิเหตุ..............................เวลา.............. ตาํ แหน่ง...................................................เพศ...............อายุ...............สถานทปี่ ระสบอุบัติเหตุ............................................. หนว่ ยงาน.............................................................................ผ้เู ห็นเหตกุ ารณ.์ ....................................................................... ผลทีไ่ ดร้ บั จากอบุ ตั ิเหตุ : { มผี ู้บาดเจบ็ { ไมม่ ผี บู้ าดเจ็บ { สญู เสียอวัยวะ { เสียชวี ติ { มที รพั ยส์ ินเสยี หาย { ไมม่ ที รัพย์สนิ เสียหาย อบุ ตั เิ หตุเกดิ ข้นึ ไดอ้ ย่างไร (แจ้งเหตกุ ารณ์ท่เี กดิ ขึ้นใหช้ ัดเจนโดย บอกถงึ สง่ิ ทที่ ําใหเ้ กดิ อุบตั ิเหตุ สิ่งทท่ี ําใหบ้ าดเจบ็ และส่วนของร่างกายท่ี ได้รับบาดเจ็บ) ......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................. สาเหตสุ ําคญั ของการเกิดอุบตั ิเหตุ ก. การกระทาํ ท่ไี มป่ ลอดภัยของผปู้ ระสบอุบตั ิเหตุ คือ : .......... ๑. ปฏิบัติงานโดยไมม่ หี น้าท่ี .......... ๘. ใชเ้ ครือ่ งมอื อปุ กรณท์ ่กี าํ หนดให้ .......... ๒. ไม่ให้สญั ญาณหรอื ให้สญั ญาณผดิ .......... ๙. เกบ็ บรรจุ ผสมอยา่ งไมป่ ลอดภยั .......... ๓. ปฏิบตั งิ านดว้ ยความรวดเรว็ ท่ีไมป่ ลอดภยั .......... ๑๐. เกบ็ บรรจุ ผสมอย่างไม่ปลอดภยั .......... ๔. ดัดแปลงแกไ้ ขอุปกรณ์ความปลอดภยั .......... ๑๑. ปรับ ทําความสะอาด หลอ่ ลืน่ เครือ่ งจกั รเคลื่อนไหว หรอื กระแสไฟฟ้า ความดันหรอื มสี ารเคมี .......... ๑๒. ปฏิบตั ิงานผดิ ขัน้ ตอนหรอื ทํางานผดิ วธิ ี .......... ๕. ใช้อปุ กรณ์หรือเครอื่ งมอื ทชี่ ํารดุ .......... ๑๓. หยอกลอ้ หรือเลน่ ขณะปฏิบตั งิ านไม่ถกู ตอ้ ง .......... ๖. ใช้อุปกรณ์หรอื วัสดอุ ยา่ งไมป่ ลอดภยั หรอื .......... ๑๔. อน่ื ๆ .......... ๗. ไมใ่ ช้อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายสว่ นบุคคล ข. สภาพการณท์ ่ไี มป่ ลอดภัย อันเป็นเหตใุ หเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุ คอื : .......... ๑. อุปกรณ์ เครื่องจักร เครอื่ งมอื ชาํ รดุ .......... ๔. ขาดเคร่ืองกําบัง หรอื เครือ่ งกําบังไม่เหมาะสม .......... ๒. สภาพส่งิ แวดลอ้ มไมป่ ลอดภัย เช่น เสียงดงั .......... ๕. เกดิ จากสภาพภายนอกท่ีควบคมุ ไมไ่ ด้ .......... ๓. จดั เก็บวัสดไุ ม่เรยี บรอ้ ย .......... ๖. อนื่ ๆ ข้อเสนอแนะแนวทางปอ้ งกนั ................................................................................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอื่ ...................................................... () หวั หนา้ งาน / ผ้คู มุ งาน/จป.วิชาชีพ
Search