คำนำ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรนี ุช เทยี นทอง) กาหนดนโยบายการจัด การศึกษาและภารกิจเร่งด่วน เพ่ือขับเคลื่อนการจัดการศึกษาที่มุ่งพัฒนาทักษะทางอาชีพส่งเสริมการจัด การศึกษาที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชีพ และรายได้รวมทั้งเพิ่มขีด ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ โดยมอบหมายให้สานกั งาน กศน. ดาเนินการส่งเสริมการจดั การศึกษา พัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทา re-skill และ up-skill ให้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น จึงจัดทา หลักสูตรเพ่ือพัฒนาอาชีพ re-skill และ up-skill ซึ่งในเบ้ืองต้นดาเนินการขับเคลื่อนใน 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรมพานิชยกรรมและการบริการ ความคิดสร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง รวมจานวนทั้งสิ้น 5 หลักสูตร เพ่ือให้สถานศึกษาหรือผู้จัดกิจกรรมนาไปใช้ในการขับเคล่ือนการจัดการศึกษา ตามนโยบายดังกล่าว หลักสูตรกลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์เล่มนี้ มีจานวน 1 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรการ ทอผ้าไหมมัดหมี่ลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ โดยจัดขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน หรือผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง นาไปศึกษาและประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ดังน้ันจึงต้องใช้หลักสูตรเล่มนี้ ควบคู่กับเอกสารประกอบหลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ re-skill และ up-skill ที่สอดคล้องกับ บริบทเชิงพ้ืนที่ 1 กศน.ตาบล 1 หลักสูตรอาชีพ ซึ่งมีรายละเอียดของหลักสูตรที่จะทาให้ผู้สอนหรือผู้เรียน เข้าใจถึงความเป็นมา หลักการ จุดมุ่งหมาย โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล การจบหลักสูตร และการเทียบโอน สาหรับเอกสารหลักสูตรเล่มนี้ได้จดั ทาเน้อื หาเก่ียวกับแผนการ จดั กระบวนการเรยี นรู้ จัดทาสอื่ การเรยี นรู้ตามแผนซง่ึ มีทง้ั เอกสารใบความรู้ คลปิ เสรมิ การเรยี นรู้ และใบงาน ท่ีผู้สอนหรือผู้เรียนเม่ือได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติตามแผน จะสามารถพัฒนาตนเองให้มีความรู้ และทักษะบรรลุ ตามจุดมงุ่ หมายของหลักสูตร หลกั สตู รอาชีพทพ่ี ัฒนาข้นึ นี้ได้ปรบั ปรุงจากหลักสูตรอาชีพท่ีสถานศกึ ษาในแต่ละ กศน.ตาบล ทุกอาเภอในจังหวัดขอนแก่น พัฒนาเป็นต้นร่างมาก่อนแล้ว สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น พัฒนาเน้ือหารสาระให้ครบวงจร และกาหนดระยะเวลาในการเรียนให้เหมาะสม โดยได้รับความอนุเคราะห์ จากผู้ท่ีมีความเชี่ยวชาญท้ังด้านเนื้อหาสาระ ทักษะ และประกอบอาชีพด้านนี้โดยตรง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการ พัฒนาหลักสูตร ด้านส่ือการสอน ดา้ นวัดและประเมนิ ผล และผ้ทู ี่เกีย่ วขอ้ ง มาร่วมพจิ ารณาและตรวจสอบความ ถูกต้อง จึงทาให้การดาเนินการจัดทาหลักสูตร ในคร้ังนี้เสร็จส้ินไปด้วยดี กศน.อาเภอมัญจาคีรี ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี กศน.อาเภอมัญจาคีรี
สำรบญั หน้ำ ก คานา ข สารบญั 1 ผงั นโนทัศน์อาชีพ 2 หลักสูตร การทอผา้ ไหมมัดหมลี่ ายขอเจา้ ฟ้าสิรวิ ณั ณวรีฯ 2 ประวัติความเปน็ มา 3 หลักการ 4 จุดมุ่งหมาย 4 กล่มุ เป้าหมาย 4 ระยะเวลา 4 โครงสรา้ ง เนื้อหาหลกั สตู ร 6 รายละเอียดโครงสร้างหลกั สตู รการทอผา้ ไหมมัดหมล่ี ายขอเจ้าฟ้าสิรวิ ัณณวรฯี กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 10 สอื่ การเรียนรู้ 10 การวดั และประเมนิ ผล 10 การจบหลกั สูตร 10 การเทยี บโอน 10 บรรณานกุ รม 12 คณะผู้จดั ทา 13
ผงั มโนทศั หลักสตู ร กำรทอผำ้ ไหมมัดหม่ลี ำยขอเจ้ำฟำ้ สิริวัณณวรีฯ 1. ควำมรู้พ้ืนฐำนกำรทอผ้ำไหมมดั หม่ี จานวน 2 ชัว่ โมง --ประวตั ิ ความสาคญั ความหมาย และประโยชน์ ผำ้ ไหมม ของผ้ามัดหม่ี (30 นาท)ี ลำยขอฟ้ำสิรวิ --ความเป็นมาของผ้ามัดหม่ีลายขอ เจ้าฟา้ สริ วิ ัณณวรฯี (30 นาท)ี (50 ชัว่ โ --วสั ดุอุปกรณก์ ารทอผ้าไหมมัดหม่ี (15 นาท)ี --ความปลอดภัยในอาชีพทอผ้าไหม (15 นาท)ี --การดแู ลรักษาผา้ ไหม (15 นาที) --คุณธรรมในการประกอบอาชพี ทอผ้าไหม (15 นาท)ี 3. กำรจดั กำรตลำดและกำรบรรจภุ ณั ฑ์ จานวน 4 ชว่ั โมง --ความต้องการของตลาดและปจั จัยหนุน (20 นาท)ี --การตลาดชมุ ชน (40 นาท)ี --การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ (1 ชม.) --มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน (1 ชม.) --การตลาดออนไลน์ (1 ชม.)
ศนอ์ ำชพี 1 กศน.ตำบลหนองแปน อำเภอมัญจำครี ี จงั หวดั ขอนแกน่ 2. ทักษะกำรประกอบอำชีพกำรทอผ้ำไหมมดั หม่ี ลำยขอเจำ้ ฟ้ำสริ วิ ณั ณวรฯี จานวน 40 ชว่ั โมง มัดหม่ี --การถอดหมี่ลายขอเจา้ ฟ้าสริ ิวัณณวรีฯ (3 ชั่วโมง) วัณณวรฯี โมง) --การคน้ หมี่ (2 ช่วั โมง) --การมดั เพ่ือเอาลวดลาย (3 ช่ัวโมง) --การย้อมหวั หม่ี (2 ช่ัวโมง) --การปน่ั หลอด (2 ชัว่ โมง) --ทอผ้าไหมมดั หมีล่ ายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรฯี (28 ชว่ั โมง) 4. กำรบรหิ ำรหนี้สินและบัญชีเบ้อื งตน้ จานวน 4 ชวั่ โมง --การคานวณต้นทุน กาไร (1.30 ชม.) --แหลง่ เงินทุนและการกู้ยืม (30 นาท)ี --การบรหิ ารหน้ีสนิ และการบรหิ ารสญั ญา (30 นาท)ี --การจัดทาบัญชคี รัวเรือน (1.30 ชม.)
2 หลกั สูตร กำรทอผำ้ ไหมมัดหมล่ี ำยขอเจำ้ ฟ้ำสิริวัณณวรีฯ แบบ กศ.ตน.๑๕ จำนวน 50 ชวั่ โมง กล่มุ อำชีพ ควำมคดิ สร้ำงสรรค์ กศน.ตำบลหนองแปน อำเภอมญั จำครี ี จังหวดั ขอนแก่น ประวัติควำมเปน็ มำ การจัดการศึกษาอาชพี ในปจั จุบันมคี วามสาคญั มาก เพราะจะเปน็ การพัฒนาประชากรของประเทศ ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความ เข้มแข็งให้ แก่เศรษฐกิจชุมชน การยกระดับการจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพ และขีดความสามารถให้ ประชาชนได้มีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ และการมีงานทาอย่างมีคุณภาพ ท่ัวถึงและเท่าเทียมกนั ประชาชนมีรายได้ มั่นคง ม่ังคั่ง และมีงานทาอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากล ซ่ึงจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ ประชาชน และประเทศชาติ ในประเทศไทยมีประวัติการทอผ้าใชก้ ันในหมู่บ้าน และในเมืองโดยทั่วไปมาตั้งแตโ่ บราณกาล แต่การ ทอผ้าด้วยมือตามแบบดั้งเดิมน้ัน ก็เกือบจะสูญหายไปโดยสิ้นเชิง หากไม่ได้มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและพัฒนาได้ ทันกาล ท้ังน้ีเพราะประเทศไทยเป็นประเทศเปิด มีการค้าขายกับต่างประเทศมาเป็นเวลานาน สามารถซ้ือ ผ้านอกที่สวยงามแปลกใหม่ และราคาถูกได้ง่าย มาต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การทอผ้าเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งท่ีสืบทอดกันมา นอกจากคุณค่าทางศิลปะแล้วยังเป็นการแสดงถึงแบบแผน ความเป็นอยู่ในสังคม กรรมวิธีและเทคนคิ ในการทอผ้าให้เกิดลวดลายต่างๆ จึงเป็นเทคนิคและความสามารถ ของแตล่ ะคน แต่ละกล่มุ ผา้ ไหมมดั หมี่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นท่สี ่ังสมกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษ ซงึ่ เป็นการรักษา วัฒนธรรมทางหัตถกรรมท่ีสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นผูกพันกับการดารงวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณีของคนไทยใน ชนบทโดยท่ัวไป ในอดีตเมื่อว่างจากการทานาหรือประกอบอาชีพอื่น หญิงไทยในชนบทมักจะใช้เวลาว่างใน การทอผ้าเพ่ือใช้ในครัวเรือน ซึ่งเป็นปัจจัยสี่สาหรับเป็นเคร่ืองนุ่งห่ม เคร่ืองแต่งกาย สวมใส่ในงานประเพณี และใช้เป็นเคร่ืองขอขมาญาติผู้ใหญ่ฝ่ายชายในงานแต่งงาน รวมถึงเป็นเคร่ืองชี้วัดคุณสมบัติกุลสตรีหรอื แม่ศรี เรือนของหญิงไทยในชนบท หากใครมีฝีมือในการทอผ้า และสวมใส่ผ้าถุงไหมมัดหมี่ มักจะเป็นที่หมายปอง ของชายหนุ่ม และญาตผิ ้ใู หญ่ของฝ่ายชาย ชาวบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตาบลหนองแปน อาเภอมญั จาคีรี จังหวดั ขอนแกน่ มอี าชีพเกษตรกรทานา ทาไร่ ทาสวน หลังเสรจ็ จากการทานา ทาไร่ ทาสวนแล้ว ทางแมบ่ า้ นจะปลูก หม่อนและทอผ้าไหมเพื่อใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่ม ต่อมาชาวบ้านได้ทอผ้าไหมมัดหมี่เพ่ือขายเสรมิ สร้างรายไดใ้ ห้กับ ครอบครัว นยิ มทอลายพื้นเมือง
3 โดยสันนิษฐานว่าการทอผ้าของชาวบ้านนาจานน่าจะมีมาไม่ต่ากว่า 100 ปี และในปี พ.ศ. 2537 รัฐบาล รณรงค์ให้ข้าราชการสวมใส่ผ้าไหม ดงั นนั้ ความต้องการของผู้อุปโภคจึงเพิ่มมากขน้ึ จึงทาใหก้ ล่มุ แมค่ ้าผ้าไหม ของอาเภอชนบทได้มาจ้างแรงงานในหมู่บ้านนาจานทอผ้าไหมเป็นจานวนมาก ต่อมาชาวบ้านนาจานได้เห็น ความสาคัญของการอนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาท้องถ่ิน จึงได้มีการรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มอาชีพสตรีทอผ้าไหม มัดหม่ี ข้ึน รวมกลุ่มกัน ทอเอง จาหน่ายเอง และใช้แรงงานในหมู่บ้าน ผลิตผ้าไหมมัดหม่ีเป็นสินค้าหลัก และมีการพัฒนาเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย จนเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้แก่ครอบครัวและชมุ ชน สามารถแก้ปัญหาการวา่ งงานและการอพยพแรงงาน ส่งผลให้ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข ฝีมือการทอผ้า และลวดลายผ้า ไหมของกลุ่มทอผ้าไหมบ้านนาจาน มีความละเอียด ประณตี เนอื้ ผ้าดี ลวดลายและสีสันสวยงาม มีความโดด เด่นเปน็ เอกลักษณ์ ดังนั้น กศน.ตาบลหนองแปน สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ มัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น จึงได้ทาโครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ หลักสูตร การทอผ้าไหมมัดหม่ี ลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ จานวน ๕๐ ช่ัวโมง เพ่ือจุดประกายความคิดในการพัฒนาลวดลายผ้า และพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าไทยให้มีความร่วมสมัย สามารถก้าวสู่ระดับสากล และเพ่ือสืบทอดวิถีชุมชนให้ยั่งยืน เพิ่มมูลค่า ตรงตามความตอ้ งการของตลาดมากขน้ึ อีกท้ังเปน็ การสร้างรายไดท้ ่ยี ่ังยนื ใหก้ ับคนในชุมชน หลกั กำรของหลักสูตร การจัดการศกึ ษาเพื่อการพฒั นาอาชีพเพือ่ การมีงานทา กาหนดหลกั การไว้ดังนี้ 1. เปน็ หลักสูตรทเ่ี น้นการจดั การศึกษาอาชีพเพือ่ การมีงานทา ท่เี นน้ การบูรณาการ เนอื้ หาสาระภาคทฤษฎีควบคู่ไปกับการฝึกปฏบิ ัตจิ ริง ผเู้ รยี นสามารถนาความรู้และทักษะไป ประกอบอาชีพได้จริง อยา่ งมีคุณภาพและมีคุณธรรม จริยธรรม 2. เปน็ หลักสูตรที่เนน้ การดาเนนิ งานร่วมกบั เครือข่าย สถานประกอบการ เพอ่ื ประโยชน์ ในการประกอบอาชีพ 3. เปน็ หลกั สตู รท่สี ่งเสริมการเพิ่มมูลคา่ ในการประกอบอาชีพการทอผา้ ไหมมัดหมี่จาก การเลือกสร้างสรรคล์ ายใหม่ ทันสมยั สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาด และชอ่ งทางการ จัดจาหนา่ ย 4. เปน็ หลกั สตู รท่สี ามารถนาไปประกอบอาชีพ และสร้างรายไดใ้ หท้ ัง้ ตนเองและชมุ ชน เกดิ รายได้ทมี่ ่ันคง ม่ังคั่ง และยัง่ ยนื ในอาชีพ
4 5. เป็นหลกั สตู รทีผ่ ู้เรยี นสามารถนาผลการเรียนรไู้ ปเทียบโอนเข้าสหู่ ลักสตู รการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2555) ในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบอาชีพ จดุ มุง่ หมำย 1. มีความรู้ เข้าใจ และทักษะในการประกอบอาชีพการทอผ้าไหมมัดหม่ี และทักษะการบริหาร จัดการในอาชพี ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2. เพ่อื ให้ผเู้ รยี นสามารถตัดสนิ ใจประกอบอาชีพใหส้ อดคล้องกับศักยภาพของตนเอง ชมุ ชนสงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม 3. เพื่อให้ผู้เรียนทาผลิตภัณฑ์จากการต่อยอด พัฒนา (Up-Skill และ Re-skill) เพื่อเป็น ผลิตภณั ฑก์ ารคา้ สามารถเขา้ ถึงแหล่งเงนิ ทุนเปน็ อาชพี ได้ 4. เพอ่ื ให้ผู้เรียนได้พฒั นาอาชพี ของตนเองและมีรายได้ทย่ี ่งั ยนื 5. เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีในการประกอบอาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีจิตสานึกความ รับผดิ ชอบต่อตนเอง ผูอ้ ืน่ และสงั คม กลมุ่ เปำ้ หมำย ๑. ผทู้ ไี่ ม่มีอาชีพ ๒. ผทู้ ่ีมีอาชพี และตอ้ งการพัฒนาอาชีพ ระยะเวลำ ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสูตร จานวน 50 ชวั่ โมง แบ่งเปน็ ชั่วโมง ภาคทฤษฎี 10 ชว่ั โมง ภาคปฏิบตั ิ ๔0 โครงสรำ้ งเนือ้ หำหลกั สตู ร 1. ความรู้พ้นื ฐานการทอผา้ ไหมมัดหมี่ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรีฯ ( ๒ ช่ัวโมง ) 1.1 ประวัติ ความสาคัญ ความหมาย และประโยชน์ผ้ามดั หม่ี 1.2 ความเป็นมาของผา้ มัดหม่ีลายขอเจ้าฟ้าสิริวณั ณวรฯี 1.3 วสั ดอุ ปุ กรณ์การทอผ้าไหมมัดหม่ี 1.4 ความปลอดภยั ในอาชีพทอผา้ ไหม 1.5 การดูแลรักษาผ้าไหม 1.6 คณุ ธรรมในการประกอบอาชีพทอผ้าไหม
5 2. ทกั ษะการประกอบอาชีพการทอผา้ ไหมมดั หมลี่ ายขอเจ้าฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ( ๔๐ ชม.) 2.1 การถอดหม่ลี ายขอเจ้าฟา้ สริ ิวณั ณวรฯี 2.2 การค้นหม่ี 2.3 การมดั เพื่อเอาลวดลาย 2.4 การยอ้ มหัวหมี่ 2.5 การปัน่ หลอด 2.6 ทอผา้ ไหมมัดหมล่ี ายขอเจ้าฟ้าสิรวิ ัณณวรฯี 3. การจดั การตลาดและการบรรจภุ ณั ฑ์ ( 4 ชม.) 3.1 ความต้องการของตลาดและปจั จัยหนนุ 3.2 การตลาดชมุ ชน 3.3 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3.4 มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน 3.5 การตลาดออนไลน์ 4. การบรหิ ารหน้สี นิ และบัญชเี บอื้ งตน้ ( 4 ชม.) 4.1 การคานวณต้นทนุ กาไร 4.2 แหลง่ เงินทนุ และการกยู้ ืม 4.3 การบริหารหน้ีสนิ และการบริหารสญั ญา 4.4 การจัดทาบญั ชีครวั เรือน
6 รำยละเอียดโครงสร้ำงหลักสูตรกำรทอผ้ำไหมมัดหมลี่ ำยขอเจ้ำฟำ้ สิริวัณณวรีฯ กศน.ตำบลหนองแปน อำเภอมญั จำคีรี จังหวัดขอนแก่น เรือ่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา การจดั กระบวนการ ชว่ั โมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม 1. ควำมรู้ 1.1 บอกประวตั ิ 1.1 ประวัติ ความ 1. ทดสอบประเมิน 30 พน้ื ฐำนกำร ความสาคัญ สาคัญ ความหมาย ความรู้ภาคทฤษฎี นาท่ี ทอผ้ำไหม ความหมาย และ และประโยชนข์ อง กอ่ นเรียน มัดหมลี่ ำยขอ ประโยชน์ของ ผา้ มัดหมี่ 2. การบรรยาย (เอกสาร เจำ้ ฟ้ำสิริร ผ้ามัดหม่ไี ด้ 1.2 ความสาคญั ของ ประกอบและคลปิ วดี ีโอ) 30 วัณณวรีฯ 1.2 บอกความเปน็ มา ผ้าไหมมดั หม่ลี ายขอ 2.1 เอกสารประกอบ นาท่ี (๒ ชวั่ โมง) ของผา้ มัดหมลี่ ายขอ เจา้ ฟ้าสริ ิวณั ณวรีฯ หลกั สูตร เจ้าฟา้ สิรวิ ณั ณวรีฯได้ 2.2 ใบความรู้ความ 1.3 บอกถงึ วัสดุ 1.3 วัสดุอปุ กรณ์ทอผา้ เปน็ มาของ ผ้ามดั หมีล่ าย 15 อปุ กรณ์การทอผ้า ไหมมดั หมี่ ขอเจ้าฟา้ สิริวณั ณวรฯี นาท่ี ไหมมดั หมีไ่ ด้ 1.4 ความปลอดภยั 2.3 คลิปวดี โี อ เรือ่ ง 15 1.4 บอกถงึ การดูแล ในอาชีพทอผ้าไหม ผ้าลายขอพระราชทาน นาท่ี รักษาผ้าไหมได้ ผา้ มดั หมล่ี ายขอ เจ้าสริ ิ 1.5 บอกถึงความ 1.5 การดแู ลรกั ษา วัณณวรฯี 15 ปลอดภยั ในอาชีพ ผ้าไหม 3. การแลก นาท่ี ทอผา้ ไหมได้ 1.6 คณุ ธรรมในการ เปล่ียนเรียนร้รู ว่ มกนั ตอ่ 15 1.6 บอกถึงคุณธรรม ประกอบอาชีพทอ ความรพู้ ืน้ ฐานการทอผา้ นาที่ ในการประกอบอาชีพ ผ้าไหม ไหมมดั หม่ีของผู้เรยี น การทอผา้ ไหมได้ 4. ทดสอบประเมนิ ความรู้ภาคทฤษฎี หลังเรยี น 2.ทักษะกำร 2.1 มีความ เข้าใจ 2.1 การถอดหม่ลี าย 1. การบรรยาย(เอกสาร ๑ 2 ประกอบ เก่ยี วกับการทอผ้าไหม ขอเจ้าฟ้าสิรวิ ณั ณวรีฯ ประกอบและคลปิ วีดโี อ) อำชีพกำรทอ มัดหมลี่ ายขอเจา้ ฟ้าสิริ 2.2 การค้นหม่ี 1.1 เอกสาร ๒ ผำ้ ไหมมัดหม่ี วณั ณวรีฯ 2.3 การมดั เพ่อื 12 ลำยขอ เอาลวดลาย 2.4 การย้อมหัวหมี่ 2
7 เรือ่ ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอื้ หา การจดั กระบวนการ ช่วั โมง เจ้ำฟำ้ สิริ วณั ณวรีฯ เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ รวม (๔๐ช่ัวโมง) 2.2 สามารถทอผา้ ไหม 2.5 การปั่นหลอด ประกอบหลักสูตร 2 3.กำรจัดกำร ตลำดและกำร มัดหมล่ี ายขอเจ้าฟ้าสริ ิ 2.6 ทอผ้าไหมมัดหมี่ 1.2 ใบความรู้การทอ 28 บรรจภุ ัณฑ์ (๔ ช่วั โมง) วณั ณวรฯี ได้ ลายขอเจา้ ฟา้ ผ้าไหมมัดหม่ีลายขอเจ้า สริ วิ ณั ณวรีฯ ฟา้ สิรวิ ัณณวรฯี 1.3 คลปิ วีดีโอ เร่ือง การทอผ้าไหมมดั หม่ี ลายขอเจา้ ฟ้า สิริวัณณวรฯี 2. สาธิตการมัดหมี่ ลายขอเจา้ ฟ้า สริ วิ ัณณวรฯี 3. การฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ ของผู้เข้ารับการอบรม 4. การแลกเปลี่ยน เรียนรรู้ ว่ มกันของ ผู้เรยี น 3.1 สามารถเรียนรู้ 3.1 ความตอ้ งการของ 1. บรรยาย (เอกสาร 20 พื้นฐานการบรหิ าร ตลาดและปัจจัยหนนุ ประกอบ) นาที่ จัดการตลาดผา้ ไหมได้ 3.2 การตลาดชุมชน 1.1 บรรยายองค์ 40 -ความตอ้ งการของ ความรู้องค์ นาท่ี ตลาด ความรูเ้ กี่ยวกบั -การควบคุมคณุ ภาพ 3.3 การออกแบบ การบรหิ ารจดั การ 1 การทอผ้าไหมมัดหมี่ บรรจุภัณฑ์ การตลาดผ้าไหม - การลดต้นทุน 1.2 บรรยายการพัฒนา - การเพมิ่ มูลค่า 3.4 มาตรฐาน บรรจภุ ัณฑ์ ทีเ่ หมาะสม ๑ 3.2 สามารถเรียนรู้ ผลิตภณั ฑช์ ุมชน กับสินค้า ถึงพ้นื ฐานการพฒั นา ผา้ มัดหม่ี บรรจุภณั ฑ์ผา้ ไหมได้
8 เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการ ชัว่ โมง เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม 3.3 สามารถวาง 3.5 การตลาดออนไลน์ 1.3 การบรรยาย ๑ แผนการกาหนด องค์ความรู้เกี่ยวกับ มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ การวางแผนการ ชุมชนได้ ดาเนินงาน การ 3.4 สามารถเรียนรู้ ควบคมุ มาตรฐาน ถงึ พืน้ ฐานการตลาด ผลิตภัณฑ์ของชุมชน ออนไลน์ได้ ผ้ามดั หม่ี 1.4 บรรยายองคค์ วามรู้ เกี่ยวกบั การการ ตลาดออนไลน์ 2. การแลกเปลยี่ น เรียนร้รู ว่ มกันเก่ียวกบั การบรหิ าร จดั การการตลาดและ การออกแบบบรรจุ ภัณฑข์ องผเู้ รียน 4. กำรบรหิ ำร 1. สามารถคานวณ 4.1 การคานวณ 1. บรรยาย 30 ๑ หน้ีสนิ และ ตน้ ทนุ และกาไรได้ ๑ บัญชีเบ้ืองตน้ 2. รูจ้ กั แหลง่ เงินทนุ ต้นทนุ กาไร (เอกสารประกอบ) นาที่ (๔ ช่ัวโมง) และการเข้าถงึ การ ขอสินเช่ือจากสถาบัน 4.2 แหลง่ เงินทนุ และ 1.1 บรรยายองค์ความรู้ 30 การเงินเพื่อลงทุนใน การกู้ยืม เก่ยี วกบั นาที่ อาชีพ -การคานวณต้นทุน ๓.เขา้ ใจวธิ ีการบริหาร จดั การหนี้สินและการ 4.3 การบริหาร และกาไร 30 บริหารสญั ญาได้ ๔. ผู้เรียนสามารถ หน้สี ินและการบริหาร -แหล่งเงินทุนและการ นาที่ จัดทาบญั ชีครวั เรือน สญั ญา เข้าถึงการขอสนิ เช่ือ 30 จากสถาบันการเงนิ นาที่ 4.4 การจัดทาบัญชี เพื่อลงทุนในอาชีพ ครวั เรือน -วิธกี ารบรหิ ารจัดการ หนส้ี ินและการบริหาร สัญญา -การจัดทาบัญชี ครวั เรือน
9 เรื่อง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนือ้ หา การจดั กระบวนการ ชั่วโมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม 2.ใบงานการคานวณ ตน้ ทุนและกาไร 3.จัดให้ผเู้ รียนไดศ้ ึกษา ค้นคว้าความรู้ พัฒนาการทอผา้ ไหม มัดหมี่และ แหลง่ เงนิ ทนุ สถาบัน การเงินเพ่ือลงทุนใน อาชีพจาก Google 4.จดั เวทีเสวนาและการ แนะแนวจากตวั แทน สถาบันการเงินเรื่อง แหลง่ เงินทุนและการ เขา้ ถึงการขอสินเชอื่ จากสถาบันการเงนิ การบรหิ าร จดั การหน้สี ินและ การบรหิ ารสัญญา 4. ผเู้ รียนฝกึ ปฏบิ ัติ ทาบญั ชคี รัวเรอื น และ แลกเปล่ยี นขอ้ มลู ความคดิ เห็น เพื่อสรา้ ง แนวคดิ ในการดาเนิน กิจกรรมการเรยี นรู้ รวม 10 ๔0 5๐
10 กระบวนกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ วิธีการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ใชร้ ปู แบบการเรยี นร้ทู ่หี ลากหลาย ดังนี้ 1. การบรรยาย (Lecture) 2. การระดมสมอง (Brainstorming) 3. การอภิปราย (Discussion Method) 4. การชมคลิปวีดีโอการบรรยายและการสาธิต 5. การสาธติ 6. การฝกึ ปฏิบตั ิ 7. จดั เวทเี สวนา ส่ือกำรเรยี นรู้ จัดกระบวนการเรยี นรูต้ ามหลักสูตร มกี ารใช้สือ่ การเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย ทนั สมยั และสอดคล้องกบั สถานการณ์ปัจจุบนั ได้แก่ 1. เอกสารประกอบหลกั สตู ร 2. ใบความรู้ 3. คลปิ วดี โี อบรรยายและสาธติ 4. ใบงาน 5. แบบทดสอบ กำรวัดและประเมินผล การวดั และประเมนิ ผลหลักสูตร เปน็ การตรวจสอบความก้าวหน้า โดยใชผ้ ลการประเมินเปน็ ข้อมูลและสารสนเทศทแ่ี สดงการพฒั นาความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถตอ่ การทอผา้ ไหมมัดหมี่ลาย ขอเจา้ ฟ้าสริ วิ ัณณวรีฯ ซึ่งสามารถประเมินได้ด้วยวธิ ีการตา่ งๆ ดังน้ี 1. การทดสอบประเมินความรภู้ าคทฤษฎีก่อนเรียน และจบหลักสตู ร 2. การตรวจสอบผลงานจากการปฏิบตั ิ ได้ผลงานท่มี ีคณุ ภาพ สามารถสร้างรายได้และจบ หลักสูตร
11 กำรจบหลักสูตร เกณฑก์ ำรจบหลกั สูตร 1. มรี ะยะเวลาเรยี นและฝกึ ปฏบิ ตั ิตลอดหลกั สตู ร ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 2. มีผลการประเมินผา่ นตลอดหลกั สูตร ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ตามเกณฑท์ ี่กาหนด ดังนี้ 1.1 ภาคทฤษฎี สดั ส่วนร้อยละ 20 1.2 ภาคปฏิบัติ สดั สว่ นร้อยละ 80 เอกสำรหลกั ฐำนกำรศกึ ษำ 1. ใบลงทะเบียนระยะเวลาเรียนและฝกึ ปฏิบตั ิ 2. ทะเบียนคุมวุฒิบัตร 3. วฒุ ิบตั ร ออกโดยสถานศกึ ษา กำรเทยี บโอน ผเู้ รยี นท่ีจบหลักสูตรสามารถนาไปเทียบโอนผลการเรยี นรู้กับหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพ วชิ าเลอื กทสี่ ถานศึกษาไดจ้ ดั ทาข้ึน หรอื อ่ืนๆ ไดต้ ามหลักเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนด
12 บรรณำนกุ รม ความสาคญั ของผ้าทอทมี่ ีมาต้ังแตอ่ ดตี จนถึงปัจจุบนั [ออนไลน์].เขา้ ถงึ ได้จาก http://ica.swu.ac.th. (วนั ทีส่ ืบค้น 21 ธนั วาคม 2564) ผา้ ทอกับชวี ิตคนไทย [ออนไลน]์ .เข้าถึงได้จาก http://libdoc.dpu.ac.th. (วนั ท่สี บื ค้น 21 ธันวาคม 2564) ความสาคญั ของผ้าไหม[ออนไลน]์ .เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com .(วนั ที่สืบค้น 21 ธนั วาคม 2564) เสนห่ ์ผ้าไหมไทย [ออนไลน์].เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.bareo-isyss.com. (วันทีส่ ืบคน้ 21 ธนั วาคม 2564) ความเปน็ มาของผ้ามัดหมล่ี ายขอสมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจา้ ฟ้าสริ ิวณั ณวรี นารีรตั นราชกัญญา. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://qsds.go.th/newqssckri/wpcontent/uploads/sites/98/2021/08/laikor.pdf. (วันทสี่ ืบคน้ 9 มกราคม 2565) มดั หม่ี.[ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก https://th.wikipedia.org/wiki/ (วันท่ีสบื คน้ 9 มกราคม 2565) การทอผา้ ไหม[ออนไลน]์ .เข้าถึงไดจ้ าก https://qsds.go.th (วันทส่ี ืบค้น 9 มกราคม 2565) เทคนคิ การทอผ้าไหม[ออนไลน์].เข้าถงึ ได้จาก https://qsds.go.th/newqssclei/ (วนั ทส่ี ืบค้น 9 มกราคม 2565) วิธกี ารทาผา้ ไหมมัดหม่.ี [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com/site/kusilaphahim/withi-kar-tha-pha-him-mad-hmi. (วนั ทส่ี บื คน้ 10 มกราคม 2565) ข้นั ตอนการทอผา้ ไหม และผ้ามัดหม.ี่ [ออนไลน์].เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.agfind.com. (วันทส่ี ืบค้น 10 มกราคม 2565)
13 คณะผู้จดั ทำ คณะท่ปี รกึ ษำ นายถาวร พลดี ี ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ รองผ้อู านวยการสานกั งาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ พ.อ.อ.กฤชพล พรมลี ผู้อานวยการ กศน.อาเภอมัญจาครี ี ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ นางสาวพัชรินทร์ จารย์โพธิ์ ครผู ชู้ ว่ ย นางชไมพร อ้มเถื่อน ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น คณะผ้จู ดั ทำ ครู กศน.ตาบลหนองแปน ครู กศน.ตาบลหนองแปน นายสมบูรณ์ ยุทธชัย ครูศูนย์การเรยี นชมุ ชน นางเพลินจิตร สดุ ชา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอมัญจาครี ี ครูผชู้ ว่ ย นางสาวฐนิตา ภูวา ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น นางสาวบังอร ภชู าดา ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู กศน.ตาบลหนองแปน นางสาวปภชั ญา สาราญบารงุ นางสาวพยอม ขวาซยุ บรรณำธกิ ำร นางสาวพชั รินทร์ จารย์โพธิ์ นายสมบรู ณ์ ยทุ ธชัย นางเพลินจิตร สุดชา รูปเล่ม นางสาวฐนติ า ภูวา นางสาวบังอร ภูชาดา
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: