Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Yanisa 61170926

Yanisa 61170926

Published by angziieandamit, 2019-01-19 04:24:46

Description: Yanisa 61170926

Search

Read the Text Version

การพฒั นา นวตั กรรมการศึกษา นางสาวญาณิศา ทองสุข รหัสนิสิต 61170926

คานา หนังสือเล่มนี้จัดทาขึ้น เพ่ืออ่านเสริมความรู้เรื่องการ พัฒนานวัตกรรมการศึกษา โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับความหมาย ข อ ง ก า ร พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง นวัตกรรมการศึกษา หากผิดพลาดประการใดข้าพเจ้าขออภัย มา ณ ทน่ี ีด้ ้วย นางสาวญาณศิ า ทองสุข ผู้จดั ทา

สารบัญ 1 ความหมายของการพฒั นานวตั กรรมการศึกษา 2 ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา 3 นวตั กรรมด้านส่ือการสอน 5 นวตั กรรมด้านวธิ ีการจัดการเรียนการสอน 9 นวตั กรรมทางด้านหลกั สูตร 12 นวตั กรรมด้านการวดั และการประเมินผล 13 นวตั กรรมด้านการบริหารจัดการ

ความหมายของ การพฒั นานวตั กรรมการศึกษา การพฒั นานวตั กรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง การกระทาใหม่ การสร้างใหม่ หรือการพฒั นา ดดั แปลงจากส่ิงใด ๆ แล้วทาให้การศึกษาหรือการจัดกจิ กรรม การ เรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพดขี นึ้ กว่าเดมิ ทาให้ผู้เรียน เกดิ การเรียนเปลย่ี นแปลงในการเรียนรู้เกดิ การเรียนรู้อย่าง รวดเร็ว มแี รงจูงใจในการเรียน ทาให้เกดิ ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุดกบั ผ้เู รียน

ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา นวัตกรรมท่ีนามาใช้ในทางการศึกษา ท้ังการกระทาใหม่ การสร้างสิ่งใหม่ ๆ รวมท้ังการ พัฒนาดัดแปลงจากส่ิงใด ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน แบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ 1) นวตั กรรมด้านสื่อการสอน 2) นวตั กรรมด้านวธิ ีการจดั การเรียนการสอน 3) นวตั กรรมทางด้านหลกั สูตร 4) นวตั กรรมด้านการวดั และการประเมนิ ผล 5) นวตั กรรมด้านการบริหารจดั การ

1) นวตั กรรมด้านส่ือการสอน เอดการ์ เดล (Edgar Dale, 1965, 42 – 43) ไดแ้ บ่งประเภท ของสื่อการสอนไว้ 3 ประเภท คือ 1)ส่ือประเภทวัสดุ (Software) หมายถึง สื่อที่เกบ็ ความรู้อยู่ ในตวั เอง ซึ่งจาแนกย่อยเป็ น ๒ ลกั ษณะ คือ - วสั ดุประเภทที่สามารถถ่ายทอดความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง โดยไม่จาเป็นจะตอ้ งอาศยั อุปกรณ์อ่ืน ช่วย เช่น แผน่ เสียง ลูกโลก รูปภาพ หุ่นจาลอง ฯลฯ - วสั ดุท่ีไม่สามารถถา่ ยทอดความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง จาเป็นตอ้ งอาศยั อุปกรณ์อ่ืนช่วย เช่น แผน่ ฟิ ลม์ ภาพยนตร์ สไลด์ 2)สื่อประเภทอปุ กรณ์ (Hardware) หมายถึง ส่ิงที่เป็น ตวั กลางหรือตวั ผา่ น ทาใหข้ อ้ มูลหรือความรู้ที่บนั ทึกใน

วสั ดุที่สามารถถ่ายทอดออกมาใหเ้ ห็นหรือไดย้ นิ เช่น เคร่ืองฉายแผน่ โปร่งใส่เคร่ืองฉาย 3)ส่ือประเภทเทคนิคและวธิ ีการ (Techniques and Methods) หมายถึง สื่อที่มีลกั ษณะ เป็นแนวความคิดหรือรูปแบบข้นั ตอนในการเรียนการ สอน โดยสามารถนาส่ือวสั ดุและอุปกรณ์มาใชช้ ่วยใน การสอนได้ เช่น เกม สถานการณ์จาลอง เป็นตน้ ประสบการณ์ของเดลจะเร่ิมตน้ ดว้ ยการให้ผูเ้ รียนมีส่วน ร่วมอยู่ในเหตุการณ์หรื อการกระทาจริ งเพื่อให้ผู้เรี ยนมี ประสบการณ์ตรงเกิดข้ึนก่อน แลว้ จึงเรียนรู้โดยการเฝ้าสังเกต ในเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงเป็นข้นั ต่อไปของการไดร้ ับประสบ- การณ์ รอง ต่อจากน้ันจึ งเป็ นการเรี ยนรู้ ด้วยการรั บ ประสบการณ์โดยผ่านสื่อต่าง ๆ และท้ายที่สุดเป็ นการให้ ผู้เรี ยนเรี ยนจากสัญลักษณ์ซ่ึ งเป็ นเสมือนตัวแทน ของ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึน https://www.krupatom.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD/

2) นวตั กรรมด้านวธิ ีการ จัดการเรียนการสอน ความหมายของนวตั กรรมทางการเรียนการสอน (Education Innovation) พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน (2542 : 565) ไดใ้ ห้ ความหมายของนวตั กรรมว่าหมายถึงส่ิงท่ีทาข้ึนใหม่ หรือ แปลกจากเดิมซ่ึงอาจจะเป็นความคิด วิธีการหรืออปุ กรณ์ เป็ นตน้ สรุปไดว้ ่านวตั กรรมทางการเรียนการสอนคือสิ่งใหม่ๆ ที่สร้างข้ึนมาเพ่ือช่วยแกป้ ัญหาเก่ียวกบั การเรียนการสอนหรือ พฒั นาให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ไดแ้ ก่ แนวคิด รูปแบบ วิธีการ กระบวนการ สื่อต่าง ๆ ที่เก่ียวกับ การศึกษา ในกรณีสิ่งน้นั ที่นามาใชจ้ นกลายเป็ นสิ่งปกติของ ระบบงานน้นั ไม่จดั วา่ เป็นนวตั กรรม

ประเภทของนวตั กรรมทางด้านการเรียนการสอน พิชิต ฤทธ์ิจรู ญ (2550 : 3 ) ได้กล่าวถึงนวัตกรรม ทางดา้ นการเรียนการสอนวา่ นวตั กรรมท่ีผลิตออกมาทางดา้ น การเรียนการสอนมีจานวนมากแต่สามารถจาแนกประเภทได้ ด้งั น้ี 1.นวตั กรรมประเภทผลติ ภณั ฑ์หรือสิ่งประดษิ ฐ์ นวัตกรรมประเภทน้ีมีลักษณะเป็ นสื่อที่ช่วยในการ จดั การเรียนการสอนใหผ้ เู้ รียนมีความเขา้ ใจกระจ่างชดั เจนใน เรื่องท่ีเรียน หรือทาให้ผูเ้ รียนไดม้ ีการพฒั นาการเรียนรู้ใน ทกั ษะดา้ นต่าง ๆไดเ้ ร็วยงิ่ ข้ึน นวตั กรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ · - ชุดการเรียน / ชุดการสอน / ชุดการเรียนการสอน · - แบบฝึกทกั ษะ / ชุดการฝึก / ชุดฝึกทกั ษะการเรียนรู้ · - บทเรียนสาเร็จรูปแบบส่ือผงม / บทเรียนโปรแกรม · - เอกสารประกอบการเรียนรู้ / เอกสารประกอบการเรียน การสอน / เอกสารประกอบการสอน ฯลฯ

2. นวตั กรรมประเภทรูปแบบ / เทคนิค / วธิ ีการสอน นวตั กรรมประเภทน้ีเป็ นการใชว้ ิธีการสอนหรือ เทคนิคการสอนในรูปแบบต่างๆที่นกั การศึกษาไดค้ ิดคน้ เพ่ือ พฒั นาการดา้ นการเรียนรู้ให้แก่ผูร้ ีเยนท้งั ในดา้ นการความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และเจตนคติ ซ่ึงมีวธิ ีการสอนและเทคนิค การสอนจานวนมาก ไดแ้ ก่ · - วธิ ีการสอนคิด · - วธิ ีการสอนโดยการจดั การเรียนรู้แบบร่วมมือ · - CIPPA MODEL · - วฏั จกั รการเรียนรู้ 4 MAT · - วธิ ีสอนตามแนวพทุ ธวธิ ี · - วธิ ีสอนแบบบรูณาการ · - วิธีสอนโครงงาน · - วธิ ีสอนโดยการต้งั คาถาม · - Constructivism ฯลฯ

นอกจากน้ียังมีนวัตกรรมประเภทเสริ มสร้าง คุ ณ ลัก ษ ณะข อ งผู้เ รี ย น ด้าน จิ ตพิ สั ย ซ่ึ งส านัก งา น คณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ (2539 : 3-11 ) สรุปวา่ การพฒั นาจิตพิสัยในการเรียนการสอน ท่ีจาเป็ น ไดแ้ ก่ ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความมีน้าใจ การบริโภคดว้ ยปัญญาในวถิ ีไทย http://noompaiboon.blogspot.com/2015/09/blog-post.html

3) นวตั กรรมทางด้านหลกั สูตร นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สูตร เป็นการใชว้ ธิ ีการใหม่ ๆ ใน ก า ร พัฒ น า ห ลัก สู ต ร ใ ห้ส อ ด ค ล้อ ง กับ ส ภ า พ แ ว ด ล้อ ม ใ น ทอ้ งถิ่นและตอบสนองความตอ้ งการสอนบุคคลให้มากข้ึน เนื่องจากหลกั สูตรจะตอ้ งมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยเี ศรษฐกิจและ สังคมของประเทศและของโลก นอกจากน้ีการพัฒนา หลักสูตรยงั มีความจาเป็ นท่ีจะตอ้ งอยู่บนฐานของแนวคิด ทฤษฎีและปรัชญาทางการจดั การสัมมนาอีกดว้ ย การพฒั นา หลกั สูตรตามหลกั การและวิธีการดงั กล่าวตอ้ งอาศยั แนวคิด และวิธีการใหม่ ๆ ท่ีเป็ นนวตั กรรมการศึกษาเขา้ มาช่วยเหลือ จดั การใหเ้ ป็นไปในทิศทางท่ีตอ้ งการ

นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สูตรในประเทศไทย ไดแ้ ก่ การพฒั นาหลกั สูตรดงั ต่อไปน้ี 1. หลกั สูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบ ของหลักสูตรเขา้ ด้วยกันทางด้านวิทยาการในสาขาต่าง ๆ การศึกษาทางดา้ นจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งใหผ้ ูเ้ รียนเป็ น คนดีสามารถใชป้ ระโยชน์จากองคค์ วามรู้ในสาขาต่าง ๆ ให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมอยา่ งมีจริยธรรม 2. หลักสูตรรายบุคคล เป็ นแนวทางในการพัฒนา หลักสู ตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพ่ือตอบสนอง แนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซ่ึงจะต้อง ออกแบบระบบเพื่อรองรับความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยดี า้ น ตา่ ง ๆ 3. หลกั สูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็ นหลกั สูตรท่ี มุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ ใหก้ บั ผเู้ รียนเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จ เช่น กิจกรรมท่ีส่งเสริม

ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในบทเรียน ประสบการณ์การเรียนรู้จาก การสืบคน้ ดว้ ยตนเอง เป็นตน้ 4. หลกั สูตรท้องถิ่น เป็ นการพฒั นาหลกั สูตรที่ตอ้ งการ กระจายการบริ หารจัดการการมีออกสู่ท้องถิ่น เพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั ศิลปวฒั นธรรมสิ่งแวดลอ้ มและความเป็ นอยู่ ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละทอ้ งถ่ิน แทนท่ีหลกั สูตรใน แบบเดิมท่ีใชว้ ธิ ีการรวมศูนยก์ ารพฒั นาอยใู่ นส่วนกลาง

4)นวตั กรรมด้านการวดั และการประเมินผล เป็ นนวตั กรรมที่ใช้เป็ นเคร่ื องมือเพื่อการวัดผลและ ประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทาไดอ้ ย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจยั ทางการศึกษา การวิจยั สถาบนั ดว้ ยการ ประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวดั ผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ นวตั กรรมทางดา้ น การประเมินผลนบั เป็ นเรื่องที่มีการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง แต่ก็ มีเหมือนบางสถาบนั การศึกษาเท่าน้นั ที่สามารถให้บริการได้ เ นื่ อ ง จ า ก บ า ง ส ถ า บัน ย ัง ไ ม่ มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ด้า น อุ ป ก ร ณ์ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และขาดบุคลากร ที่มีความอานวยดา้ น การออกแบบระบบและการพัฒนาเครื อข่ายซ่ึ งต้องอาศัย ระยะเวลาอีกช่วงหน่ึงท่ีจะพฒั นาระบบใหเ้ หมาะสมกบั การใช้ งานในสถาบนั

5) นวตั กรรมด้านการบริหารจัดการ เป็นการใชน้ วตั กรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั การใชส้ ารสนเทศมา ช่วยในการบริหารจัดการ เพ่ือการ ตดั สินใจของผูบ้ ริหาร การศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการ เปล่ียนแปลงของโลก นวตั กรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะ เ ก่ี ย ว ข้อ ง กับ ร ะ บ บ ก า ร จัด ก า ร ฐ า น ข้อ มู ล ใ น ห น่ ว ย ง า น สถานศึกษา เช่น ฐานขอ้ มูล นกั เรียน นกั ศึกษา ฐานขอ้ มูล คณะอาจารยแ์ ละบุคลากร ในสถานศึกษา ดา้ นการเงิน บญั ชี พสั ดุ และครุภณั ฑ์ ฐานข้อมูลเหล่าน้ีตอ้ งการออกระบบท่ี สมบูรณ์มีความปลอดภยั ของขอ้ มูลสูง นอกจากน้ียงั มีความเกี่ยวขอ้ งกับสารสนเทศภายนอก หน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบตั ิ กฎหมาย พระราชบญั ญตั ิ ท่ี เก่ียวกบั การจดั การศึกษา ซ่ึงจะตอ้ งมีการอบรม เก็บรักษา

และออกแบบระบบการสืบคน้ ท่ีดีพอซ่ึงผู้บริหารสามารถ สืบคน้ ขอ้ มูลมาใชง้ านไดท้ นั ทีตลอดเวลา ก า ร ใ ช้น ว ัต ก ร ร ม แ ต่ ล ะ ด้า น อ า จ มี ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ท่ี ซอ้ นทบั กนั ในบางเรื่อง ซ่ึงจาเป็นตอ้ งมีการพฒั นาร่วมกนั ไป พร้อม ๆ กนั หลายดา้ น การพฒั นาฐานขอ้ มูลอาจตอ้ งทาเป็ น กลุ่มเพอ่ื ใหส้ ามารถนามาใชร้ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

บรรณานุกรม https://www.krupatom.com/%E0%B8%AA%E0%B8% B7%E0%B9%88%E0%B8%AD/ สืบค้นเม่ือ วนั ท่ี 19 เดือน มกราคม พ.ศ.2562 http://noompaiboon.blogspot.com/2015/09/blog- post.html สืบค้นเม่ือ วนั ท่ี 19 เดือน มกราคม พ.ศ.2562