Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore maslow

maslow

Published by กุลปรียาพร ภาคพรม, 2022-03-03 16:40:43

Description: วิทยาการคำนวณ

Search

Read the Text Version

ทฤษฎีมาสโลว์ (Maslow’s Hierarchy of Needs) ทฤษฎีมาสโลว์ หรือ ลาดบั ข้ันความต้องการ (Maslow’s Hierarchy of Needs) เป็นทฤษฎีจิตวทิ ยา ท่อี บั ราฮมั เอช. มาสโลว์ คิดขึ้นเมอ่ื ปี ค.ศ. 1943 ในเอกสารชอ่ื “A Theory of Human Motivation” Maslow ระบุว่า มนษุ ย์มคี วามต้องการทัง้ หมด 5 ขัน้ ดว้ ยกัน ความตอ้ งการท้งั 5 ขั้น มเี รียงลาดบั จากขน้ั ตา่ สดุ ไปหาสูงสุด มนษุ ย์จะมีความต้องการในข้ันตา่ สุดก่อน เมื่อไดร้ ับการตอบสนองจนพอใจแล้วกจ็ ะเกิดความ ต้องการขั้นสูงต่อไป ความตอ้ งการของบุคคลจะเกดิ ข้ึน 5 ขั้นเป็นลาดบั ดังนี้ 1. ความตอ้ งการพื้นฐานทางดา้ นรา่ งกาย (Physiological Needs) เป็นความตอ้ งการลาดับต่าสุดและ เป็นพื้นฐานของชวี ติ ได้แก่ ความต้องการเพ่ือตอบสนองความหิว ความกระหาย ความต้องการเพือ่ ความอยรู่ อด ของชีวติ เรยี กง่ายๆ ก็คอื ปจั จยั ส่ี อาหาร เครือ่ งนุ่งห่ม ยารักษาโรค ที่พกั อาศยั รวมถงึ สง่ิ ที่ทาให้การดารงชวี ติ สะดวกสบาย

2. ความตอ้ งการความมัน่ คงปลอดภยั (Safety Needs) เปน็ ความต้องการท่ีจะเกิดข้ึนหลงั จากท่คี วาม ตอ้ งการทางรา่ งกายไดร้ ับการตอบสนองจนเป็นที่ พอใจแล้ว ความต้องการขน้ั น้ีถึงจะเกิดข้ึน ไดแ้ ก่ ความต้องการ ความปลอดภยั มีทย่ี ึดเหนย่ี วทางจติ ใจ ปราศจากความกลัว การสูญเสียและภัยอนั ตราย เชน่ สภาพสิ่งแวดล้อมบ้าน ปลอดภัย การมงี านที่ มนั่ คง การมเี งินเก็บออม ความต้องการความมัน่ คงปลอดภัย รวมถงึ ความม่ันคงปลอดภัย สว่ นบุคคล สขุ ภาพและความเป็นอยู่ ระบบรับประกนั -ชว่ ยเหลือ ในกรณีของอุบตั เิ หตุ/ความเจบ็ ป่วย 3. ความต้องการความรักและสังคม (Belonging and Love Needs) เม่อื มคี วามปลอดภยั ในชวี ติ และมัน่ คงในการงานแลว้ คนเราจะต้องการความรัก ความสัมพันธก์ บั ผ้อู ่ืน มีความต้องการเป็นเจ้าของและมเี จ้าของ ความรกั ในรูปแบบตา่ งกนั เช่น ความรักระหว่าง ค่รู กั พอ่ แม่ ลกู เพื่อน สามี ภรรยา ได้รบั การยอมรับเป็นสมาชกิ ในกล่มุ ใดกลุ่มหนึ่งหรอื หลายกลุ่ม

4. ความต้องการการไดร้ ับการยกย่องนับถือในตนเอง (Esteem Needs) เม่อื ความต้องการความรักและการยอมรบั ได้รบั การตอบสนองแลว้ คนเราจะตอ้ งการสร้าง สถานภาพของตัวเองใหส้ งู ขึ้น เดน่ ข้ึน มคี วามภูมิใจและสรา้ งความนับถือตนเอง ชืน่ ชมในความสาเร็จ ของงานทที่ า ความรสู้ ึกมน่ั ใจในตนเองและมีเกยี รติ ความต้องการเหล่านี้ เช่น ยศ ตาแหน่ง ระดับ เงนิ เดอื นท่ีสูง งานท่ีทา้ ทาย ได้รบั การยกย่องจากผู้อื่น มสี ่วนร่วมในการตดั สนิ ใจในงาน โอกาสแหง่ ความก้าวหน้าในงานอาชีพ ฯลฯ 5. ความต้องการพฒั นาศกั ยภาพของตน (Self-actualization) เป็นความต้องการขน้ั สงู สดุ ของมนุษย์และความต้องการนย้ี ากต่อการบอกไดว้ ่าคอื อะไร เราเพียง สามารถกล่าวไดว้ ่า ความตอ้ งการพัฒนาศักยภาพของตนเป็นความตอ้ งการท่ีมนษุ ยต์ ้องการจะเปน็ ต้องการท่จี ะได้รบั ผลสาเรจ็ ในเป้าหมายชวี ิตของตนเอง และต้องการความสมบรู ณ์ของชีวิต

Thailand 4.0 “Thailand 4.0” เปน็ วสิ ยั ทศั นเ์ ชิงนโยบายการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย หรือ โมเดล พฒั นาเศรษฐกจิ ของรัฐบาลภายใตก้ ารนาของพลเอกประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรแี ละ หัวหน้าคณะรกั ษาความ สงบแห่งชาต(ิ คสช.) ทีเ่ ข้ามาบริหารประเทศบนวสิ ัยทัศน์ท่ี ว่า “มน่ั คง ม่ังคงั่ และยง่ั ยืน” ที่มภี ารกจิ สาคัญในการ ขบั เคลื่อนปฏริ ูปประเทศดา้ นตา่ ง ๆ เพ่ือปรบั แก้ จดั ระบบ ปรบั ทศิ ทาง และสร้างหนทางพัฒนาประเทศใหเ้ จรญิ สามารถรบั มือกับโอกาสและภยั คุกคามแบบใหม่ๆ ที่ เปลี่ยนแปลงอย่างเรว็ รนุ แรงในศตวรรษที่ 21 ได้ “Thailand 4.0” เปน็ วิสัยทศั นเ์ ชงิ นโยบาย ทีเ่ ปล่ียนเศรษฐกจิ แบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจทขี่ ับเคล่ือน ด้วย นวตั กรรมเศรษฐกจิ ที่ขบั เคล่ือนดว้ ยนวตั กรรม ไดแ้ ก่ 1.เปลย่ี นจากการผลักดันสินค้าโภคภณั ฑ์ ไปสสู่ นิ คา้ เชงิ นวตั กรรม 2.เปลยี่ นจากการขับเคลอื่ นประเทศดว้ ยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขบั เคลอ่ื น ด้วยเทคโนโลยีและความคดิ สรา้ งสรรค์ 3 .เปลย่ี นจากการเนน้ ภาคการผลติ สนิ ค้าไปสกู่ ารเน้น ภาค บรกิ ารมากข้ึน “Thailand 4.0” เปน็ การเปลยี่ นท้งั ระบบใน 4 องค์ประกอบสาคัญ คือ 1. เปลีย่ นจากการเกษตร แบบดั้งเดิม (Traditional Farming) เป็นการเกษตรสมยั ใหมท่ ่เี น้นการบริหารจัดการและ เทคโนโลยี (Smart Farming) เกษตรกรแบบเปน็ ผปู้ ระกอบการ (Entrepreneur) 2. เปลยี่ นจาก Traditional SMEs ที่รฐั ตอ้ งให้ความช่วยเหลือตลอดเวลา ไปสกู่ ารเปน็ Smart Enterprises และ Startups ท่มี ี ศกั ยภาพสูง 3. เปลยี่ นจาก Traditional Services ซ่ึงมีการสร้างมูลคา่ ค่อนข้างตา่ ไปสู่ High Value Services 4. เปลีย่ นจากแรงงานทกั ษะต่าไปสแู่ รงงานท่ีมคี วามรู้ ความเช่ียวชาญ และ ทักษะสูง

“Thailand 4.0” คือ ประเทศไทยในอดตี ทีผ่ ่านมามีการพัฒนาดา้ นเศรษฐกิจเป็นไปอย่างตอ่ เน่ือง ต้ังแต่ ยคุ แรก ยคุ แรก เรียกว่า “Thailand 1.0” เนน้ การเกษตรเปน็ หลัก เช่น ผลิตและขาย พืชไร่ พืชสวน หมู หมา ไก่ เปน็ ต้น ยคุ สอง เรียกวา่ “Thailand 2.0” เน้นอุตสาหกรรมแตเ่ ป็นอตุ สาหกรรมเบา เชน่ การผลิตและขาย รองเท้า เครอื่ งหนงั เครือ่ งด่ืม เครอ่ื งประดบั เครื่องเขียน กระเป๋า เคร่ืองนงุ่ ห่ม เปน็ ต้น ปี2559 จัดอยูใ่ นยคุ ท่ีสาม เรียกว่า “Thailand 3.0” เปน็ อุตสาหกรรมหนักและการสง่ ออก เชน่ การ ผลติ และขาย สง่ ออกเหล็กกล้า รถยนต์ กลน่ั นามนั แยกก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมนต์ เป็นต้น แต่ ประเทศไทยในยคุ ท่ี 1.0 2.0 และ 3.0 รายไดป้ ระเทศยังอยู่ในระดับปานกลาง จงึ ต้องรีบพัฒนา เศรษฐกจิ สร้างประเทศ จึงเปน็ เหตุให้นาไปสูย่ ุคทส่ี ี ให้รหัสใหม่วา่ “Thailand 4.0” ใหเ้ ป็นเศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) มรี ายได้สูง โดยวางเป้าหมายใหเ้ กิดภายใน 5-6 ปีนี้ คล้าย ๆ กบั การวางภาพอนาคตทาง เศรษฐกิจที่ ชดั เจนของประเทศท่ีพัฒนา เช่น สหรัฐอเมริกา “A Nation of Makers” องั กฤษ “Design of Innovation” อินเดีย “Made in India” หรอื ประเทศเกาหลีใต้ทีว่ างโมเดลเศรษฐกิจ ในช่อื “Creative Economy”

นวัตกรรม “นวัตกรรม” หมายถึง ความคดิ การปฏิบตั ิ หรือสิ่งประดิษฐใ์ หม่ ๆ ทย่ี ังไมเ่ คยมีใชม้ าก่อน หรือ เป็นการ พัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมท่มี ีอยู่แลว้ ใหท้ ันสมัยและใช้ได้ผลดีย่ิงขึ้น เม่อื นานวตั กรรมมา ใชจ้ ะช่วยให้การ ทางานนั้นได้ผลดมี ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดมิ ทงั้ ยงั ช่วยประหยัดเวลา และแรงงานได้ด้วย การแบ่งประเภทของนวตั กรรม สามารถแบง่ ไดห้ ลายแบบ ขึ้นอย่กู บั ขอบเขตและลักษณะของการ แบ่ง แต่ โดยรวมแล้ว สามารถแบง่ ง่ายๆ ได้ 4 ประเภท ดงั ต่อไปนี้ 1. นวตั กรรมผลติ ภณั ฑ์ (Product Innovation) การปรับปรงุ สง่ิ ประดษิ ฐ์ หรอื ผลิตภณั ฑท์ ม่ี ีอยู่แล้วใหพ้ ฒั นากา้ วหน้าย่ิงขน้ึ โดยมีท้งั แบบที่จับตอ้ ง ได้ และ จบั ตอ้ งไมไ่ ด้ นอกจากช่วยสรา้ งความสะดวกสบายแล้ว ยงั สามารถเพ่ิมมลู ค่าเชิงพาณิชย์ ในตลาดได้ เช่น รถยนต์ ขับเคลอ่ื นอัตโนมตั ิ, จอโทรทศั นแ์ บบ HDTV, หฟู งั ไร้สาย เป็นต้น 2. นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation) การพฒั นาแนวทาง วิธผี ลติ สนิ ค้าและบริการ ใหม้ รี ูปแบบใหม่ทท่ี นั สมยั มากขน้ึ อาจจะเปน็ การ ลดข้ันตอน กระบวนการผลิตให้รวดเรว็ มากขึน้ เพ่ือประหยัดตน้ ทนุ และเวลา เช่น การยา้ ยฐาน การผลิตสินคา้ ไปยังแหลง่ ใหม่ เปน็ ต้น

3. นวตั กรรมดา้ นการวางตาแหน่งของสนิ คา้ (Position Innovation) การเปล่ียนแปลงรูปแบบของนวัตกรรม สนิ คา้ และบริการ จากแบบเดมิ ๆ ทคี่ นส่วนใหญ่รูจ้ ักหรือ คุ้นเคยอยู่ แล้ว ไปสกู่ ารรับรใู้ หม่ท่ีทนั สมัยมากขน้ึ เพ่ือนาเสนอเทคโนโลยีและภาพลักษณใ์ หมๆ่ สู่ ผู้บริโภค เชน่ เครือ่ งสาอาง ทป่ี รับปรงุ แบรนด์ โดยใช้เทคโนโลยปี รบั ปรุงสตู รใหม่ ทาให้ครองใจ กลุ่มลกู คา้ วัยร่นุ มากขึ้น เป็นต้น 4. นวตั กรรมด้านกระบวนทศั น์ (Paradigm Innovation) การสร้างนวตั กรรมทสี่ ามารถเปล่ียนแปลงความคิดเดิมๆ ได้ เพื่อนาไปสู่การสร้างกรอบความคิด ใหมๆ่ เชน่ จากเดิมเชื่อวา่ สมารท์ โฟน 5G จะต้องมีราคาท่ีสงู แต่เทคโนโลยีก็ทาใหส้ มาร์ทโฟน เหล่านรี้ าคาถกู ลง และสามารถ เข้าถึงคนหลายระดบั ไดม้ ากข้ึน เป็นตน้

องค์ประกอบของนวตั กรรม ประกอบดว้ ย 1. ความใหม่ ใหม่ในทน่ี ้ีคือ สง่ิ ใหมท่ ่ีไม่เคยมีผู้ใดทามาก่อน เคยทามาแล้วในอดตึ แตน่ ามารอ้ื ฟ้นื ใหม่ หรอื เปน็ ส่งิ ใหม่ ทีม่ กี ารพฒั นามาจากของเก่าทม่ี ีอย่เู ดิม 2. ใช้ความรหู้ รือความคดิ สร้างสรรคใ์ นการพัฒนา นวัตกรรมต้องเกดิ จากการใช้ความรู้และ ความคดิ สร้างสรรค์ในการสร้างและพัฒนา ไม่ใชเ่ กิดจากการลอกเลยี นแบบ หรอื การทาซ้า 3. มปี ระโยชน์ สามารถนาไปพฒั นาหรอื แก้ปัญหาในการดาเนนิ งานได้ ถ้าในทางธรุ กิจต้องมี ประโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ สร้างมลู คา่ เพ่ิม 4. นวัตกรรมมโี อกาสในการพัฒนาต่อได้ ชนั้ ตอนของนวัตกรรม 1.การคิดคน้ (Invention) เป็นการยกร่างนวัตกรรมประกอบด้วยการศึกษาเอกสารทฤษฎที ี่ เกีย่ วกับ นวัตกรรม การกาหนดโครงสร้างรูปแบบของนวตั กรรม 2.การพัฒนา (Development) เปน็ ขั้นตอนการลงมือสร้างนวตั กรรมตามทีย่ กร่างไว้ การ ตรวจสอบ คุณภาพของนวัตกรรมและการปรับปรงุ แก้ไข 3.ข้ันนาไปใช้จริง (Implement) เป็นขน้ั ที่มีความแตกต่างจากทเี่ คยปฏิบัตเิ ดมิ มา ในขั้นตอนน้ี รวมถึง ขั้นการทดลองใช้นวัตกรรม และการประเมินผลการใช้นวตั กรรม 4.ข้ันเผยแพร่ (Promotion) เปน็ ข้นั ของการเผยแพร่ การนาเสนอ หรอื การจาหน่าย นางสาวอรปริญา ยงกุล ม.5/5 เลขท่ี15


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook