Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัฒนธรรม

วัฒนธรรม

Published by 5815712027, 2019-10-25 03:00:40

Description: วัฒนธรรม

Search

Read the Text Version

อะไรบ้างท่เี ปน็ วฒั นธรรม ?

ความเจริญงอกงาม รากศัพท์มาจาก “ Cultura ” กฎ ระเบยี บ ข้อปฏบิ ตั ิ ในภาษาละตนิ มีความหมายวา่ การเพาะปลกู หรือการปลูกฝัง

วถิ ีชีวติ ของมนุษย์ (WAY OF LIFE) ของมนุษย์ในสังคม และแบบแผนในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ทุก ๆ อย่าง รวมท้ังบรรดาผลงานทั้งมวลท่ี มนุษย์ได้สร้างข้ึน ตลอดจนความคิด(idea) ความเช่ือ(Believe) ค่านิยม (Value) และความรู้ต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการเรียนรู้ ส่ังสม ถ่ายทอดจากคนรุ่นก่อนๆ

คาถาม : ขอ้ ใดต่อไปนไ้ี มใ่ ช่ วฒั นธรรม ? 1. แนวทางในการดาเนินชีวิต (คตธิ รรม) 2. ปจั จยั 4 (วัตถธุ รรม) 3. ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ กฎหมาย(เนติธรรม) 4. การไหว้ การเคารพผใู้ หญ่ การแต่งกาย (สหธรรม) 5. ไมม่ ีข้อใดถกู

ดงั น้นั วัฒนธรรมจงึ เปน็ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื

วฒั นธรรม มคี วามสาคญั อยา่ งไร ?

ความสาคัญของวัฒนธรรม ร่างกาย วธิ ีการใหไ้ ด้มาซ่งึ ปัจจัย 4 1. ตอบสนอง ความตอ้ งการของมนุษย์ จิตใจ ความรักความอบอุ่น 2. ชว่ ยให้เราสะดวกสบายมากยงิ่ ขน้ึ ความมน่ั คงทางจิตใจ 3. ชว่ ยใหส้ ังคมเป็นหนงึ่ เดียว สงั คม วิธีการ ขอ้ ตกลง ในการอยรู่ ่วมกัน 4. เปน็ เครอ่ื งกาหนดแบบแผนพฤติกรรม 5. แสดงถึงความรงุ่ เรืองของสงั คม

องค์มติ (concept) องค์พิธกี าร (usage) = ความคดิ ความเชือ่ = ขนบธรรมเนยี มประเพณี อดุ มการณ์ต่างๆ องค์ประกอบของวัฒนธรรม องคก์ าร(organization) องคว์ ัตถุ(instrumental) = กลมุ่ ท่ีมกี ารจดั ระเบียบ = เป็นวัฒนธรรมทางด้านวตั ถุ หรอื มโี ครงสรา้ งอย่างเปน็ ทางการ มีรปู ร่างทสี่ ามารถจับต้องได้ มกี ฎเกณฑ์ ข้อบงั คับ

วฒั นธรรม มหี น้าทอ่ี ะไร ?

หนา้ ท่ขี องวัฒนธรรม - แบบแผนการดารงชีวิตที่เกดิ จากการเรียนรู้ - ตัวกาหนดพฤติกรรม+ค่านิยมของสมาชิก - เครือ่ งมือควบคมุ ความเป็นระเบียบของสงั คม - เครื่องหมาย สัญลกั ษณ์ เอกลักษณ์ของสงั คม

รปู แบบของ วฒั นธรรม หลกั ยอ่ ย(วัฒนธรรมรอง) วัฒนธรรมประจาชาติ วฒั นธรรมกลุ่มย่อย (คนไทย : ท่วั ประเทศ) (ท้องถนิ่ : เฉพาะตวั ) เชน่ ภาษาไทย อาหารไทย เช่น วัฒนธรรมของ ดนตรไี ทย มารยาทไทย คนภาคเหนอื



ถ้ากล่าวถึงวัฒนธรรมไทย นกั เรียนจะนึกถึงอะไร ?

12345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ประเพณยี เี่ ปง็ ประเพณีลอยกระทงแบบล้านนาโดยคาว่า ย่ี แปลว่า สอง ส่วน เป็ง แปลว่า เพ็ญ หรือ คืนพระจันทร์ เต็มดวง ซึ่งหมายถึงประเพณีในวันเพ็ญเดือนสองของชาว ล้านนา ซงึ่ ตรงกับเดอื นสบิ สองของไทย ใ น ช่ ว ง วั น ย่ี เ ป็ ง จ ะ มี ก า ร ป ร ะ ดั บ ต ก แ ต่ ง วั ด บ้ า น เ รื อ น ท า ป ร ะ ตู ป่ า ด้ ว ย ต้ น ก ล้ ว ย ต้ น อ้ อ ย ทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุง ช่อประทีป และชักโคมย่ีเป็งแบบ ต่าง ๆ ข้ึนเป็นพุทธบูชา และมีการจุดถ้วยประทีป(การจุด ผางปะต๊ีบ) เพื่อบูชาพระรัตนตรัย และมีการจุดว่าวไฟ ปล่อยขึ้นสู่ท้องฟ้าเพ่ือบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณีบนสรวง สวรรคช์ น้ั ดาวดึงส์

12345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ภาคเหนอื พธิ สี บื ชะตา ตาลก๋วยสลาก แห่สลงุ หลวง

12345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ประเพณแี ห่ผีตาโขน ประเพณีแห่ผีตาโขนจัดเป็นส่วนหน่ึงในงาน บุญประเพณีใหญ่หรือที่เรียกว่า \"งานบุญ หลวง\" หรือ \"บุญผะเหวด\" ซึ่งตรงกับเดือน 7 มีขึ้นท่ีอาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย โดยมี กระบวนแห่ผีตาโขนโดยแต่งกายคล้ายผีและ ปีศาจใสห่ นา้ กากขนาดใหญท่ ่เี ป็นเอกลกั ษณ์มี ลวดลายท่ีงดงามแตกต่างกันไป แสดง การละเล่นเต้นรากันอย่างสนุกสนานในขบวน แห่งทแี่ หย่ าวไปตามทอ้ งถนน

12345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ภาคอสี าน

12345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

12345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ประเพณอี ุ้มพระดาน้า เพชรบรู ณ์ ย้อนกลับไปราว 400 กว่าปี ท่ามกลางสายน้าป่า สักท่ีไหลเชี่ยว ทันใดพื้นน้าหยุดนิ่ง พระพุทธรูป ศักด์ิสิทธ์ิแสดงปาฏิหาริย์ผุดข้ึน บริเวณวังมะขาม แฟบ เมื่อเวียนบรรจบครบรอบปี ในวันข้ึน 15 ค่า เดือน 10 ชาวบ้านจึงร่วมกันจัดงานประเพณีอุ้ม พระดาน้าข้ึน และปฏิบัติสืบเนื่องมาจนกระท่ัง ปัจจุบัน

ภาคกลาง โยนบัว เผาเทยี นเลน่ ไฟ

12345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

12345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

บญุ สารทเดือนสบิ ความเชื่อของพุทธศาสนกิ ชนชาวนครศรีธรรมราช ท่ีเชื่อว่า บรรพบุรุษอันได้แก่ ปู่ย่า ตายาย และญาติพี่น้องท่ีล่วงลับ ไปแล้ว หากทาความช่ัวจะตกนรกกลายเป็นเปรต ต้องทน ทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศัยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศส่วน กุศลให้แต่ละปีมายังชีพ ดังนั้นในวันแรม ๑ ค่าเดือนสิบ คน บาปทั้งหลายที่เรียกว่าเปรตจึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลก มนุษย์เพ่ือมาขอ ส่วนบุญจากลูกหลานญาติพ่ีน้อง และจะ กลับไปนรกในวนั แรม ๑๕ ค่า เดอื นสิบ ในโอกาสนี้เองลูกหลานและผู้ยังมีชีวิตอยู่จึงนาอาหารไป ทาบุญที่วัด เพ่ืออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เป็น การแสดงความกตัญญูกตเวที

ภาคใต้ ชักพระ แหผ่ า้ ขึ้นธาตุ











วัฒนธรรมสากล (Global culture)น้ัน เป็นหลักปฏิบตั ิรว่ มกนั ของคนหลายกลุ่มหลายเชื้อชาติซ่ึงสะท้อนปรากฏการณ์โลกาภิ วัตน์ที่ทาให้เรามีปฏิสัมพันธ์กับคนหลากหลาย ปรากฏการณ์ท่ี ประกอบสร้างคุณค่าของวัฒนธรรมสากลมักเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนก่อน ในโลกตะวันตกแล้วแผ่ขยายอิทธิพลมาสู่ประเทศในโลกตะวันออก แผ่ขยายไปสู่บุคคลทั่วโลกผ่านการเชอื่ มต่อกันโดยอินเทอร์เน็ตและ กิจกรรมข้ามพรมแดนของมนุษย์อ่ืนๆ และทาให้เกิดความ หลากหลายเชงิ วฒั นธรรมมากขึ้นดว้ ย

ความแตกต่างระหวา่ งวฒั นธรรมไทยกับวฒั นธรรมสากล วฒั นธรรมสากลมีความแตกตา่ งจากวัฒนธรรมไทยอยหู่ ลายประการด้วยกนั ดังน้ี ๑ เน้นปรัชญาว่า “มนษุ ย์เป็นนายธรรมชาติ” • วัฒนธรรมสากลเน้นปรัชญา “มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ” สามารถบังคับธรรมชาติให้ตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมด จนนาไปสู่การประดิษฐ์คิดค้นวัตถุและเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เพ่ือสร้าง ความสะดวกสบายใหแ้ กม่ นุษย์ เชน่ เครือ่ งบิน รถยนต์ รถไฟฟา้ โทรศัพทม์ ือถอื เปน็ ตน้ • วัฒนธรรมไทยเน้นปรัชญา “มนุษย์ควรอยู่แบบผสมกลมกลืนกับธรรมชาติ” เป็นอันหน่ึงอันเดียวกับ ธรรมชาติ ดังนน้ั คนไทยจึงนิยมสร้างวฒั นธรรมใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพธรรมชาติ เชน่ การทาขวญั ข้าว ประเพณบี ุญบง้ั ไฟ เป็นต้น

ความแตกตา่ งระหวา่ งวัฒนธรรมไทยกับวฒั นธรรมสากล ๒ เนน้ การมองโลกแบบทวนิ ิยม (dualism) • วัฒนธรรมสากลมองทุกสิ่งเป็น ๒ ส่วนเสมอ เช่น ขาว-ดา ทันสมัย-ล้าสมัย จึงมีความพยายามท่ีจะ ปรับเปลี่ยนส่ิงท่ีล้าสมัยให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ เช่น การพัฒนาเทคโนโลยี การพัฒนาการคมนาคม ขนส่ง เป็นตน้ • วัฒนธรรมไทยมองโลกแบบองคร์ วม ทุกสิ่งหลอมรวมเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันไม่สามารถแยกออกจากกัน ได้ โดยองคป์ ระกอบทั้งหลายมีความสมดลุ ชว่ ยจรรโลงโลกให้มคี วามนา่ อยู่ ร่นื รมย์ และสงบสขุ

ความแตกต่างระหวา่ งวฒั นธรรมไทยกับวฒั นธรรมสากล ๓ เนน้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ • วัฒนธรรมสากลเน้นทฤษฎีและการพิสูจน์บนพ้ืนฐานของวิทยาศาสตร์ มีการต้ังสมมติฐาน วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือให้ได้ข้อสรุปที่เป็นเหตุเป็นผล นาไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั หลกั เทคโนโลยขี ้ันสงู • วฒั นธรรมไทยเน้นความคดิ ความเช่ือตามหลักธรรมทางศาสนา ยึดมน่ั ในความจริงควบคู่ไปกับแนวคิด ทางวิทยาศาสตร์ บนพ้ืนฐานความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ โดยครอบคลุมถึงเร่ืองการดาเนิน ชีวติ ทั้งท่ีเปน็ รปู ธรรมและนามธรรม



การปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงวัฒนธรรมไทย อิทธิพลของชาตติ ะวนั ตก • สมยั ต้นกรุงรัตนโกสินทร์อิทธิพลของชาติตะวันตก (ยุโรปและอเมริกา) ได้แผ่ขยายเข้ามาครอบคลุมไปทั่วทวีปเอเชียและท่ัวโลก ในฐานะนักล่าอาณานิคม ทาให้อินเดียตกเป็นเมืองข้ึนของอังกฤษ และจีนพ่ายแพ้สงครามฝิ่นกับอังกฤษ ในขณะเดียวกันชาติ ยุโรป กไ็ ดเ้ ข้ายึดครองประเทศตา่ งๆ รอบขา้ งประเทศไทยและดินแดนสว่ นตา่ งๆ ท่วั ทวีปเอเชยี • พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทาการปฏิรูปและพัฒนาบ้านเมือง นาเอา วัฒนธรรมของชาวยุโรปเข้ามาใช้ในแทบทุกส่วนของการดาเนินชีวิต ใช้ทับซ้อนกับวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทย ก่อให้เกิดการ ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมขน้ึ โดยผู้คนจะรกั ษาและยดึ ถือทั้งที่เปน็ วัฒนธรรมดง้ั เดมิ และวฒั นธรรมของชาตติ ะวันตก • การปรับปรุงประเทศต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมและชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย ในด้านต่างๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นวัตถุและอวัตถุ เกิดค่านิยมใหมท่ ี่เน้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์มากข้ึน มกี ารใช้สินค้าเครื่องอุปโภคบริโภคท่ี หลากหลาย และมกี ารดาเนนิ ชีวิตแบบสมัยใหม่



แนวทางการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมไทยทดี่ งี าม แนวทางในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรม • ศึกษา ค้นคว้า และวจิ ัย วัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินท่ีไดม้ ีกำรรวบรวมไวแ้ ลว้ และที่ ยังไม่ได้ศึกษำ จะไดท้ รำบควำมหมำยและควำมสำคญั ของมรดกวฒั นธรรมอยำ่ งถ่องแท้ เม่อื ได้ เห็นคุณคำ่ จะยอมรับและนำไปใชป้ ระโยชน์ใหเ้ หมำะสมและแพร่หลำย • สง่ เสรมิ ให้สมาชิกในสังคมเลือกรบั วัฒนธรรมจากภายนอกอย่างสรา้ งสรรค์ โดยนำมำประยุกตใ์ ช้ใหเ้ ขำ้ กับสภำพแวดล้อมและวฒั นธรรมด้ังเดิมของชุมชน เพื่อรกั ษำเอกลักษณข์ องควำมเปน็ ไทยไว้ • ขยายขอบเขตการมีสว่ นรว่ มทางวัฒนธรรม รณรงค์ใหป้ ระชำชน เอกชน ตลอดจน หนว่ ยงำนของรัฐเหน็ ควำมสำคญั ของวัฒนธรรมไทย นำไปสู่กำรประสำนงำน กำรบริกำร ควำมรู้ ตลอดจนกำรจดั กจิ กรรมทำงวฒั นธรรม เปน็ ต้น • ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม ท้งั ภายในและภายนอกประเทศ โดยใช้วฒั นธรรมเป็น สื่อกลำงสร้ำงควำมสมั พันธ์ท่ดี ีระหวำ่ งกนั



ชมิ ช้อป ชม เชยี ร์

การเลือกรับวัฒนธรรมสากลท่ีแพร่เข้ามาอยา่ งมีวิจารณญาณ อาจพจิ ารณาไดจ้ ากปัจจยั ดงั น้ี • วัฒนธรรมสากลตอ้ งสามารถผสมผสานเขา้ กบั โครงสรา้ งทางสังคม ค่านิยม และ ขนบธรรมเนยี มประเพณีไทยได้ • วฒั นธรรมสากลตอ้ งมสี ว่ นเกือ้ หนุนให้วฒั นธรรมไทยเกิดความกา้ วหน้า เชน่ การนาวทิ ยาศาสตร์ เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต หรอื การนาคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นการเก็บและวิเคราะหข์ ้อมลู เปน็ ต้น • วัฒนธรรมสากลตอ้ งสามารถอย่รู ่วมกบั วัฒนธรรมไทยได้ เมอ่ื มีวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามา กจ็ าเป็นทจ่ี ะต้องเลือกสรรวฒั นธรรมมาปรับใช้อย่างเหมาะสม เพื่อใหร้ อดพ้นจากการครอบงา ของวัฒนธรรมสากลท่ีมอี ิทธพิ ลมากในยุคปจั จุบนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook