วิชา การติดตั้งไฟฟ้านอก อาคาร The electrical installation outside the building
เครื่องมือที่จำเป็นต้องใช้ ขณะปฏิบัติงานติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
1.เครื่องมือป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 1.หมวกแข็งป้องกันอันตราย(safety hardhat) 2.ถุงมือยาง ( Rubber qloves ) 3.เข็มขัดนิรภัย หรือเรียกว่า เซฟตี้เบล้ว(Saftybelt) ใช้สวมบนศีรษะเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่บริเวณศีรษะในขณะ มีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือถุงมือยางแรงต่ำ ใช้สำหรับยืดตัวช่างไฟฟ้ากับเสาเพื่อให้สามารถ ยืนปฏิบัติงานบนเสาไฟฟ้า ปฏิบัติงาน อันเนื่องมาจากเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆหล่นลงมาถูก และมีถุงมือยางแรงสูงถุงมือยางแรงต่ำส่วนมากจะ มีสีเดียว สำหรับถุงมือยาง ได้อย่างปลอดภัย ซึ่งเข็มนิรภัย ประกอบด้วยตัวเข็มขัดและสายกันตก ศีรษะเป็นการลดอุบัติเหตุหรือผ่อนหนักเป็นเบาได้หมวกแข็งที่ใช้มี แรงสูงด้านนอกและด้านในจะออกแบบเป็นอย่างดีอย่าให้มีรอยขีดข่วนหรือเป็น ด้วยกันหลายสี เช่น สีแดง สีเหลือง สีขาว ซึ่งแต่ละสีจะบอก ถึงหน้าที่หรือ รูทะลุทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานครั้งต่อ ๆ ไปนั้นเอง โดยปกติจะ ตำแหน่งที่ปฏิบัติงานดังนี้ ใช้คู่กับถุงมือหนัง • หมวกสีแดงสำหรับวิศวกร • หมวกสีเหลือง สำหรับผู้ควบคุมคนงาน • หมวกสีขาว สำหรับคนงาน 5.เหล็กปีนเสา 4.รองเท้านิรภัยหรือเรียกว่าเซฟตี้ซูต(Safetyshoes)P r e s e n t with ease and wow any audience with Canva ใช้สำหรับสอดเข้าในรูของเสาไฟฟ้า เพื่อใช้ในการเหยียบปีนเสาไฟฟ้าทำมา P r e s e n t a t i o n s จ. ากเหล็กกลมเชื่อมติดกับเหล็กแผ่น ใช้เชือกผูกมัดระหว่างปีนเสากับเท้าทำให้ เป็นรองเท้าหนังที่มีความแข็งแรง ปลอดภัยและต้องมีความเป็น กระชับกับเท้า ขณะปฏิบัติงานบนเสาไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า เพื่อใช้ป้องกันการถูกกระแสไฟฟ้าดูด บริเวณของรองเท้าจะเป็น โลหะใช้ป้องกันเท้าไม่ให้บาดเจ็บเนื่องจากเครื่องมือและอุปกรณ์ที่หล่นทับ
2. เครื่องมือสำหรับงานปักเสาไฟฟ้า การปักเสาไฟฟ้าในปัจจุบันมี 2 ประเภทคือ
2.1 เครื่องมือขุดหลุม 1. เครื่องมือขุดหลุมโดยใช้แรงคน 2.เครื่องมือขุดหลุมโดยใช้เครื่องผ่อนแรง 3. เครื่องมือย้ายเสาและยกเสา 4. เครื่องมือกระทุ้งดิน เครื่องมือขุดหลุมโดยใช้แรงคนเป็นการขุดหลุมโดยอาศัย เป็นการนำเครื่องมือเข้ามาช่วย เพื่อทำให้การขุกหลุมนั้นรวดเร็วขึ้น เนื่องจากส่วนใหญ่เสาที่ใช้ในปัจจุบันเป็นเสา เครื่องกระทุ้งดิน ได้แก่ จอบ เสียม ชะแลง โดยมี แรงงานจากคนโดยตรงมีเครื่องมือที่ใช้ในการขุดหลุมดังนี้ เครื่องมือที่ใช้คือ คอนกรีตอัดแรงซึ้งมีน้ำหนักมาก การเคลื่อนย้ายจึงต้อง วัตถุประสงค์เพื่อให้โคนเสาไฟฟ้าติดแน่นกับพื้นดินไม่ - จอบ ใช้สำหรับขุดดิน - สว่านมือขุดหลุม มีลักษณะคล้ายสว่านมือเจาะไม้ แต่มีขนาดใหญ่กว่าใช้คนหมุน - ชะแลง ใช้สำหรับกระทุ้งดิน ด้ามเจาะสว่านให้ลึกลงไปในดิน แล้วใช้รถดึงสว่านขึ้นเป็นการขุดหลุมที่สะดวกนวด ใช้รถยก หรือรถลากด้วยลวดสลิง สั้นคลอน - พลั่ว ใช้สำหรับตักดิน เร็ว - พลั่วหนีบดิน ใช้สำหรับหนีบดินจากก้นหลุมให้ลึก - รถขุดหลุม เป็นรถบรรทุก สว่านขนาดใหญ่ ใช้ในการขุดหลุมด้วยเครื่อง จักรที่ใช้ ระบบไฮดรอลิกส์ แต่มีข้อจำกัดในการขุดหลุม คือ ไม่สามารถขุดหลุม ในที่แคบได้
2.2 เครื่องมือสำหรับงานพาดสาย มีวัตถุประสงค์เพื่อดึงสายไฟฟ้าให้ตึงและพอดี ไม่ให้ตกท้องช้างหรือหย่อนเกินไป ซึ่งจะเป็นสาเหตุทำให้สายแกว่งไปมาเมื่อถูกลมพัดและไม่เป็นผลดีต่อระบบไฟฟ้าโดยรวม เครื่องมือที่ใช้กับงานพากสาย ไฟฟ้า ประกอบด้วย คัมอะลอง(Comalong) คอฟฟิ่งฮอยล์ (Coffing Hoist) รอก เชือกและ รถไฮดรอลิกส์ 1. คัมอะลอง (Comalong) 2. คอฟฟิ่งฮอยล์ (Coffing Hoist) 3. รอก ใช้สำหรับจับยึดสายให้แน่น ประกอบด้วยสองส่วน หรือเรียกสั้นๆว่า ฮอยล์ เป็นแม่แรงดึง สายไฟฟ้าให้ตึง ใช้สำหรับยกวัสดุ-อุปกรณ์ไฟฟ้าขึ้นไปบนที่สูงและ คือ ปากหนีบและห่วง ประกอบด้วยตะขอ จากที่สูงลงสู่ด้านล่าง ส่วนที่ใช้จับและหนีบสายไฟฟ้าให้แน่น คือ ปากหนีบ เกี่ยวทั้งสองด้าน ด้านหนึ่งใช้คล้องกับเสาไฟฟ้าอีกด้านหนึ่ง ในการใช้งานเกี่ยวกับไฟฟ้านั้นใช้รอกในการนำวัสดุ- ส่วนห่วงใช้ในการคล้อง ใช้คล้องเข้ากับ อุปกรณ์ไฟฟ้า และ เข้ากับ คอฟฟิ่งฮอยล์ คัมอะลอง เครื่องมือขึ้นไปบนเสาไฟฟ้าในแนวดิ่ง 5. รถยนต์ไฮดรอลิกส์ 4. เชือก ใช้สำหรับยกของที่มีน้ำหนักมากและใช้ดึงสาย ใช้สำหรับดึงวัสดุ-อุปกรณ์ เครื่องมือขึ้น ไฟฟ้า และลงในแนวดิ่งโดยใช้งาน ร่วมกับรอก จำนวนหลายๆเส้นทำให้สะดวกรวดเร็วและใช้ เวลาในการปฏิบัติงานน้อยลง
3. เครื่องมือวัดและทดสอบ ใช้ในการตรวจสอบความชำรุดเสียหายของอุปกรณ์ไฟฟ้า ไปจนถึงการตรวจสอบระบบไฟฟ้า หลังจากทำการติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งเครื่องมือวัดและทดสอบ 1 แคลมป์มิเตอร์ 2 มัลติมิเตอร์ ใช้วัด 3 เมกเกอร์ หรือ 4 Earth Resistance ใช้สําหรับวัดกระแส แรงดันไฟฟ้า ความ Insulation Tester ใช้ Tester ใช้สําหรับทดสอบ ต้านทานและกระแสค่า สําหรับทดสอบความเป็น ไฟฟ้าค่าสูง ๆ ความต้านทานของดิน ต่ำ ฉนวน
Thank You
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: