Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Published by Pichikarn Sriphimai, 2022-08-01 05:04:58

Description: เอกสารประกอบการสอน รายวิชา มนุษยสัมพันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

มนษุ ยสัมพนั ธ์กับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (3000-1503) หน้า 198 หนว่ ยท่ี 6 การพฒั นาชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ความเป็นมาของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. การประยุกตใ์ ช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการพัฒนาชีวิต สมรรถนะประจาหน่วย 1. แสดงความร้เู ก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผูน้ า และผู้ตามท่ีดภี ายใต้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. มกี ิจนสิ ัยท่ดี ตี ่อการดาเนนิ ชีวิตและการปฏบิ ตั ิงาน ตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. บอกความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ถูกตอ้ ง 2. อธิบายความเป็นมาของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ถูกตอ้ ง 3. วเิ คราะห์หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ถูกต้อง 4. ประยกุ ต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการพฒั นาชวี ติ ได้

มนษุ ยสมั พันธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3000-1503) หนา้ 199 ผงั มโนทัศน์ (mind mapping) การพัฒนาชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มนษุ ยสัมพนั ธ์กบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (3000-1503) หน้า 200 หหนนว่่วยยทที่ ่ี66 การพฒั นาชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  สาระสาคัญ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (philosophy of sufficiency economy) เป็นปรัชญาในการ ดาเนินชีวิตทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 9 ทรงมีพระราชดารสั ช้ีแนะแก่พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกวา่ 30 ปี ดว้ ยสายพระเนตรท่ียาวไกล และลึกซึง้ ยิง่ กว่านักพัฒนาหรือนักวชิ าการใด ๆ จะมีสติปัญหาเสมอเหมือนได้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นท้ังหลักคิด และแนวทางปฏิบัติตนของแต่ละบุคคล และองค์การในทุกระดับ โดยคานึงถึง 3 หลกั การ คือ (1) ความพอประมาณกับศักยภาพของตนเองและ สภาวะแวดล้อมตามความเป็นจรงิ (2) ความมีเหตุมีผลบนพื้นฐานความถูกตอ้ ง และ (3) การมีภูมิคุ้มกัน ในตัว คือความไม่ประมาทในการดาเนินชีวิตที่ต้องประสบกับความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และการที่ จะคิด พูด และทา อย่างพอเพียงนั้นจาเป็นต้องใช้ความรู้อย่างถูกหลักวิชาการ ด้วยความรอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวังควบคกู่ ับการมีคุณธรรมเป็นพนื้ ฐานของจิตใจและการดาเนินชีวติ ❖ ความหมายของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพียง (sufficiency economy) เปน็ ปรัชญาช้ีถงึ แนวการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตน ของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร ประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกัน ในตัวท่ีดพี อสมควร เพ่ือป้องกันผลกระทบการเปล่ยี นแปลงทงั้ ภายใน และภายนอก ทั้งนี้จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อย่างย่ิงในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใชใ้ นการวางแผน และการดาเนินการ ทุกข้ันตอน ขณะเดยี วกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และ ให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สงั คม สง่ิ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี (จริ ายุ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา และ ปรยี านุช ธรรมปิยา, 2557; สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ, 2544) เศรษฐกิจพอเพียง แปลว่า พ่ึงตนเองได้ ซ่ึงไม่ได้แปลว่าไม่ต้องพ่ึงใคร ต้องทากินเอง ทาใช้เอง หมดทุกอย่าง ไม่ได้แปลว่าต่อไปน้ีไม่ต้องซื้อต้องขายอีก แต่หมายความว่าทาอย่างไรจึงจะทากินทาใช้ เองบ้าง ทาอย่างไรจะจัดการชีวิตของตนเองให้พ่ึงพาตนเองให้มากขึ้น พ่ึงตลาด และพึ่งคนอ่ืนให้น้อยลง รวมหมดแลว้ ประมาณว่าสกั เศษหนึ่งส่วนสี่ เช่น จะเลกื อะไรได้บ้าง จะลดอะไรได้บ้าง จะทาอะไรเพ่ือ

มนุษยสัมพันธ์กบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (3000-1503) หน้า 201 ทดแทนการซื้อจากตลาดหรือการขอจากคนอ่ืน และจะหาวิธีดูแลสขุ ภาพตวั เองให้ดีแทนท่ีจะหวังพ่ึงหมอ พึ่งยาอยา่ งเดียว (เสรี พงศพ์ ิศ, 2552) เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวคิดที่ต้ังอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนา ท่ีตั้งบนพื้นฐานของทางสายกลาง ซึ่ง “เป็นหัวใจของเศรษฐกิจพอเพียง” และความไม่ประมาท คานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็น พน้ื ฐานในการดารงชวี ิต ท่ีสาคัญจะต้องมีสติ ปัญญา และความเพียร ซึ่งจะนาไปสู่ความสุขในการดาเนิน ชีวติ อย่างแทจ้ รงิ (มลู นธิ ิชัยพฒั นา, 2559) “...เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือน เสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตวั อาคารไว้นัน่ เอง สง่ิ กอ่ สร้างจะมั่นคงได้ก็อยทู่ ่ีเสาเข็ม แตค่ นส่วนมาก มองไม่เหน็ เสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสยี ดว้ ยซ้าไป...” พระบรมราโชวาทพระราชทานผา่ นมูลนิธิชยั พัฒนา  ความเปน็ มาของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภาพที่ 6.1 โครงการตามแนวพระราชดาริ ทีม่ า : มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล (2553) เศรษฐกิจพอเพียง เปน็ แนวพระราชดารใิ นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่พระราชทาน มานานกว่า ๓๐ ปี (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2559) ตง้ั แต่ก่อนเกิดวกิ ฤติการณ์ทางเศรษฐกจิ และเม่อื ภายหลังได้ ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแส โลกาภิวัตน์และความเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ (จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ปรียานุช ธรรมปิยา, 2557) โดยเน้นย้าแนวทางการพัฒนาบนหลักแนวคิดการพ่ึงตนเอง เพื่อให้เกิดความพอมีพอกินพอใช้ของคน ส่วนใหญ่ ทรงเตือนสติประชาชนไทยไมใ่ ห้ประมาท ใหต้ ระหนักถึงการพัฒนาอยา่ งเป็นข้ันตอนที่ถกู ต้อง ตามหลักวิชาการ และการมีคุณธรรมเป็นกรอบในการปฏิบัติและการดารงชีวิต (นิวัฒน์ รักษ์รอด, นิตยา

มนุษยสัมพันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3000-1503) หน้า 202 กันตะวงษ์ และพรศักด์ิ อาษาสุจริต์, 2558) โดยเป้าหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้นต้องการ ให้ทุกคนไม่วา่ จะเป็นบุคคล องค์การท้ังภาครัฐและภาคเอกชน มีแนวทางการดารงอยู่และปฏบิ ัติตน ท้ังใน การใช้ชีวิตดาเนินธุรกิจ และการปรับตัว หรือพัฒนา ก็ให้เป็นไปโดยยึดหลักทางสายกลางเพ่ือให้สอดคล้อง กับสังคมที่เป็นอยู่เรื่อยไปจนถงึ สังคมโลก (จุฑา เทียนไทย, 2550) นับเป็นบุญและโชคดีของประเทศไทย ที่มพี ระมหากษตั ริย์ รชั กาลท่ี 9 ผู้ทรงเปี่ยมด้วยปรีชาญาณและทรงมวี ิสยั ทัศน์ที่ยาวไกล ทรงเตือนสติ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2517 แล้วส่ิงท่ีทรงเตือนก็เกิดข้ึนจริง สังคมไทยได้เข้าสู่วิกฤตหลายครั้ง จนกระทั่งครั้ง รนุ แรงท่ีสดุ เมอื่ ปี พ.ศ. 2540 (เสรี พงศพ์ ิศ, 2552) ปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจในด้านต่าง ๆ อย่างหนัก กล่าวคือ ประเทศไทยมีหน้ีสินไม่สามารถชาระได้ในระยะเวลาส้ัน ต้องปรับค่าเงินบาทลดลงอย่างมาก สถาบัน การเงินและธุรกิจจานวนมากได้รับความเสียหายและต้องล้มละลายไป ประชาชนท่ัวไปได้รับความ เดือดร้อนเนื่องจากราคาสินค้าและค่าครองชีพปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จากวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540 ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างรุนแรง และส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนซ่ึงเป็นที่ทราบ กันดีว่าการขาดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นต้นตอของวิกฤติในคร้ังนั้น (ประสพโชค ม่ังสวัสด์ิ และ นริ มล อรยิ อาภากมล, 2555) วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงปลอบใจและทรง ขยายความเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงว่า “การเป็นเสือนันไม่ส้าคัญ ส้าคัญอยู่ท่ีเรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนันหมายความว่า อุ้มชูตวั เองได้” “ถา้ สามารถทจ่ี ะเปลี่ยนไป ทา้ ให้กลบั เปน็ เศรษฐกิจ แบบพอเพยี ง ไม่ต้องทงั หมด แม้แต่คร่งึ ก็ไม่ต้อง อาจจะสกั เศษหน่งึ ส่วนสี่ กส็ ามารถอยูไ่ ด้” หลังจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 ประเทศไทยได้บทเรียนท่ีมีผลมาจากการพัฒนาท่ีไม่สมดุล และขาดเสถียรภาพ ขาดความใส่ใจในการพัฒาคุณภาพคนในทุกระดับอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง จน สภาวะวิกฤตส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในวงกว้าง จากบทเรียนดังกล่าวรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จึงได้กาหนดให้รัฐบาลต้องบริหารราชการแผ่นดนิ ให้เป็นไป เพื่อพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศอยางยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดาเนินการ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสาคัญ (มาตรา 78 วรรค 1) รวมถึงรัฐบาลต้องส่งเสรมิ และสนับสนุนให้มกี ารดาเนินการตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง (มาตรา 83) (จิรายุ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา และ ปรียานุช ธรรมปิยา, 2557) ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545–2549) เป็นแผนฉบับแรกท่ีได้ อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 มาเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ (ประสพโชค มั่งสวัสดิ์ และ นิรมล อริยอาภากมล, 2555) โดยยึดหลักทางสายกลาง เพ่ือให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤต สามารถดารงอยู่ได้อย่างม่ันคง และ นาไปสู่การพัฒนาท่ีสมดุล มีคุณภาพและย่ังยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และสถานการณ์เปลี่ยนแปลง (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2544) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นปรัชญานา ทางในการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง เพ่ือมุ่งให้เกิดภูมิคุ้มกันและมีการบริหารจัดการความเส่ียงอย่าง เหมาะสมเพื่อให้การพฒั นาประเทศสู่ความสมดลุ และย่ังยืน

มนษุ ยสมั พันธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3000-1503) หน้า 203 ในปัจจุบันหน่วยงานราชการ องค์การภาคเอกชน ชุมชน สถานศึกษา และประชาชนท่ัวไป ได้ น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติภารกิจอย่างกว้างขวาง เพราะหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักการดาเนินชีวิตตามแนวทางสายกลางไม่สุดโต่ง เป็นวิธีการท่ีเน้นการรักษา ความสมดุลในการปฏิบัติภารกิจบนพ้ืนฐานของความเป็นจริง ความถูกต้องอย่างเป็นเหตุเป็นผล และไม่ ประมาท ไม่เสี่ยง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถปรบั ไปตามบริบทสังคมท่ีเปล่ียนผ่านเข้าสู่สังคม ทนั สมัยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นหลักการที่สอดคลอ้ งกับวิถีชีวติ ดั้งเดิมของสังคมไทยท่ีมีพ้ืนฐาน อยู่บนคาสง่ั สอนของพระพุทธศาสนา อันเป็นคาสอนทเ่ี ปน็ สากลและทนั สมยั ตลอดเวลา  หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ หรือที่เรียกว่า 3 ห่วง คือ ความ มีเหตุผล ความพอประมาณ และการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี โดยการใช้หลักในองค์ประกอบท้ัง 3 ต้องควบคู่ กบั 2 เง่ือนไขการปฏิบัติ คือเงือ่ นไขความรู้ และเง่ือนไขคุณธรรม ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นที่มา ของนิยาม “3 ห่วง 2 เงื่อนไข” (สดุ ารัตน์ พิมลรตั นกานต์, 2558) ดงั ที่ไดแ้ สดงไว้ (ภาพที่ 6.2) ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เงอ่ื นไขความรู้ เงอื่ นไขคุณธรรม รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวัง ซ่ือสตั ยส์ ุจริต ขยนั อดทน สตปิ ญั ญา แบง่ ปนั วัตถุ / สงั คม / สิง่ แวดล้อม / วฒั นธรรม สมดลุ และพรอ้ มรบั ตอ่ การเปล่ียนแปลง ภาพที่ 6.2 หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ทม่ี า : ประยุกตจ์ าก จริ ายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ปรียานุช ธรรมปิยา (2557) การพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงต้องคานึงถึงองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ วตั ถุ สังคม ส่งิ แวดล้อม และวัฒนธรรม อย่างเป็นองคร์ วม คอื ไม่แยกสว่ น แตเ่ ชือ่ มโยงสมั พนั ธ์กัน อยา่ งเป็น

มนุษยสมั พนั ธ์กบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (3000-1503) หน้า 204 เหตุเป็นผล องค์ประกอบท้ัง 4 ด้าน เป็นท้ังปัจจัยที่ใช้ในกระบวนการผลิต และการบริการ ขณะเดียวกัน ก็เปน็ ปจั จัยที่ไดร้ ับผลกระทบจากการพัฒนา จึงกลา่ วได้วา่ คนเป็นศนู ย์กลางของการพฒั นา คอื เป็นท้ังผ้กู ระทา และไดร้ บั ผลของการกระทาจากการมีปฏสิ มั พนั ธ์กับองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทั้ง 4 ด้าน รายละเอียดดงั น้ี 1. วตั ถุ (การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ) หมายถงึ วตั ถุต่าง ๆ ทางกายภายที่มนุษย์สร้างหรือ ประดิษฐข์ ้ึน เช่น วตั ถุดิบ วัสดุ และอุปกรณ์ ฯลฯ นอกจากจะผลิตไว้ใช้เองหรือใช้วธิ ีการแลกเปล่ยี นกัน หรือซ้ือหามาเพ่ือบริโภคโดยเงินทุน ถือเป็นปัจจัยที่เก่ียวข้องกับด้านเศรษฐกิจหรือเงินทุน ในกระบวนการ ผลติ วัตถเุ หล่าน้จี าเป็นต้องอาศยั ทรพั ยากรดา้ นอ่ืน ๆ ทม่ี อี ยู่อย่างจากดั เปน็ ปจั จยั ประกอบร่วมด้วย 2. สิง่ แวดล้อม ประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มของชมุ ชน สังคม ประเทศชาติ และโลกโดยรวม ได้แก่ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรดิน นา้ ป่า และแรธ่ าตุ ฯลฯ ส่ิงแวดลอ้ มทาง ธรรมชาติเป็นปัจจัยการผลิตและบริการ ซ่ึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตบนโลก จึงควรใช้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมด้วยความเคารพและระมัดระวัง ด้วยความรับผิดชอบต่อคน รุน่ หลังทจี่ าเปน็ ต้องพงึ่ พงิ ทรัพยากรต่าง ๆ ในการดารงชีวติ 3. สังคม หมายถึงสภาพการอยู่รวมกัน และความสัมพันธ์ของคนในสังคม เช่น การช่วยเหลือ แบ่งปนั การมีวินยั เคารพกฎเกณฑ์ และระเบียบ ฯลฯ เพื่อสรา้ งภูมคิ ุ้มกันท่ดี ีในยามวกิ ฤตให้กบั สมาชกิ สงั คม ปัจจัยทางสังคมเป็นพื้นฐานที่สาคัญในการพัฒนา การพัฒนาจะไม่สามารถดาเนินไปด้วยดีหากสังคม ออ่ นแอ พน้ื ฐานจติ ใจของคนในสังคมไม่ต้งั อยู่บนหลักศีลธรรม กฎหมายไมศ่ ักดิ์ศิทธิ์ และคนไมส่ ามัคคีกัน 4. วัฒนธรรม หมายถึงวิถกี ารดาเนินชีวติ รวมถึงความเช่ือ ศาสนา ระบบคณุ คา่ และภมู ิปัญญา วัฒนธรรมมีความสาคัญในการบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ความเป็นตัวตน การดารงอยู่ในสังคมที่มีความ หลากหลายอย่างมีศักด์ิศรี ในระยะยาวการพัฒนาที่สมดุลควรสอดคล้องกับวิถีความเป็นอยู่ ค่านิยม ความเชื่อของคนในท้องถิ่น แล้วจึงค่อย ๆ ต่อยอดพัฒนาปรบั ปรุงให้เหมาะสมกับการเปล่ียนแปลงอย่าง เหมาะสม เพื่อไม่ให้วิถีการพัฒนาสร้างความแตกแยกขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ต้องมีการพัฒนาท่ีดารง ไวซ้ ่งึ วฒั นธรรมเพื่อคงความเป็นเอกลักษณข์ องทอ้ งถ่ิน ชมุ ชน และชนชาติไม่ให้ถกู กลนื หายไป (จิรายุ อิศราง กูร ณ อยธุ ยา และ ปรียานชุ ธรรมปยิ า, 2557) หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การใช้ชีวิตตามหลักพอเพียงหรือชีวิตพอเพียง หากมีความเข้าใจองค์ประกอบพ้ืนฐานของหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถูกต้อง และชัดเจนก็จะสามารถนาไปปรับใช้ได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความสุขได้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นท้ังหลักคิด และแนวทางปฏิบัติตน โดยยดึ หลกั 3 ประการ ควบคูก่ บั 2 เง่ือนไขการปฏิบัติ รายละเอยี ดดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึงความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผอู้ ื่น (มูลนิธชิ ัยพัฒนา, 2559) หลักของความพอประมาณ (พอด)ี ประกอบด้วย 5 ประการ คือ (1) พอดีด้านจิตใจ คือความเข้มแข็ง มีจิตสานึกที่ดี เอ้ืออาทร ประนีประนอม และนึกถึงประโยชน์ ส่วนรวม (2) พอดีด้านสังคม คือช่วยเหลือเก้ือกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน (3) พอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และความ ยง่ั ยืนสูงสุด จัดการอย่างฉลาด และรอบคอบ ต้องบริหารจัดการให้เป็น รักษา ฟ้ืนฟู และพัฒนาทรัพยากร พร้อมเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยใู่ หเ้ ปน็ และระวังไมใ่ ห้กิจกรรมกระทบส่ิงแวดลอ้ ม (4) พอดีดา้ นเทคโนโลยี คือการรู้จักใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม คัดสรรเทคโนโลยีที่จะใช้ให้เกิด

มนุษยสมั พนั ธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3000-1503) หนา้ 205 ประโยชน์จริง ๆ สาหรับคนหมู่มาก ด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน และ (5) พอดี ดา้ นเศรษฐกิจ จาเป็นต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อน รู้จักจัดการกับรายได้ท่ีมีอยู่ โดยยดึ หลักพออยู่ พอกิน พอใช้ ไม่ใช้จ่ายเกินตัว และเกินฐานะที่หามาได้ หารายได้ให้อยู่ได้และหาเพิ่มอย่างค่อยเป็นคอ่ ยไป พร้อมทั้ง หลกี เลย่ี งการกอ่ หนีท้ ่ไี มม่ ผี ลตอบแทน (The Creator, 2559) การใช้หลักความพอประมาณ เพื่อจัดการทรัพยากรอย่างสมดุล คือการใช้ทรัพยากรที่มี อยู่เป็นทุนเดิมของตนเองหรือภายในท้องถิ่นให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดก่อนที่จะแสวงหาทรพั ยากร แหล่งทุน วัตถุดิบหรือส่ิงของ บริการต่าง ๆ จากภายนอกจึงจะเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม พอควรกับ สภาวะทางเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม รวมท้ังวฒั นธรรมในแต่ละท้องถิ่น และภูมสิ ังคม เป็นการ ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาจากภายใน โดยสร้างความเข้มแข็งให้กับท้องถ่ิน ชุมชนก่อนแล้วขยายเชื่อมโยง กบั ภายนอกอย่างเปน็ ข้ันตอนตามความจาเป็น ในการใช้ทรัพยากรต้องคานึงถึงความจาเป็น สถานะของตนเอง และสถานการณ์แวดล้อม ต่าง ๆ โดยรักษาระดับของความพอประมาณ ไม่มากเกินศักยภาพ และไม่น้อยเกินไปจนขาดแคลน หรือไมเ่ พียงพอท่ีจะดาเนนิ การให้เกิดประโยชน์ได้ โดยการใช้อย่างมัธยัสถ์ รู้คุณค่า ดแู ลรกั ษา พัฒนาต่อ ยอดให้เพิ่มพูนและดียิ่ง ๆ ขึ้น การตัดสินใจว่าอยู่ในระดับพอประมาณน้ันจาเป็นต้องคานึงถงึ ทรัพยากร ท่ีมีอยู่ และต้องใช้ท้ังวัตถุ สิ่งแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม โดยอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบใน การวางแผน การตัดสนิ ใจ และตอ้ งอยู่บนพ้ืนฐานคุณธรรม เช่น ไม่เบียนเบียนตนเองและผู้อ่ืน ไม่ทาให้ สังคมเดือนรอ้ น ไม่ทาลายทรพั ยากรธรรมชาติ และต้ังมน่ั บนพื้นฐานความซื่อสัตย์ (จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ปรยี านุช ธรรมปิยา, 2557) 2. ความมีเหตผุ ล หมายถึงการตดั สินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ ง ตลอดจนคานึงถงึ ผลท่ีคาดวา่ จะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น อย่างรอบคอบ (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2559) เช่น หากจะทาธุรกิจก็ควรคานึงถึงเหตุและผลของการกระทาน้ัน อย่าคานึงถงึ เพยี งคู่แข่ง และพยายามจะทาตามเพียงอยา่ งเดียว (The creator, 2559) การใช้หลกั ความมเี หตผุ ล เพอ่ื จัดการทรัพยากรอย่างสมดลุ การตดั สนิ ใจดาเนินการเรอื่ งต่าง ๆ อยา่ งมเี หตผุ ล จะตอ้ งพจิ ารณาแยกแยะให้เหน็ ความเชื่อมโยง ของเหตปุ จั จัยต่าง ๆ อยา่ งตอ่ เน่ือง และเป็นระบบ จะช่วยใหบ้ รรลเุ ป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มี ข้อผิดพลาดน้อย การที่จะวางแผนดาเนินการหรือจะทาอะไรอย่างสมเหตุสมผลต้องอาศัยความรอบรู้ มีความขยนั หม่ันเพียร ความอดทนท่จี ะจัดเก็บขอ้ มูลอย่างเป็นระบบ และแสวงหาความรู้ท่ีถูกตอ้ งอยา่ ง สม่าเสมอ มีความรอบคอบในการคิด พิจารณา และตัดสินใจ โดยใช้สติปัญญา ด้วยความตั้งมั่นของจิตใจ ท่มี ีคณุ ภาพในทางทถี่ กู ทีค่ วร (จริ ายุ อศิ รางกูร ณ อยุธยา และ ปรียานชุ ธรรมปยิ า, 2557) 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัว หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2559) ต้องป้องกันความเสี่ยงในอนาคตท่ีอาจส่งผลกระทบกับตัวเอง ดังน้ันการ เตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ที่อาจจะเกิดข้ึนได้ เป็นสิ่งที่ต้องคิดให้รอบคอบ เช่นกัน (The creator, 2559) การใช้หลักการสร้างภูมิคุ้มกันในตัว เพ่ือจัดการทรัพยากรอย่างสมดุล เป็นการเตรียมตัวให้ พร้อมรับต่อผลกระทบและการเปล่ียนแปลง ไม่ว่าจะเป็นด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม

มนุษยสัมพนั ธ์กับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3000-1503) หนา้ 206 เพื่อให้สามารถปรับตัวและรับมือได้อย่างทันท่วงที การท่ีเราเห็นว่าทุกอย่างไม่แน่นอน มีความเป็นไป ได้ที่จะแปรปรวน ผันผวน และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ในการทากิจกรรมใด ๆ ก็ตาม จงึ ต้องไม่เสี่ยง ไมป่ ระมาท คิดถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ท่ีอาจเกิดข้ึน แล้วเตรยี มตนเองและผู้ที่เกีย่ วข้องให้มี ภูมติ ้านทานท่ีจะคมุ้ กันตนเองได้ เตรยี มวิธีการทางานในรปู แบบต่าง ๆ ใหพ้ ร้อมที่จะรับมือกบั การเปล่ียนแปลง จะได้สามารถดาเนินภารกิจต่อไปได้ โดยไม่ขลุกขลัก หรือหยุดชะงักกลางคัน และนามาซ่ึงความต่อเน่ือง ของการพฒั นาในระยะยาว (จริ ายุ อศิ รางกูร ณ อยุธยา และ ปรียานุช ธรรมปยิ า, 2557) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ข้อคิดเกี่ยวกับเง่ือนไขสาคัญที่จะทาให้การตัดสินใจ และ การกระทาเป็นไปอย่างพอเพียง กล่าวคือต้องอาศัยท้ังคุณธรรมและความรู้ในการพัฒนาสู่ความเพียงพอ การพัฒนาคุณภาพคนให้มีคุณธรรมกากับความรู้ คือหัวใจของหลักพอเพียง (จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ปรยี านุช ธรรมปิยา, 2557) รายละเอยี ดของ 2 เงอื่ นไขการปฏิบัติ ดงั น้ี 1. เงือ่ นไขความรู้ ประกอบดว้ ยการฝกึ ตนเองให้มคี วามรอบรู้เก่ียวกับวิชาการตา่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง อย่างรอบด้าน มีความรอบคอบ และความระมัดระวงั ที่จะนาความร้ตู ่าง ๆ มาพิจารณาให้เชื่องโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและในข้ันปฏิบตั ิ ความรู้เป็นองค์ประกอบสาคัญในการตัดสินใจอย่างถกู ตอ้ ง และเป็นประโยชน์ จึงต้องมีการแสวงหาความรู้ เพ่ิมพูนความรู้ จัดการความรู้ และต่อยอดความรู้อยู่ ตลอดเวลา ใหเ้ ท่าทันตอ่ การเปลีย่ นแปลงของโลก 2. เง่ือนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างให้เป็นพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย (1) ด้านจิตใจ คือการตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบช่ัวดี ซ่ือสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและ เหมาะสมในการดาเนินชีวิต และ (2) ด้านการกระทา คือมีความขยันหม่ันเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหน่ี รจู้ ักแบ่งปนั และรับผดิ ชอบในการอย่รู วมกบั ผู้อนื่ ในสังคม การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นให้ใช้หลัก 3 ประการ สาหรับ จัดการทรัพยากรทกุ มิตอิ ย่างสมดุลนั้น ต้องเร่ิมจากการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ คือตอ้ งมคี ุณธรรมกากับ ความรู้ในการดาเนินชีวิต (2 เงื่อนไขสู่ความพอเพียง) เพ่ือให้สามารถช่วยตนเองและยืนอยู่บนขาของ ตนเองได้อยา่ งเต็มภาคภมู ิ ไม่เขย่งก้าวกระโดดตามผู้อ่ืน โดยใช้ชีวิตอยา่ งประมาณตน เป็นเหตุเปน็ ผล และมีการเตรียมความพร้อมท่ีดีเพอ่ื รองรับการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ประมาท การทจี่ ะพึ่งตนเองได้จาเป็นตอ้ ง มีความรอู้ ย่างถูกต้องเพยี งพอท่ีจะทาการ และมีหลักการปฏิบัติท่ีจะไม่ทาให้เกิดโทษ ดังน้ัน จงึ ต้องยึด หลักคุณธรรม ความถูกต้อง เป็นเหตุเป็นผลตามความเป็นจริง ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนต่อตนเอง หรือผู้อื่น ยดึ ถือประโยชน์ส่วนรวมก่อนประโยชน์ส่วนตัว และต้องมีความเพียรอย่างสมา่ เสมอ เพ่อื ป้องกัน ข้อบกพร่องไมใ่ หเ้ กดิ ขนึ้ และพัฒนาปรบั ปรงุ ใหเ้ กดิ ผลดีย่ิงข้นึ  การประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการพฒั นาชวี ิต พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 เมื่อวันท่ี 18 กรกฎาคม 2517 ความตอนหน่ึงว่า “การพัฒนาประเทศนนั จ้าเป็นต้องท้าตามล้าดับขัน ตอ้ งสร้างพืนฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบืองต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้อง ตามหลักวิชา เมื่อได้พืนฐานม่นั คงพอสมควรและปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะ เศรษฐกจิ ขนึ ทส่ี ูงขนึ ตามลา้ ดบั ตอ่ ไป”

มนุษยสมั พันธ์กบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3000-1503) หน้า 207 โรเบิร์ต มันเดล (Rober Mundell) ศาสตราจารย์ท่ีได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ชาวแคนาดา แสดงปาฐกถาเรื่องโลกาภิวัตน์กับเศรษฐกิจพอเพียงท่ีมหาวิทยาลัยสยาม เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2550 กล่าวว่า “เศรษฐกิจพอเพียงจ้าเป็นส้าหรับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ประเทศท่ีมีเศรษฐกิจขนาดเล็กและยังไม่เข้มแข็งพอ สามารถน้าเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมได้ โดยเร่ิมจากการสร้างความเข้มแข็งของภาค ครวั เรือนท่ีเป็นหน่วยย่อยทีส่ ดุ ของระบบเศรษฐกิจ” “หากการบริโภคภาคครัวเรือน คือบริโภคอย่างพออยู่พอกิน อย่างมีเหตุมีผลตามอัตภาพจะ ท้าให้ครัวเรือนสามารถสร้างภูมิคุ้มกันด้านเศรษฐกิจครอบครัว คือสร้างการออมภาคครัวเรือนให้เกิดขึน ซึ่งเป็นฐานรากที่ส้าคัญของระบบเศรษฐกิจ เพราะเมื่อเงินทุนจากต่างประเทศมีพอเพียงต่อการลงทุน ก็จะท้าให้ภาคธุรกจิ ลดการพงึ่ พาเงนิ ทนุ จากต่างประเทศ ท้าให้การไหลของเงินทุนจากต่างประเทศที่มี ความเรว็ พอท่ีจะทา้ ร้ายเศรษฐกจิ ในประเทศมีการชะลอลง” (เสรี พงศพ์ ศิ , 2552) ภาพที่ 6.3 หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ที่มา : Mkschool team (2559) หลักสาคัญของเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับบริบทของการพัฒนาได้อย่าง ก้าวขวาง เพ่ือให้เกิดการพัฒนาคนที่สมบูรณ์รอบด้าน การพัฒนาประเทศที่สมดุล และเป็นภูมิคุ้มกัน จากภัยคุกคามหรือผลกระทบจากโลกาภิวัตน์ ในรายงานการพัฒนาคนของประเทศไทย ปี 2550 ได้เสนอ แนวปฏบิ ตั อิ ย่างเป็นรูปธรรม ดงั น้ี 1. เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาท่ีมีความสาคัญสาหรับการขจัดความยากจน และการลดความ เส่ียงทางเศรษฐกิจของคนจน หัวใจสาคัญของการแก้ไขปัญหา คือการให้คนจนหรือชุมชนสามารถพ่ึงพา ตนเองไดม้ ากข้ึน 2. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นพืน้ ฐานของการสร้างพลังอานาจของชุมชน และการพัฒนา ศักยภาพชมุ ชนให้เขม้ แข็งเพือ่ รากฐานของการพฒั นาประเทศ

มนษุ ยสัมพนั ธ์กับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (3000-1503) หนา้ 208 3. เศรษฐกิจพอเพียงช่วยให้การยกระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทด้วยการสร้างข้อ ปฏบิ ัติในการทาธุรกจิ ที่เน้นผลกาไรระยะยาวในบริบททมี่ ีการแข่งขัน 4. หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความสาคัญต่อการปรับปรุงมาตรฐานของธรรมาภิบาลในการ บรหิ ารงานภาครัฐ 5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใช้เป็นแนวทางในการกาหนดนโยบายของชาติ เพ่ือ สร้างภูมิคุ้มกันต่อสถานการณ์ที่เข้ามากระทบโดยฉับพลัน เพื่อปรับปรุงนโยบายต่าง ๆ ให้เหมาะสมยิ่งข้ึน และเพื่อวางแผนยุทธศาสตร์ในการสง่ เสริมการเติบโตท่ีเสมอภาคและย่ังยนื 6. ในการปลูกฝังจิตสานึกพอเพียงจาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนค่านิยมและความคิดเพ่ือให้ เอ้ืออานวยต่อการพัฒนา เชน่ รกั ในการทางาน สนุกกบั การเรียนและการสร้างปญั ญาใหเ้ กิดแก่ตนเอง เห็นคุณค่าของการอยู่รวมกันในสังคมและระบบนิเวศอย่างสมดุล เคารพธรรมชาติและมีความเมตตา ตอ่ เพื่อนมนุษยด์ ้วยกนั เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการใช้ชีวิตและปฏิบัติตนของคนในทุกระดับ โดย สามารถจาแนกเป็น 3 ระดับคือ (1) ระดับบุคคลและครอบครัว (2) ระดับชุมชน และ (3) ระดับประเทศ แตล่ ะระดบั ถูกจาแนกเพ่ือให้มีการพัฒนาและบรหิ ารประเทศในลักษณะดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งก่อนท่ีจะนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้ ไกลถึงในระดับประเทศน้ัน จะต้องเร่ิมจากระดับท่ีเล็กท่ีสุดอย่างระดับบุคคลและครอบครัวก่อน (The creator, 2559) รายละเอียดดงั นี้ เศรษฐกจิ พอเพียงระดบั บุคคลและครอบครัว บุคคลมีชีวิตท่ีแตกต่างกันตามแบบแผนของสังคมท่ีสลับซับซ้อน เปล่ียนแปลง และพัฒนา ตลอดเวลา และไมว่ า่ บคุ คลจะมบี ทบาทหรือหนา้ ที่ใดกส็ ามารถนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้ได้ เพราะชีวิตความเป็นอยู่ของคนเก่ียวข้องท้ังเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง และอื่น ๆ การนาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้อาจจะแตกต่างกันตามหน้าที่ของแต่ละคน และมีความจาเป็นทจี่ ะต้อง เสริมสร้างพ้นื ฐานจิตใจของคนให้มีคุณธรรม ความซื่อสัตยส์ จุ ริต และความรอบรทู้ ่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการ รองรบั การเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ท้งั ด้านวตั ถุ สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว เป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับท่ีหน่ึง เป็นแบบ พื้นฐานที่เน้นความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว เร่ิมต้นจากการเสรมิ สร้างคนในครอบครวั ให้ มกี ารเรียนรวู้ ิชาการและทกั ษะต่าง ๆ ที่จาเป็น เพ่ือให้สามารถรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในดา้ นต่าง ๆ สามารถคิด และปฏิบัติบนพ้ืนฐานของความมีเหตุผล พอเหมาะ พอประมาณกับสถานภาพ บทบาท และ หน้าท่ีของตนในแต่ละสถานการณ์ มีสตพิ ิจารณาอย่างรอบคอบกอ่ นที่จะตัดสินใจหรอื กระทาการใด และ เกิดเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีในการดารงชีวิต พร้อมท้ังเสริมสร้างคุณธรรมจนมีความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่า ของการอยู่รวมกันในสังคม และระบบนิเวศอย่างสมดุล สมาชิกครอบครัวสามารถพึ่งพาตนเอง และ ตอบสนองความต้องการข้ันพ้ืนฐานได้ มีการช่วยเหลือเก้ือกูลกัน มีความสามัคคี และมีความพอเพียง ในการดาเนินชีวิตด้วยการประหยัดและลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น จนสามารถดารงชีวิตอยอู่ ย่างมีความสุข ทง้ั ทางร่างกาย และจติ ใจ (The creator, 2559)

มนษุ ยสัมพนั ธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (3000-1503) หนา้ 209 สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (2558) กล่าวถึงการปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงสามารถปฏิบัติ ดังน้ี (1) ยึดหลักประหยัด ตดั ค่าใช้จ่ายท่ีไม่จาเป็น ลด ละ ความฟุ่มเฟื่อยในการ ซ้ือสินค้า (2) ประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพ (3) ไม่ แก่งแย่งแสวงหาผลประโยชน์ท่ีรุนแรงและไม่ถูกต้อง (4) ขวนขวายหางานพิเศษท่ีสุจริตทาเพื่อให้มีรายได้ เพมิ่ จนสามารถใช้จ่ายได้พอเพยี ง และ (5) ปฏบิ ัตติ นในแนวทางทดี่ ี ลด ละ อบายมุขใหห้ มดสิ้น ภาพที่ 6.4 เศรษฐกิจพอเพียงระดบั บุคคลและครอบครวั ทีม่ า : สยามรัฐออนไลน์ (2559) กรมส่งเสริมการเกษตร (2559) กล่าวถึงวิธีการพัฒนาชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงว่า บุคคลควรปฏบิ ัติดงั นี้ 1. ค้นหาความต้องการของตนเองให้พบว่ามีความต้องการอะไร มีเป้าหมายในการดาเนินชีวิต อยา่ งไร เช่น ต้องการมชี ีวติ ท่ีมอี นาคตก้าวหน้า มีความเป็นอสิ ระ มีเวลาเพอื่ ครอบครวั และสงั คม มีทรพั ยส์ ิน เพียงพอ มีความสขุ และหลดุ พ้นจากความยากลาบาก 2. การวิเคราะห์ข้อมูลของตนเองและครอบครัว ดังน้ี (1) ศักยภาพของตนเอง เช่น ความรู้ ความสามารถ ความชานาญ (ทักษะ) ชื่อเสียง ประสบการณ์ ความมั่นคง ความก้าวหน้า สภาพทางการเงิน การสร้างรายได้ การใช้จ่าย การออม คุณธรรมและศีลธรรม และ (2) ศกั ยภาพของครอบครวั เช่น วิถี การดารงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว ความเชอื่ ทัศนคติ คา่ นิยม วัฒนธรรม ประเพณี คณุ ภาพ ชวี ิตของคนในครอบครัว ฐานะทางสังคม ฐานะทางการเงินที่เป็นทรัพย์สินและหน้ีสินของครัวเรือน รายได้ และรายจ่ายของครวั เรอื น ซง่ึ การวิเคราะห์ข้อมูลทัง้ หมดจะทาให้รู้สถานภาพ รู้สาเหตขุ องปัญหา รู้ปัจจัย ทเ่ี ก่ียวข้อง และรู้ผลกระทบต่าง ๆ ท่ีเกิดขนึ้ ทั้งทางเศรษฐกจิ สงั คม เทคโนโลยี และทรัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม 3. วางแผนการดาเนินชีวิต โดยท่ี (1) พัฒนาตนเองให้มีการเรียนรู้ต่อเน่ือง (ใฝ่เรียนรู้) สร้างวินัย กับตนเอง โดยเฉพาะวินัยทางการเงิน (2) สร้างนิสัยท่ีมคี วามคิดกา้ วหน้ามุ่งมั่นในเป้าหมายชีวิต หมั่น พจิ ารณาความคิด ตัดสนิ ใจแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยใช้ความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) มีความ

มนุษยสมั พันธ์กบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3000-1503) หน้า 210 รบั ผิดชอบต่อตนเอง สังคม และครอบครัว (3) หมั่นบริหารจิตใจให้มีความซ่ือสัตย์ สุจริต รักชาติ เสียสละ สามัคคี เที่ยงธรรม และมีศีลธรรม (4) ควบคุมจิตใจให้ตนเองประพฤติในส่ิงที่ดีงาม และสร้างสรรค์ความ เจริญรุ่งเรือง (5) พัฒนาจิตใจ ให้ลด ละ เลิก อบายมขุ กิเลส ตัณหา ความโกรธ และความหลง (6) เสริมสร้าง และฟ้ืนฟูความรู้ คุณธรรมของตนเอง และครอบครัว เช่น เข้ารับการฝึกอบรม ฝึกทักษะทางวิชาการ หรือ วิชาชพี หมัน่ ตรวจสอบ และแก้ไขข้อบกพรอ่ งอยู่เสมอ และ (7) ปรับทศั นคติเชิงบวก 4. จดบนั ทึกและทาบัญชีรายรบั –รายจา่ ย 5. สรุปผลการพัฒนาตนเองและครอบครัว โดยพิจารณาจาก (1) ร่างกายมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง (2) อารมณ์ต้องไม่เครยี ด มีเหตุมผล มคี วามเชอื่ ม่ัน มีระบบคิดเป็นระบบทเ่ี ป็นขั้นเป็นตอน มี แรงจูงใจ กล้าคิดกล้าทา ไม่ท้อถอย หรือหมดกาลังใจเมื่อประสบปัญหาในชีวิต และ (3) ส่ิงเหล่าน้ีได้ ลด ละ เลกิ แล้วหรอื ไม่ ไดแ้ ก่ รถป้ายแดง สถานเริงรมย์ และการพนัน เป็นตน้ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว เป็นความสามารถในการดารงชีวิตไดอ้ ย่าง ไม่เดือดร้อน มีความเปน็ อยู่อย่างประมาณตน มีเหตุมีผลตามบทบาทหน้าท่ี และร้จู ักคิดพิจารณาก่อน ลงมือปฏิบัติสิ่งใด เมื่อใช้ทักษะความรู้ควบคู่กับหลักคุณธรรมในการดาเนินชีวิตแล้วก็จะต้องรู้จักให้ รู้จักแบ่งปัน เห็นได้ว่าการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวจะทาให้สามารถ พึ่งพาตนเอง และเริม่ ช่วยเหลอื คนรอบข้างได้ การประยกุ ตใ์ ช้หลักความพอเพียงในระดบั บคุ คลและครอบครัว การหาเล้ียงชีพ (ผลิตและบริการ) อย่างพอเพียง โดยคานึงถึงทรัพยากรในด้านต่าง ๆ ท่ีมี อยู่ในพื้นท่ี และความสามารถในการบรหิ ารจัดการทั้งความรู้ เทคโนโลยี ประสบการณ์ และศักยภาพ ของคนและชุมชน แล้วเลือกผลิตสินค้าที่ใช้ทรัพยากร และปัจจัยการผลิต สอดคล้องกับสภาพความเป็น จริงของคนและภูมิหลัง โดยคานึงถึงกรรมวิธีการผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดโทษต่อคน สงั คม และสิ่งแวดล้อม หรือใช้วิธกี ารท่ีเอารัดเอาเปรียบผอู้ ่ืน โดยการทุจริต ผิดกฎหมาย ไมม่ ีจรรยาบรรณ เพียงเพื่อแสวงหา ผลประโยชน์ส่วนตัวอย่างไม่เป็นธรรม รวมถึงการวางแผนท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ การผลิตที่เหมาะสม กับความต้องการของผู้บริโภค คานึงถึงความคุ้มค่าของการลงทุน และการจัดการความเส่ียง ด้วยความ ซ่ือสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน และใช้ความรู้ทางวชิ าการด้วยความรอบคอบ และระมัดระวังอย่าง มีสติ ตลอดจนแสวงหาความรู้อยา่ งต่อเน่ืองกอ่ ให้เกดิ ความรอบรู้ และการเพิ่มพนู ปญั ญา เพ่ือใหค้ วาม หนา้ อย่างเปน็ ข้นั เป็นตอน และเกดิ ความสมดลุ ในชีวติ การรักษาทรัพย์อย่างพอเพียง เมื่อแต่ละคนประกอบอาชีพทามาหากิน ทาให้ได้ทรัพย์มา ครอบครอง และใช้เป็นปัจจัยในการบริโภคและดารงชีพแล้วก็จาเป็นต้องรู้จักรักษาทรัพย์ให้มีใช้นาน ๆ เช่น ทรัพย์ส่วนบุคคลต้องมีการใช้อย่างประหยัด ทะนุบารุงรักษาสิ่งของให้คงสภาพอยู่คงทน เพื่อให้ใช้ ประโยชนไ์ ดย้ าวนานและคมุ้ คา่ หรอื การมสี ่วนร่วมใสใ่ จในการดแู ลรักษาสาธารณสมบัติ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของ สังคม การกั ษาสมดลุ ของธรรมชาติ การรักษาขนบธรรมเนยี บประเพณี วัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชาติ การบริโภคอย่างพอเพียง คือการใช้ทรัพยากร และการใช้จ่ายทรัพยอ์ ย่างมัธยัสถ์ ซึ่งต่างจาก ความตระหนี่ทีเ่ ปน็ โทษกบั ตนเองและสังคม เพราะผ้ทู ี่มีความตระหน่ีเปน็ บคุ คลทม่ี ีความเหน็ แก่ตัว แต่ ผู้ท่ีมีความมัธยัสถ์เป็นบุคคลที่รู้จักกาละเทศะในการจับจ่ายใช้สอย มีความพอประมาณในการใช้จ่าย อย่างสมเหตุสมผล สมดุลกับรายรับและอัตภาพของตนเอง คานึงถึงความประหยัด ความจาเป็น และ ไม่ฟุ้มเฟ้อ หากไม่มีเหตุจาเป็นหรือไม่เหมาะสมก็ไม่ต้องใช้ ไม่ต้องซ้ือ โดยคานึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้น

มนุษยสัมพันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (3000-1503) หนา้ 211 จากการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ อย่างรอบคอบ ท้ังต่อตนเอง ผู้อื่น สังคม และส่วนรวม โดยใช้สติปัญญา พิจารณาตามเหตผุ ล และความเป็นจริงอย่างไม่เข้าข้างตนเอง (จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ปรยี านุช ธรรมปิยา, 2557) ภาพท่ี 6.5 การออมทรัพยส์ นิ เพือ่ ตนเองและครอบครัว ทมี่ า : Home business of america (2559) การใช้ทรพั ยอ์ ย่างพอเพยี ง ควรมีการแบ่งสัดส่วนของทรพั ย์ในการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม ทั้งเพ่ือ การดาเนินชีวิตภายในครอบครัว การแบ่งปันเผื่อแผ่แก่ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง การทาบุญตามความเชื่อ และความศรัทธาเพื่อประโยชน์ในภายภาคหน้า การสงเคราะห์ผู้ยากไร้ขัดสนในสังคม ตลอดจนการออม การลงทนุ และการทาประกนั ในรูปแบบต่าง ๆ เพ่อื เตรียมพร้อมรับการเปล่ยี นแปลง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการพัฒนาที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคนให้สามารถ พ่ึงพาตนเองได้ ยึดหลักทางสายกลาง มีการพัฒนาเป็นขั้นตอน และไม่สุดโต่ง เป็นหลักการพัฒนาท่ีเน้น องค์รวมโดยมุ่งความสุขของบคุ คลทง้ั ดา้ นวัตถุ สิง่ แวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม โดยไม่ปฏิเสธโลกาภิวฒั น์ แต่ให้มีความรู้เท่าทัน มีความสามารถรับความผันผวนของการเปลี่ยนแปลง การประยุกต์ใช้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงทาได้ในทุกระดับ และทุกมิติ ทั้งระดับบุคคลและครอบครัว ระดับชุมชน และ ระดับประเทศ โดยนามาพิจารณาใช้ตามความเหมาะสมในแต่ละกรณใี ห้สอดคล้องกับเงื่อนไข และสภาวะที่ เผชญิ อยู่ เพื่อสามารถขบั เคล่ือนกิจกรรมตา่ ง ๆ ในสงั คมให้มีการพัฒนาอย่างสมดลุ และยัง่ ยืน สรุปได้วา่ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ หรือท่ีเรียกว่า 3 ห่วง ได้แก่ ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และการมีภูมิคุ้มกันในตัว องค์ประกอบทั้ง 3 ต้องควบคู่กับ 2 เงื่อนไขการปฏิบัติ คือ เง่ือนไขความรู้ ได้แก่ ความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ส่วนเง่ือนไขคุณธรรม ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน เพียร และสติปัญญา การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดาเนินชีวติ เป็นการปฏบิ ัตติ นตามหลักการขององคป์ ระกอบของนิยาม 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ท่ีมีความสมั พนั ธ์ เกีย่ วเนื่องในการดาเนินชีวิตทั้งในระดับบุคคลและครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศชาติ เศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน เป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับที่สอง เป็นแบบก้าวหน้าเน้น ความพอเพียงในระดับกลุ่มหรอื องคก์ ร คือเม่ือบคุ คลและครอบครัว มีความพอเพียงในระดับท่ีหน่ึงแล้วก็ จะรวมพลังกันในรปู กลมุ่ หรือสหกรณ์ เพื่อดาเนนิ งานในด้านการผลิต การตลาด สวสั ดิการ การศึกษา

มนุษยสมั พันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3000-1503) หนา้ 212 สงั คม และศาสนา โดยอาจจะได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งทัง้ หน่วยราชการ มลู นธิ ิ และ เอกชน และชุมชนพอเพียง ประกอบด้วย บุคคลและครอบครัวที่ใฝ่หาความก้าวหน้าบนพื้นฐานปรัชญา ของความพอเพียง คือมคี วามรู้และคณุ ธรรมเปน็ กรอบในการดาเนนิ ชวี ิตจนสามารถพึ่งตนเองได้ ภาพที่ 6.6 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบ \"บ้านนา้ ทรัพย์\" จังหวัดเพชรบรุ ี ท่มี า : OKnation (2556) เมื่อบุคคลรวมกลุ่มกันทากิจกรรมท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับสถานภาพ ภูมิสังคมของแต่ละ ชมุ ชน โดยพยายามใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผ่านการร่วมแรงร่วมใจ รว่ มคดิ ร่วมทา แลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั บุคคลหลายสถานภาพเพือ่ สร้างประโยชนส์ ุขของคนส่วนรวม และ ความก้าวหน้าของชมุ ชนอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยสติปัญญา ความสามารถของทุกฝา่ ยบนพื้นฐานของ ความซ่ือสัตย์สุจรติ อดกล้ันตอ่ การกระทบกระทง่ั ขยันหม่ันเพียร มีความเออ้ื เฟื้อเผ่ือแผ่ และช่วยเหลือ แบ่งปันกันระหว่างสมาชิกชุมชน จนนาไปสู่ความสามัคคีของคนในชุมชน ซ่ึงเป็นภูมิคุ้มกันท่ีดี อันจะ นาไปสู่การพัฒนาของชุมชนท่ีสมดุล พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ กระท่ังสามารถพัฒนาไปสู่ เครอื ข่ายระหวา่ งชมุ ชนต่าง ๆ (The creator, 2559) การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชนนั้นถือเป็นการใช้หลักปรัชญา ในขอบเขตท่ีกว้างข้ึนกว่าระดับบุคคลและครอบครัว ซึ่งต้องอาศัยความร่วมแรง ร่วมมือ และร่วมใจ จากคนจานวนมากข้ึน เพื่อร่วมกันทาสง่ิ ต่าง ๆ ที่เกิดประโยชน์แก่คนกลุ่มอื่นในชุมชนด้วย ไม่ได้สร้าง ประโยชน์ให้แตต่ นเองหรือครอบครัวเพียงอย่างเดียว กรอบแนวความคดิ พื้นฐานสาหรับการพัฒนาคนและชุมชนอยา่ งยั่งยืน เสรี พงศ์พิศ (2550) ได้นาเสนอกรอบแนวความคิดพื้นฐานสาหรับการพัฒนาคนและชุมชน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย ปรัชญา กรอบ เกณฑ์ และตัวชี้วัด ดังที่ได้แสดงไว้ (ตารางท่ี 6.1 และตารางที่ 6.2)

มนุษยสมั พันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (3000-1503) หน้า 213 ตารางที่ 6.1 กรอบแนวความคดิ พ้นื ฐานการพัฒนาคนและชุมชนตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปรัชญา กรอบ เกณฑ์ ตวั ชีว้ ดั พอประมาณ คืนสูต่ ้น มีคณุ ธรรม เป็นธรรม แบง่ ปัน ไม่เอาเปรียบคนอนื่ ไมเ่ อาเปรยี บธรรมชาติ เอา มภี มู ิคมุ้ กัน กาหนดชวี ติ ถกู ต้อง ดี งาม พออยู่ คุณธรรมนาชีวิต นาธุรกิจการงาน ไม่เอาเงินนาหน้า คืนสรู่ ากเหงา้ พอกิน พอใช้ ปัญญาตามหลัง เงินเป็นบ่าวที่ดี เป็นนายที่เลว “จะ มหี ลักวชิ า เลอื กเงนิ หรือชีวติ ” รคู้ ุณคา่ ที่มาของตนเอง มีแผน เอกลกั ษณ์ ภูมิปญั ญา ภมู ิใจในกาพดื ถน่ิ ฐานบ้านเกิด รากเหงา้ เผ่าพันธ์ ท้องถน่ิ บรรพบุรษุ ภมู ิใจในของกนิ ของใช้พ้นื บ้าน กินอยู่ เปน็ มอื อาชพี แบบไทย ๆ วิถไี ทย เข้าถงึ คณุ คา่ มากกวา่ ยดึ ติด ระบบชวี ิตท่ดี ี ขอ้ มูล ความรู้ “ร้เู ขา รู้ รปู แบบ เรา” ร้เู ทา่ ทนั การ ระบบงานทีด่ ี เปลี่ยนแปลง ไม่ทาตาม ๆ กนั เลยี นแบบแต่ไมเ่ รยี นรู้ กนิ อยู่อย่าง มขี ้อมลู อย่างมคี ุณภาพ รตู้ วั เอง รทู้ ้องถิ่น รู้ การจัดการทดี่ ี ชวี ติ คือการลงทุน แผน ศักยภาพ รู้ “ทนุ ชมุ ชน” รปู้ ญั หา ร้โู ลกาภิวัฒน์ ชีวติ แผนชมุ ชน แผน แสวงหาความรู้ ศกึ ษาในระดบั สงู ขน้ึ ตามศักยภาพ ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน ของตนเอง องคก์ ร งบประมาณครอบครวั รายรบั รายจ่าย แผนการลงทนุ คณุ ภาพ มัน่ คง ยง่ั ยนื เปน็ ตัวของตวั เอง ไม่ใชน่ กึ จะทาอะไรก็ทา ไม่ควกั ง่าย จ่ายเรว็ ไม่เดนิ หา้ งอย่างไรเ้ ป้าหมาย มีแผนยทุ ธศาสตร์ ความสมั พันธด์ ีกบั ทกุ และแผนงานท่มี ฐี านขอ้ มูล ความรู้ และหลกั คิดท่ดี ี คนครอบครวั อบอนุ่ (ปัญญา) ชุมชนเขม้ แขง็ องค์กร ม่ันคง มีเพอี่ น ชมรม ทาด้วย “อิทธบิ าทส”ี่ (ฉันทะ วิรยิ ะ จติ ตะ วิมงั สา) สมาคม ใจรกั รูจ้ รงิ รูร้ อบ รู้ลกึ และทาดมี คี ณุ ภาพดว้ ยความ “พงึ่ ตนเอง” ในด้าน สม่าเสมอ การผลติ การบรโิ ภค การแปรรูป การตลาด มเี วลาใหค้ รอบครัว ไมบ่ า้ งาน หาเงนิ จนลมื ชวี ิต มีแผน การออม และระบบ ชีวิตครอบครวั ดี มีสวสั ดกิ ารมั่นคง เปน็ ประโยชนต์ อ่ สวสั ดกิ าร ชมุ ชน สงั คม ไม่เอาเปรียบผอู้ ่ืน ไมเ่ อาตัวรอดคนเดยี ว เน้นความสัมพนั ธ์ ไมเ่ อาแตญ่ าตพิ ีน่ อ้ ง เพ่ือนฝงู พรรคพวก หรืออย่อู ย่าง เครือข่ายมากกวา่ โดดเดย่ี ว “ระบบดที าใหค้ นทาถกู ไดง้ า่ ย ทาผดิ ไดย้ าก” กฎระเบียบและการ ควบคมุ มีพรหมวิหารสี่ มีเศรษฐกจิ ชมุ ชนทเ่ี ปน็ ระบบ ไมท่ าอย่างเดียว 2 อย่าง แต่ 20-30 อยา่ ง เพื่อตอบสนองความตอ้ งการ ของท้องถ่ิน ทงั้ เกษตรผสมผสาน วสิ าหกิจชุมชน สหกรณ์ SMEs เน้นการบรโิ ภคในท้องถนิ่ กอ่ นพง่ึ ตลาดภายนอกหรือสง่ ออก สร้างแรงบันดาลใจ ใจดี ใจกว้าง ใจสู้ ใจถึง (เข้าใจ- เข้าถึง) มธี รรมาภบิ าล บรรษัท โปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่เนน้ แต่ผลลพั ธ์ ให้ความสาคัญกบั กระบวนการ

มนษุ ยสมั พันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (3000-1503) หนา้ 214 ตารางที่ 6.2 กรอบแนวความคิดเพ่อื การพัฒนาคนและชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กรอบ เกณฑ์ ตวั ชี้วัดของเศรษกิจพอเพียงทค่ี วรปฏบิ ัติ เพือ่ การพฒั นาคนและชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยืน ปรัชญา กรอบ เกณฑ์ ตัวชวี้ ดั พอประมาณ มีคุณธรรม แบ่งบนั ไม่เอาเปรยี บคน  ไม่โกงกนิ โกงเวลา โกงทรัพยส์ นิ ของผอู้ ื่น ของ ถกู ตอ้ ง ดี งาม อื่น ไมเ่ อาเปรยี บธรรมชาติ สานกั งาน องคก์ าร ของสว่ นรวม คุณธรรมนาชีวติ นาธุรกิจ  ใช้สารเคมี เผาขยะ สร้างมลพษิ ตดั ไมท้ าลายปา่ ทา การงาน ใหแ้ หล่งนา้ อากาศและสิ่งแวดล้อมเปน็ พิษ ไม่เอาเงินนาหนา้ ปัญญา  ไมเ่ อาเปรยี บผ้อู ่ืนในเร่ืองทรัพยากรดนิ นา้ ปา่ ไม่ ตามหลงั เอาทรพั ยากรสาธารณะมาเปน็ ของตนเอง  ไมข่ ายของเอากาไรเกินควร แลกเปล่ยี นแบบไม่เปน็ ธรรม  ปฏิบัตธิ รรม รว่ มกจิ กรรมทางสงั คม งานบญุ (สาหรับครอบครัวและ ประเพณี ทาบุญบ้างหรอื ไม่ ทงั้ ชุมชนพรอ้ มเพียงกนั ชุมชน) หรอื ไม่  แบง่ ปนั รายได้ของตนเอง ของกลุ่ม องคก์ ารให้คน อ่นื ให้ชุมชน ใหส้ ังคมบ้างหรอื ไม่  พอ่ แม่เปน็ ตวั อย่างทางคุณธรรมใหล้ กู หรือไม่ สอน ลูกเรือ่ งคณุ ธรรมหรอื ไม่หรือเลยี้ งลกู ดว้ ยเงิน ด้วยทวี ี ดว้ ยวตั ถุ  ครอู าจารยเ์ ปน็ ตวั อย่างทด่ี ใี ห้ศษิ ยห์ รอื ไม่ หรือสอน แต่ไม่ทา  ผนู้ าชุมชนเป็นผูน้ าที่ดี เป็นธรรม เป็นตวั อยา่ งทด่ี ีให้ ชมุ ชนหรือไม่  เคารพกฎระเบียบของสงั คมหรอื ไม่ กฎจราจร การ เสยี ภาษี และกฎหมายต่าง ๆ รวมทัง้ ระเบยี บปฏบิ ตั ิ ขอ้ ตกลงต่าง ๆ ยมื เงนิ กลุ่มแลว้ จ่ายดอกเบยี้ และคนื เงินตามกาหนดหรือไม่ รู้จกั ตวั เอง รู้ รู้คุณคา่ ทม่ี าของตนเอง  การใชจ้ า่ ยในครัวเรอื นเกนิ ตัวเกนิ รายไดห้ รือไม่ รากเหง้า เอกลักษณ์ ภมู ิปญั ญา ฟุ่มเฟือยมากน้อยเพยี งใด ประเมนิ ตนเองอย่างเป็น ภมู ใิ จ เชอื่ มัน่ ท้องถ่นิ ภูมใิ จกาพดื ถ่ิน กลางหรือไม่ ลดค่าใช้จ่ายบางอย่างลงไดห้ รือไม่ เชน่ ฐานบา้ นเกิด รากเหง้า ค่านา้ มนั รถ ค่าโทรศัพท์ ของกนิ ของใช้ ของฟุ่มเฟือย เผา่ พันธ์ บรรพบรุ ษุ ภูมิใจ เหล้า หวย อบายมุข ลด ละ เลกิ ได้หรือไม่ ในของกิน ของใชพ้ ้ืนบ้าน  มีความสามคั คี ร่วมมือกัน ช่วยเหลอื เก้อื กูลกนั มาก กนิ อยแู่ บบไทย ๆ วถิ ไี ทย นอ้ ยเพยี งใด หรอื มแี ต่การแขง่ ขันชิงดีชงิ เดน่ ขดั แยง้ เขา้ ถึงคุณคา่ มากกวา่ ยึด กันมาก ติดรปู แบบ  ครอบครวั ชุมชน กลุ่ม องคก์ รในชุมชนไมล่ งทนุ ทา โครงการหรือกิจกรรมทใี่ หญ่เกินตวั ตอ้ งลงทุนมาก เกินไป ตอ้ งกู้หน้ยี ืมสนิ และเสย่ี งมากเกนิ ไป ทาใหม้ ี ปัญหาความเครียด ปัญหาไมม่ เี วลาให้ครอบครวั สนใจ แต่รายได้ กาไรทางการดาเนินการ

มนุษยสมั พนั ธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3000-1503) หน้า 215 ตารางท่ี 6.2 (ตอ่ ) กรอบ เกณฑ์ ตวั ชีว้ ดั ของเศรษกิจพอเพยี งทคี่ วรปฏบิ ตั ิ เพอื่ การพฒั นาคนและชมุ ชนอยา่ งยัง่ ยนื ปรัชญา กรอบ เกณฑ์ ตัวชวี้ ัด มชี วี ิตเรยี บ ไมห่ นา้ ใหญ่ ไหลตาม  ลกู หลานเคยกราบพ่อแม่ ป่ยู า่ ตายาย อย่างน้อยปี งา่ ย พออยู่ กระแส รู้จักกาละและ ละคร้ัง ปีใหม่ สงกรานต์หรือวันเกดิ ท่านหรือไม่ พอกนิ พอใช้ เทศะ มีความสขุ ตาม  อายไหมทีจ่ ะบอกวา่ พ่อแมเ่ ป็นใคร คนบ้านไหน เชอ่ื มน่ั อตั ภาพ ขนาดปรมิ าณท่ี จงั หวดั ไหน ภมู ิใจในบพุ การีและถน่ิ ฐานบา้ นเกิด พอดี ไม่มากเกนิ ไป ไม่ หรือไม่ ใหญเ่ กินไป ไมต่ ดิ แบรนด์  ร้จู กั ประวัตคิ วามเปน็ มาของบ้านเกดิ ของบรรพบุรษุ คิดแตส่ รา้ งภาพ ไมไ่ หล ของตนหรอื ไม่ มกี ารศกึ ษารวบรวม เรียบเรียบ ตามกระแส ตามโฆษณา ประวตั ศิ าสตรห์ ม่บู ้านของตนเองหรอื ไม่ บา้ บรโิ ภค  กินพชื ผักอาหารพ้ืนบา้ นแบบร้คู ณุ ค่า ใชข้ ้าวของ เคร่อื งใช้พื้นบ้านแบบไทย ๆ บา้ งหรอื ไม่  สนใจเรยี นรู้ ศกึ ษาคณุ คา่ ความหมายของภมู ปิ ญั ญา ไทยบา้ งหรอื ไม่ มีการรวบรวมและการสบื ทอด ถ่ายทอดภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินจากคนเฒ่าคนแก่ ผ้รู ู้ ปราชญท์ อ้ งถิ่นไปสูค่ นร่นุ ต่อไปหรอื ไม่  พอ่ แม่เคยสอนลกู ใหเ้ ขา้ ใจเรอ่ื งเหลา่ น้ีหรือไม่ ทาตัว เปน็ แบบอย่างใหล้ กู หรือไม่  โรงเรยี นให้ท้องถ่นิ สอนเรอ่ื งเหลา่ น้ใี ห้นักเรยี น นกั ศกึ ษาหรอื ไม่ อยา่ งไร เพียงใด ตระหนักในเร่อื ง เหล่านี้ คลุกคลี รว่ มทกุ ขร์ ่วมสขุ กบั สังคม มี ปฏสิ ัมพนั ธ์และช่วยเหลอื ชุมชนและท้องถ่ินหรอื ไม่  ชมุ ชนจดั ให้มีงานบุญ งานประเพณี พิธกี รรมท้องถนิ่ อยา่ งพร้อมเพรยี งกันหรอื ไม่ หรอื ทาไปด้วยร้คู ณุ คา่ หรอื เพยี งพอเพอื่ จะได้มีการฉลอง ไดข้ ายของ ไดก้ นิ เหลา้  รวบรวม เรยี บเรยี งประวัตศิ าตรห์ มู่บ้านของตนเอง หรือไม่  จดั งานบวช งานศพ งานแต่งงาน งานบุญ แบบไมใ่ ห้ น้อยหนา้ คนอ่นื แม้จะต้องเป็นหนสี้ นิ มากมายหรือไม่ ทาเพยี งเพอื่ เอาหน้าและไม่น้อยหน้าคนอ่นื หรือไม่  ซอ้ื ขา้ วของเคร่ืองใช้ รถยนต์ เสอ้ื ผา้ กระเปา๋ รองเท้า แพงเกนิ ตวั หรือไม่  ชอบควักงา่ ยจ่ายเรว็ จนเป็นหนส้ี ินมากมาย สรา้ ง วงจรอุบาทว์ให้ตนเองแบบเอากองนี้ไปใส่กองโนน้ เอา บัตรนีไ้ ปจ่ายบัตรโนน้ เวยี นไปเวยี นมาแบบหาทาง ออกไม่ได้  สารวจปรมิ าณเสอ้ื ผ้า กระเป๋า รองเท้าในต้เู สยี ใหม่ วา่ มากเกินไปหรือไม่

มนุษยสมั พันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3000-1503) หน้า 216 ตารางท่ี 6.2 (ต่อ) กรอบ เกณฑ์ ตวั ชว้ี ดั ของเศรษกิจพอเพียงทีค่ วรปฏบิ ัติ เพ่ือการพฒั นาคนและชมุ ชนอยา่ งยั่งยนื ปรชั ญา กรอบ เกณฑ์ ตวั ช้ีวดั  หน้าใหญใ่ นการกิน การแต่งตัว เคร่ืองประดบั แม้ จะต้องซ้อื แพง ๆ ใส่แค่ปลี ะหนกย็ อม  ชอบอวดร่าอวดรวย ขึน้ เหลา เข้าโรงแรมหรเู พอ่ื ให้ ดดู ี ชอบเข้าเมอื งเข้าอาเภอ เดินหา้ ง ชอบปง้ิ ไปเมอื ง นอกแม้ตอ้ งก้สู หกรณ์ กธู้ นาคาร ขอใหไ้ ดไ้ ป ไดถ้ ่ายรูป มาอวดคนอื่น  ตดิ แฟช่ัน ไหลตามกระแส เปลยี่ นข้าวของตาม โฆษณา กลวั นอ้ ยหน้าคนอนื่ หรอื ไมร่ ู้เท่าทนั เล่ห์ โฆษณาบา้ เลือด  ทางานหาเงินแบบเอาเปน็ เอาตายจนไมม่ เี วลาให้ ครอบครัวหรอื ไม่ ต่นื ขน้ึ มาคิดแต่เรอ่ื งจะหาเงนิ จะรวย  เคยตั้งคาถามให้ตัวเองบา้ งหรอื ไม่ว่าความสขุ คือ อะไร ทาอยา่ งไรจงึ จะมีความสุข มอี ะไรมากไปกวา่ เงิน  พ่อแม่เป็นตัวอย่างทด่ี ีใหล้ ูกในการดาเนินชวี ติ หรือไม่ การใช้จา่ ย การกนิ การอยู่ ไปกินข้าวนอกบา้ น สัง่ อาหารเตม็ โตะ๊ กินทิ้ง ๆ ขวา้ ง ๆ ชว่ ยให้ลกู เขา้ ใจ หรือไม่ว่าควรเลอื กอะไรระหวา่ ง “เงินกบั ชวี ติ ”  ชมุ ชนทาอะไรเกินตวั ลงทุนกอ่ สรา้ งทางวัตถมุ าก เกินไป ไมไ่ ดส้ นใจการพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพชีวติ  ชุมชนสรา้ งค่านิยมผดิ ๆ ในเรือ่ งการแข่งขนั กนั มี บา้ นใหญ่ ๆ รถยนตค์ ันโต ๆ ขา้ วของเครอ่ื งใช้หรูหรา ราคาแพง  ผูน้ าปลอ่ ยใหม้ กี ารโฆษณาและขายของมากเกินไป (บางแห่งมีตลาดนดั เกือบทุกวัน) หรอื ไม่ มกี ารจดั งาน บุญ งานประเพณี แบบหาเหตุผลไดเ้ สมอ บ่อยเกินไป หรือไม่ มเี หตุผล มีหลักวิชา กนิ อยอู่ ย่างมีข้อมูล อย่าง  สนใจหาข้อมูลของกินของใชท้ ีซ่ ้ือจากตลาดหรอื ไม่ มคี ณุ ภาพ ตัดสนิ ใจด้วย ว่ามคี ณุ คา่ อาหาร สารเคมตี กคา้ ง องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ข้อมูล ความรู้ “รเู้ ขา รู้ เพียงใด เรา” รู้เทา่ ทันการ  สนใจติดตามขา่ วสารบา้ นเมอื ง สนใจอา่ นหนังสือหา เปล่ยี นแปลง ไมต่ าม ๆ ความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสารให้ทนั โลกหรอื ไม่ กัน รูต้ ัวเอง ร้ทู อ้ งถิน่ รู้  ชอบดูแตล่ ะครทีวี เกมโชว์ รายการบนั เทิง ไมส่ นใจ ศักยภาพ รู้ “ทุนชมุ ชน” รู้ รายการทม่ี สี าระ และความร้หู รือไม่ ปัญหา รโู้ ลกาภวิ ฒั น์  มขี อ้ มลู ความร้เู รื่องทุนของทอ้ งถิน่ หรือไม่ หรือ แสวงหาความรู้ ศกึ ษาใน ชอบแตแ่ บบคนอนื่ เห็นเขาทาอะไรรวยกท็ าตามเขา ระดบั สงู ขน้ึ ตามศักยภาพ เขา้ ใจหรอื ไมว่ า่ ทนุ ทรัพยากรมอี ะไรบ้าง ทนุ ทาง ของตนเอง ปัญญาและทุนทางสงั คมหมายถงึ อะไร มีอะไรบ้าง

มนษุ ยสมั พันธ์กบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3000-1503) หนา้ 217 ตารางที่ 6.2 (ต่อ) กรอบ เกณฑ์ ตวั ชวี้ ัดของเศรษกจิ พอเพยี งทค่ี วรปฏิบัติ เพ่อื การพัฒนาคนและชมุ ชนอย่างยั่งยนื ปรัชญา กรอบ เกณฑ์ ตัวช้ีวดั  สนใจหาความรูแ้ ละลงมอื ทากนิ ทาใช้เองบา้ ง โดยไม่ ตอ้ งซอ้ื หมดทกุ อย่างหรือไม่ เช่น ทานา้ ยาลา้ งจานเอง ปลกู พริก มะเขือ ผักสวนครัว ทดแทนการซ้ือจาก ตลาดบ้าง ถ้ามีท่ดี ินหรือที่ว่าง  พยายามขวนขวายหาความรู้ การฝกึ อบรม การ เรยี นต่อตามศักยภาพหรอื ไม่ หรอื คดิ วา่ พอแลว้ ทกุ อยา่ ง  ไปร่วมการประชมุ หรือการอบรมสัมมนาบ้างหรือไม่ เม่ือมโี อกาส  ชุมชนุ จดั ให้มกี ารเรยี นรู้ตามความตอ้ งการของ ชาวบ้านมากน้อยเพียงใด  มกี ารเรยี นระดบั ประถม มธั ยม อดุ มศึกษาใน ทอ้ งถนิ่ หรือใกล้บา้ นสาหรับเดก็ และผู้ใหญ่ (กศน.) หรือไม่  มีการจดั การไปศกึ ษาดูงานตา่ งถ่ิน ต่างจังหวัด ตา่ ง ภาคบา้ งหรอื ไม่ (ไปดูงานจรงิ ๆ ไม่ใช่ไปเที่ยว)  มีการจัดเวทีการพบปะ ประชมุ เสวนากนั ภายใน ชุมชนบ้างหรือไม่ หรืออยูแ่ บบตวั ใครตวั มนั แทบไม่ เคยพบกัน  มกี ารเรยี นรูเ้ พอื่ ค้นหาทนุ ของท้องถิ่น ทุนทรัพยากร ทุนความร้ภู มู ปิ ัญญา ทนุ ทางสังคมอย่างเป็นระบบ หรอื ไม่ ถา้ ทยี อ่ มมกี ารนามาใช้ ถา้ นามาใชม้ ีอะไรบ้าง เพื่อแกป้ ญั หาเศรษฐกจิ สังคม การทามาหากินของ ชมุ ชน มีแผน มแี ผนชีวติ ครอบครวั  ครอบครัวทาบัญชคี รัวเรือนหรือไม่ รายรับ รายจา่ ย แผนชมุ ชน หนี้สนิ แผนงบประมาณประจาปี แผนการศกึ ษาของ แผนยทุ ธศาสตร์ แผนงาน ตนเอง ของลกู แผนชวี ิตว่าจะกินจะอยู่อยา่ งไร องคก์ ร แผนงบประมาณ  ชุมชนมีแผนแมบ่ ทชุมชนซง่ึ เปน็ กระบวนการเรยี นรู้ ครอบครัว รายรับ แลว้ ไดข้ อ้ มลู รายรับรายจ่าย หนีส้ นิ ข้อมูลประวตั ิ รายจ่าย หนส้ี นิ ความเป็นมาของตนเอง ขอ้ มลู ทนุ ตา่ ง ๆ ในชุมชน แผนการลงทนุ ข้อมลู ปญั หาและความต้องการของชุมชนหรือไม่ แผนเศรษฐกจิ พอเพยี ง  มแี ผนการลดพนักงาน แผนการใช้จา่ ยคา่ นา้ มนั ค่า น้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพทอ์ ยา่ งเป็นระบบหรอื ไม่  มแี ผนการลดอบายมขุ เหลา้ บหุ ร่ี สง่ิ ไมด่ ตี ่าง ๆ เพ่อื ลดค่าใชจ้ า่ ย และเพอื่ ใหส้ ขุ ภาพดีข้ึน ครอบครวั อบอุ่นขนึ้

มนุษยสมั พันธ์กับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3000-1503) หน้า 218 ตารางท่ี 6.2 (ตอ่ ) กรอบ เกณฑ์ ตัวชวี้ ดั ของเศรษกิจพอเพียงที่ควรปฏิบัติ เพอ่ื การพัฒนาคนและชมุ ชนอย่างยงั่ ยืน ปรชั ญา กรอบ เกณฑ์ ตัวช้ีวดั  แผนการลงทนุ มีการทาขอ้ มลู การศกึ ษาความ เป็นไปได้ทีด่ พี อก่อนจะลงทุนทาอะไรหรือไม่  มกี ารดาเนนิ งานอย่างเป็นขนั้ ตอนอย่างมหี ลกั วชิ าการหรือไม่  มขี อ้ มลู และหลกั ในการทาแผนยุทธศาสตรข์ อง องคก์ ร หนว่ ยงาน ที่รบั ผดิ ชอบหรอื ไม่ (อบต. เทศบาล) หรอื ทาแบบน่ังเทียนเขยี นแผน หรือไปลอก แผนคนอ่นื เปลยี่ นแต่เพยี งตวั เลข  แผนการออมและการสร้างสวสั ดิการใหต้ นเองและ ครอบครัวมหี รอื ไม่ สาหรับหน่วยงานทดี่ ูแลมีหรือไม่  แผนเศรษฐกจิ พอเพยี ง วางเป้าหมายและวิธีการ การจดั การชวี ิตแบบ “เลิก ลด ทดแทน” ใหไ้ ด้หนึ่งใน สี่ อะไรทเ่ี ลิกได้ ลดได้ หรอื ทาเพ่ือทดแทนการซ้อื จาก ตลาดหรือการขอจากคนอ่นื หรือขอให้คนอนื่ ช่วย  มแี ผนแม่บทชุมชนที่เปน็ ภาพฝนั และมแี ผนงาน โครงการ กิจกรรมที่ทาไดจ้ ริง และเริ่มตน้ จากตนเอง จากทุนของตนเองท่ีมอี ยู่ หรือทาแผนเพอื่ ไปขอ งบประมาณจากรัฐหรือภายนอกอยา่ งเดียว เป็นมอื อาชีพ คณุ ภาพ มั่นคง ย่งั ยืน  ทางานด้วยความร้คู วามสามารถแบบคนรู้จริง “อิทธิบาทส่ี” (ฉันทะ หรือไม่ มคี วามพยายามเรยี นรู้ พฒั นาตนเองหรอื ไม่ วิรยิ ะ จติ ตะ วมิ งั สา) ใจรัก ไมว่ ่าจะอาชพี อะไร เกษตรกรกต็ ้องรู้จริงในฐานะ รู้จรงิ รู้รอบ รู้ลกึ ทาดมี ี เกษตรกร อาชีพอะไรก็ต้องรู้จริงในอาชีพของตนเอง คุณภาพดว้ ยความ  มคี วามสมา่ เสมอ หรอื ว่าเดยี๋ วดเี ด๋ยี วรา้ ย ผีเข้าผี สมา่ เสมอ ออก ทางานตามอารมณ์ อยากทากท็ าหรอื ไม่  ไม่ทาอะไรแบบชว่ั คราว แตท่ าดว้ ยความม่นั คง ให้ เกิดความย่ังยืนหรอื ไม่ เช่น พอมีงบก็ทา ไม่มกี เ็ ลกิ มี คนมาส่งเสรมิ กท็ า ไม่มคี นสง่ เสรมิ ก็ไม่ทา  มคี วามสขุ รกั ชอบ ในส่งิ ทท่ี าหรอื ไม่ หรอื ทาไปด้วย ความทุกข์ ฝนื ใจทา  ทาดว้ ยหลกั การทด่ี ี มขี อ้ มลู ความรู้ และมี “ปญั ญา” อนั เปน็ รากฐานของการมชี วี ิตและการ ทางานทดี่ ี  ทาอะไรแบบมี “มาตรฐาน” หรอื ไม่ หรือข้ึนลง ตามใจชอบ หรือพวกมากลากไป  ทาอะไร วางแผนอะไรแบบแยกแยะมีระยะส้นั กลาง ระยะยาวหรอื ไม่ หรอื ทาอะไรแบบเฉพาะหนา้ หรือหวังแต่ผลทไี่ ด้ ผลประโยชน์สว่ นตวั และพรรคพวก

มนษุ ยสัมพันธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (3000-1503) หน้า 219 ตารางที่ 6.2 (ต่อ) กรอบ เกณฑ์ ตวั ช้วี ดั ของเศรษกิจพอเพียงที่ควรปฏิบตั ิ เพ่ือการพัฒนาคนและชมุ ชนอยา่ งย่ังยืน ปรชั ญา กรอบ เกณฑ์ ตวั ชีว้ ดั มีภมู คิ ุ้มกันทีด่ ี ระบบชีวิตท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น มีความ  มกี ารจัดการชวี ติ ทดี่ ีหรือไม่ หรอื เอาแตท่ างานหาม ม่นั คงในชวี ิต ลกู ไดร้ บั การ รุ่งหามคา่ รจู้ กั จดั เวลาพกั ผอ่ นแบบพอเพยี ง มเี วลาให้ ระบบ เลี้ยงดูท่ดี ี ลกู มีการศกึ ษา ครอบครวั มีเวลาออกกาลังกายคลายเครียด มเี วลาไป เศรษฐกจิ ที่ดี สงั สรรค์ พบปะเพือ่ นฝูง มเี วลาไปทาบญุ สงั คม ชุมชน  ครอบครวั ชว่ ยเหลือกนั ทามาหากิน เลีย้ งลูก ดูแล ท้องถน่ิ ที่ดี ชุมชนเข้มแข็ง มรี ะบบ บ้านเรอื นหรอื ไม่ หรอื คนหนึ่งทาแทบตาย คนหนงึ่ ไม่ เศรษฐกิจชมุ ชน สวัสดกิ าร ทาอะไร ไดแ้ ตก่ ินกับนอน ดูทีวี ชุมชน เครือข่ายชมุ ชน  มกี ารจดั การเรื่องเศรษฐกจิ ในครอบครัวดีพอหรือไม่ เครอื ข่ายเศรษฐกิจชมุ ชน มรี ะบบการใชจ้ ่าย มีความมนั่ คง หรอื มีหนส้ี นิ เตม็ ไป วิสาหกิจชุมชน เกษตร หมด มแี ตก่ ู้ ๆ ยมื ๆ จากชาวบ้านเขาไปทั่ว ไมม่ คี วาม ผสมผสาน สหกรณ์ SMEs ม่นั คงทางเศรษฐกจิ ระบบการจดั การการใช้จา่ ยไม่ดี เน้นการผลิตเพ่ือบรโิ ภคใน  มกี ารดแู ลการเรียนของลกู ทั้งในระบบในโรงเรยี น ท้องถน่ิ ก่อนพ่งึ ตลาด นอกโรงเรยี น เพ่ือเพม่ิ พูนความรคู้ วามสามารถของลกู ภายนอกหรอื สง่ ออก เพียงใด โดยไม่บงั คบั หรอื สร้างความกดดนั ใหล้ กู จนเกินไป เชน่ การเรียนวา่ ยนา้ ดนตรี กฬี า การตดิ เรยี นพเิ ศษ ฯลฯ มกี ารพูดคยุ เรยี นรรู้ ่วมกบั ลูกหรือไม่  มีการวางแผนอนาคตใหล้ ูกหรอื ไม่ เช่น ออมใหล้ กู ตัง้ แต่เกิด เพ่ือเป็นทนุ การศึกษา หรือการปลกู ตน้ ไมใ้ ห้ ลูกจานวนหน่งึ เพ่ือใหเ้ ป็นทุนสรา้ งบ้านเมอ่ื แต่งงาน จะ ไดไ้ ม่ไปตัดไม้ในป่า (กรณีตัวอยา่ งบา้ นนาอีสาน)  มีระบบการเรยี นร้รู ว่ มกนั ดว้ ยการทาแผนแมบ่ ท ชุมชนหรือไม่ และทาตามหลกั ของ “ประชาพจิ ัย” ซึ่ง เนน้ กระบวนการเรยี นรู้ ไมใ่ ชเ่ นน้ การได้แผน ซึง่ อาจ ไมไ่ ด้ผลหรอื มแี ผนอยแู่ ลว้ แต่ซุกไว้ที่ไหนกไ็ มร่ ู้  ชุมชนมีระบบเศรษฐกจิ ท้องถิ่นหรือไม่ หรอื มีแต่ โครงการ เพราะมเี งินอดั ฉดี เงินหมดก็เลกิ กลุ่ม เศรษฐกิจชมุ ชน (ทามากกวา่ สิบอย่าง) ทตี่ อบสนอง ความตอ้ งการของท้องถ่ิน ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการซื้อจาก ภายนอกลงได้ “หน่งึ ในส่ี” หรือวา่ ทาเพยี งอย่างเดยี ว สองอย่างแบบเอาเปน็ เอาตาย ไมม่ ฐี านระบบ เศรษฐกจิ ของชุมชน  ถ้าเปน็ เกษตรกร มกี ารทาเกษตรผสมผสานหรอื ไม่ มีการตดิ ตามผลและประเมินผลไดห้ รือไมว่ า่ สามารถ ลดคา่ ใช้จา่ ยไดไ้ ม่น้อยกวา่ “หนึง่ ในส่ี” หรือปลูกแต่ พืชเดยี่ ว ไม่ขา้ วกม็ นั ไมม่ นั กย็ าง ไม่ยางกข็ ้าวโพด  มกี ารจัดการเรอื่ งวสิ าหกิจชุมชนที่ดีหรอื ไม่ หรอื วา่ มี แต่ “ธุรกจิ ชุมชน” ซึ่งมีแต่คนไม่กค่ี นทไ่ี ดป้ ระโยชน์

มนุษยสมั พันธ์กบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (3000-1503) หนา้ 220 ตารางที่ 6.2 (ตอ่ ) กรอบ เกณฑ์ ตัวช้วี ดั ของเศรษกจิ พอเพยี งทค่ี วรปฏิบตั ิ เพือ่ การพฒั นาคนและชมุ ชนอย่างยง่ั ยืน ปรัชญา กรอบ เกณฑ์ ตัวชีว้ ดั คนส่วนหใญ่เป็นเพียงผบู้ ริโภคเทา่ นั้น (วิสาหกจิ ชมุ ชน ต้องมีปัจจัย 7 ประการ ถา้ ไมม่ ีกไ็ ม่ใช่วสิ าหกจิ ชมุ ชน)  มกี ารลงทุนวิสาหกิจชมุ ชนหรือโครงการของ ส่วนรวมแบบเกนิ ตวั และแบบเส่ยี งเกนิ ไปหรือไม่  มกี ารจัดการ 5 อยา่ ง อยา่ งไร ขา้ ว อาหาร สมนุ ไพร ของใช้ ป๋ยุ ถ้าหากจัดการเป็นการวดั ไดไ้ ม่ยาก เพราะ จาก 5 จะกลายเป็น 15, 25, 50 ได้ไมย่ าก เพราะจะ เกดิ การจดั การแปรรูปหลากหลายรปู แบบและ เชอื่ มโยงกนั หมด  มีการประกอบการขนาดกลางขนาดยอ่ ม (SMEs) หรือไม่ มปี ระสทิ ธิภาพและยงั ประโยชนใ์ หช้ ุมชน เพียงใด  ชุมชนมรี ะบบสวสั ดิการที่พึ่งตนเองได้มากน้อย เพียงใด มีการออม มสี วัสดกิ าร “เกดิ แก่ เจ็บ ตาย” ทนุ การศึกษา ความช่วยเหลือเมื่อมีภยั ธรรมชาติ เหตุ ฉกุ เฉิน และอ่ืน ๆ มากน้อยเพียงใด  ชมุ ชนมรี ะบบทุนของตนเองหรอื ไม่ การออม การ สร้างสวสั ดกิ าร ส่งเสริมการลงทุนในวิสาหกจิ ชมุ ชน  ชุมชนมรี ะบบสุขภาพของตนเองหรอื ไม่ อย่างไร “สร้างดีกวา่ ซ่อม” มีกจิ กรรมอะไรบา้ ง  มเี ครือขา่ ยชมุ ชนอยา่ งน้อยในระดบั ตาบลหรือไม่ เครือขา่ ยเพือ่ จดั การผลติ การบรโิ ภค การตลาด การ จัดการเศรษฐกิจและสงั คมของตนเอง เครอื ข่ายผู้นา เพื่อแกป้ ัญหาต่าง ๆ ของตาบล รวมถงึ เครือขา่ ยกับ ตาบล ชุมชนอนื่ ๆ จังหวัดอน่ื ภาคอื่น มหี รอื ไม่ มีการ ไปมาหาส่สู ม่าเสมอระหวา่ งเครอื ขา่ ยหรือไม่ หรอื เพยี ง ปลี ะหน  มรี ะบบการจดั การเร่ืองการเรยี นรู้ การพัฒนาคน หรอื ไม่ มศี นู ยก์ ารเรยี นรู้ มีการฝึกอบรมในเรอ่ื งอะไร หรอื ไม่ มกี ารส่งเสริมใหค้ นไปเรยี นในระดับอดุ มศกึ ษา หรือไมท่ ้ังเดก็ และผใู้ หญ่  ชมุ ชนมรี ะบบการป้องกนั และแก้ไขความขัดแยง้ ด้วย สันติวิธอี ยา่ งไร ความสมานฉันทท์ ากันอย่างไร มผี มู้ ี อทิ ธพิ ล ผกู้ ว้างขวางทเี่ อาเปรียบผอู้ ื่นหรือไม่ แกไ้ ข อย่างไร ระบบอุปถัมภย์ ังคงอยูม่ ากน้อยเพียงใด  การซือ้ สิทธขิ ายเสียงในการเลือกต้งั ในทกุ ระดับมี หรอื ไม่ มรี ะบบปอ้ งกันระยะส้ัน ระยะยาวอยา่ งไร

มนษุ ยสัมพนั ธ์กับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (3000-1503) หนา้ 221 ตารางที่ 6.2 (ตอ่ ) กรอบ เกณฑ์ ตวั ช้ีวัดของเศรษกิจพอเพยี งทีค่ วรปฏบิ ตั ิ เพือ่ การพฒั นาคนและชมุ ชนอย่างยั่งยนื ปรัชญา กรอบ เกณฑ์ ตวั ชี้วัด ระบบการ อบต. เทศบาล องคก์ ร  หนว่ ยงาน องค์กรมคี ุณธรรม คณุ ภาพ โปร่งใส จัดการองคก์ ร หน่วยงานในชุมชน ตรวจสอบไดห้ รอื ไม่ ทีด่ ี มีธรรมาภบิ าล ระบบการ  มีระบบทด่ี ี กฎระเบยี บเอือ้ ต่อการทางานเป็นทมี ไม่ จัดการท่ดี ี มผี ูน้ าและผู้ เอาแต่แข่งขันกันเอง แตร่ ่วมมือหรอื ไม่ “ระบบดที าให้ ตามทด่ี ี ผนู้ าสร้างแรง คนทาถูกไดง้ า่ ย ทาผดิ ได้ยาก” บนั ดาลใจ ทาให้ทกุ คนใจดี  เป็นผ้นู าทีด่ ีหรือไม่ ผทู้ ่ีสรา้ งแรงบนั ดาลใจมากกวา่ ใจกวา้ ง ใจสู้ ใจถงึ (เข้าใจ- บงั คบั มากกว่าเนน้ การใช้กฎระเบยี บ ขู่เข็ญ ลงโทษ เขา้ ถงึ ) หรือวา่ เน้นทก่ี ารสร้างความสมั พันธ์กบั พนักงาน เจ้าหน้าที่ และระหวา่ งพวกเขา และกบั ลกู ค้า ภาคี นอกองค์กร  มกี ารสง่ เสรมิ การพัฒนาบุคลากรหรือไม่ หรือปล่อย ให้พนกั งาน เจา้ หน้าทแ่ี อบไปลงทะเบยี นเรยี นปรญิ ญา ตรี โท เอก เอาเอง ไมส่ ่งเสริมแล้วยงั กีดกันหรอื ไม่  มกี ารสง่ เสรมิ การฝึกอบรมระยะสัน้ ระยะยาวให้ พนกั งาน เจา้ หน้าทอ่ี ย่างพอเพียง และถว้ นหน้า หรือไม่  เจ้าหนา้ ที่ พนกั งาน มีสว่ นร่วมในการบริหารจดั การ องคก์ รหรอื ไมอ่ ย่างไร มธี รรมาภบิ าลหรือไม่  สรา้ งระบบทเี่ ปน็ หลกั ประกนั ความมนั่ คงของ หน่วยงานอย่างไร  มียทุ ธศาสตรอ์ งค์กรหรือไม่ เนน้ ผลลพั ธ์มากเกนิ ไป จนละเลยกระบวนการหรอื ไม่  มกี ารทางานแบบบรู ณาการหรอื ไม่ หรอื ตา่ งคนตา่ ง สรา้ งอาณาจกั รในฝา่ ยกองงานของตนเอง  มรี ะบบการวดั ผล ประเมนิ ผลองคก์ ร และบคุ ลากร อย่างไร เปน็ ธรรมหรือไม่  พนักงาน เจา้ หน้าทที่ างานอย่างมีความสุขหรือไม่ ได้รับความเปน็ ธรรมหรือไม่ มกี ารเลือกปฏบิ ตั ิหรือไม่ ที่มา : เสรี พงศพ์ ิศ (2550) เศรษฐกิจพอเพียงระดบั ประเทศ เศรษฐกิจพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงระดับท่สี าม เป็นการต่อยอดจาก ความพอเพียงในระดับกลุ่มหรือองค์การ เป็นแนวคิดและแนวทางในการเช่ือมโยงการดาเนินการด้าน ต่าง ๆ อย่างเป็นเครือข่าย เร่ิมต้ังแต่ทุกคนในประเทศไปจนถึงหน่วยงาน และองค์การท้ังภาครัฐและ เอกชน เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่สาม เป็นขั้นสุดท้ายของเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้าท่ีเน้นความ พอเพียงในระดับเครอื ข่าย คือการร่วมมือกับหน่วยงานทุกภาคส่วนเพ่ือสร้างระบบเครอื ข่ายการติดต่อ

มนษุ ยสมั พนั ธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (3000-1503) หน้า 222 รว่ มมือกันท้ังด้านการลงทุน การผลติ การตลาด การจาหน่าย และการบริหารจัดการ ซึ่งถือเป็นการขยาย ขอบเขตความหลากหลายทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน แผนการบริหารจัดการในระดับประเทศ เน้นส่งเสรมิ ให้บุคคลและชุมชนต่าง ๆ มีวิถีปฏิบัติ มีความร่วมมือ และการพัฒนาในสาขาต่าง ๆ ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและดาเนินการ ตามแผนอย่างรอบคอบเป็นขั้นตอน เร่ิมจากการวางรากฐานประเทศให้มีความพอเพียง โดยส่งเสริมให้ ประชาชนสามารถอยู่อย่างพอมีพอกินและพ่ึงพาตนเองได้ มีความร้แู ละทักษะท่ีจาเป็นในการดารงชีวิต อย่างเท่าทันต่อการเปล่ียนแปลง มีคุณธรรม ซ่ือสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร เอ้ือเฟ้ือแบ่งปัน ใช้สติปัญญา ในการตัดสินใจ และการดาเนินชีวติ พรอ้ มทั้งส่งเสริมการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ระหวา่ งกลุม่ คนจากหลากหลาย ภูมิสังคม อาชีพ ความคิด และประสบการณ์ เพ่ือสร้างความเข้าใจและรู้ความเป็นจริงระหว่างกันของคน ในประเทศ นาไปสู่ความสามัคคีและจิตสานึกที่จะร่วมแรงร่วมใจพัฒนาประเทศให้เจริญกา้ วหนา้ สอด รับกับสภาพความเป็นจริงของคนในประเทศอย่างเป็นขั้นเป็นตอน (The creator, 2559) การ ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับประเทศ ต้องอาศัยความรว่ มมือจากคนในกลุ่มและ องค์การ หรือแม้แต่ในครอบครวั เพือ่ ร่วมกนั ทาประโยชน์ใหแ้ ก่ประเทศชาติ การจาแนกเศรษฐกิจพอเพียงใน 3 ระดับ แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาท่ีเริ่มต้นจากหลักการพึ่งพา ตนเอง เป็นการพัฒนาตนเองให้มีความเข้มแข็งเป็นอิสระ แล้วจึงค่อย ๆ พัฒนาเป็นการแลกเปล่ียน การ รวมกลุ่มช่วยเหลือกัน และนาไปสู่การพึ่งพากัน สงเคราะห์เกอ้ื กลู รว่ มมือกัน และประสานกับโลกภายนอก ได้เป็นอย่างดี ท้ังนี้ การพัฒนาต้องระเบิดจากภายใน คือต้องเกิดที่จิตใจของบุคคล และภายในครัวเรอื น ภายในชุมชน ส่วนในระดับชาติน้ันรัฐในฐานะที่เป็นผู้ไดร้ ับมอบหมายในการพัฒนาและบริหารประเทศ ตงั้ แต่คณะรัฐบาล ข้าราชการหรือเจา้ หน้าทีท่ ่ีมีหน้าทที่ ั้งหลาย ต้องมีคุณธรรม ถอื และปฏิบัติอยู่ในศีล มธี รรมาภิบาลเป็นหลกั

มนุษยสัมพนั ธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3000-1503) หน้า 223 ใบงานที่ 6.1 เรื่อง : หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง งานที่มอบหมาย : ให้นักศึกษาอธิบายองคป์ ระกอบของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงใน ไดอะแกรม 3 หว่ ง 2 เงื่อนไข เงือ่ นไข..…………………………………………………. เงอ่ื นไข..…………………………………………………. ………………………………………………………………. ……………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………….. ชอ่ื สกุล.....................................................................................รหสั ประจาตวั ........................................ ระดบั ช้ัน/กลุม่ ..........................................ภาควิชา.................................................................................

มนุษยสมั พนั ธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3000-1503) หนา้ 224 ใบงานที่ 6.2 เร่ือง : ความพอเพียงกับการพฒั นาตนเอง งานทมี่ อบหมาย : ใหน้ ักศึกษาอธิบายการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกตใ์ ช้สาหรับ การพฒั นาชวี ติ ในดา้ นต่าง ๆ การวางแผนการดาเนินชวี ติ ….....……………..………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… การหาเลีย้ งชีพอยา่ งพอเพียง…..………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… การบรโิ ภคอยา่ งพอเพียง..........………………………..………..……………. ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ชอ่ื สกุล.....................................................................................รหสั ประจาตวั ........................................ ระดับชั้น/กล่มุ ..........................................ภาควชิ า.................................................................................

มนุษยสมั พนั ธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3000-1503) หน้า 225 แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 6 ตอนท่ี 1 ใหน้ ักศึกษาเขียนข้อความท่ีเปน็ คาตอบลงในช่องว่างของแต่ละข้อคาถาม จานวน 5 ข้อ ข้อ 1. อธิบายความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง ........................................................................................................................................................ ........ .......................................................................................................................... ...................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ขอ้ 2. นยิ าม “3 ห่วง 2 เง่ือนไข” หมายถึงอะไร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................... ................................. ................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................ .... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ขอ้ 3. อธิบายการดาเนินชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดบั บุคคล ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................ ................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................

มนุษยสัมพันธ์กับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (3000-1503) หนา้ 226 ข้อ 4. อธบิ ายการประยกุ ต์ใชอ้ งค์ประกอบของการสร้างภมู ิค้มุ กนั ในตัวสาหรับการดาเนนิ ธรุ กิจ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................... ............................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................... ................. ................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ขอ้ 5. จงอธบิ ายหลักการสาคัญในการนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................ ................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ข้อ 6. การรักษาทรัพย์อย่างพอเพียงเป็นอย่างไร .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................................. .............. .................................................................................................................... ............................................

มนุษยสัมพนั ธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3000-1503) หน้า 227 ข้อ 7. อธิบายหลักสาคัญของเศรษฐกจิ พอเพยี งสาหรบั การพัฒนาคน และพฒั นาประเทศให้เกิดความ สมดุล .......................................................................................................................... ...................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................ ................ .................................................................................................................. .............................................. ตอนที่ 2 ให้นักศึกษาทาเครื่องหมายถูก () หน้าข้อความท่ีอธบิ ายถูกต้อง และทาเครือ่ งหมาย ผดิ () หน้าขอ้ ความท่ีอธบิ ายไม่ถกู ต้อง จานวน 10 ขอ้ ................ข้อ 1. หวั ใจของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ ทางสายกลาง ................ข้อ 2. การยดึ หลักทางสายกลาง คือการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเคร่งครัด ................ข้อ 3. เหตุการณ์ที่ทาใหค้ นไทยหันมาใหค้ วามสาคัญกับปรัชญาของเศรษกิจพอเพยี งอย่าง จรงิ จัง คอื วกิ ฤตเศรษฐกจิ พ.ศ. 2517 ................ขอ้ 4. พระเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ทรงมีพระราชดารัสเรื่องเศรษฐกจิ พอเพียงคร้ังแรกเม่ือ ปี พ.ศ.2517 ................ขอ้ 5. การรักษาทรัพยอ์ ย่างพอเพยี ง คือการใช้อย่างประหยัด และทนบุ ารงุ รักษาส่ิงของ ให้คงสภาพอย่คู งทน ................ขอ้ 6. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงให้ความสาคัญในเรอื่ งความก้าวหนา้ ทางเศรษฐกิจ ................ขอ้ 7. การพัฒนาที่ยัง่ ยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตอ้ งคานึงถงึ องค์ประกอบ 4 ด้าน คือ วัตถุ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม ................ข้อ 8. การบรโิ ภคอยา่ งพอเพียง คือการใชจ้ ่ายอย่างสมเหตสุ มผล สมดลุ กับรายได้และอัตภาพ ของตนเอง โดยคานึงถงึ ความประหยดั และความจาเป็น ................ขอ้ 9. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ พน้ื ฐานให้คนสรา้ งอานาจในการแสวงหาผลประโยชน์ ใหก้ บั พวกพ้องในชุมชน ................ข้อ 10. รจนาทางานหามรุ่งหามค่า จนไม่มีเวลาพักผอ่ น และไม่มีเวลาออกกาลังกาย เพอื่ คลายเครียด แสดงว่ารจนาไม่ไดน้ าองค์ประกอบของภมู ิคุม้ กันในตัวมาประยุกตใ์ ช้

มนุษยสมั พนั ธ์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (3000-1503) หน้า 228 ตอนท่ี 3 ใหน้ ักศึกษาอ่านข้อความในแต่ละข้อคาถาม และทาเคร่ืองหมายกากบาท () ทับลงใน ขอ้ คาตอบ (ก ข ค หรือ ง) ที่ถูกที่สดุ เพียงคาตอบเดยี ว จานวน 10 ข้อ ข้อ 1. “เศรษฐกิจพอเพยี ง”สอดคล้องกบั ข้อความใด ก. Sufficiency Economy ข. Community Economy ค. Self Sufficiency of Economy ง. Philosophy of Sufficiency Economy ข้อ 2. แนวพระราชดารเิ รื่องเศรษฐกจิ พอเพียงเร่มิ ต้นเมอื่ ใด ก. พ.ศ. 2507 ข. พ.ศ. 2517 ค. พ.ศ. 2527 ง. พ.ศ. 2537 ขอ้ 3. หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสอดคล้องกับขอ้ ความใด ก. 3 ห่วง 2 เงอ่ื นไข สมดลุ 4 มิติ ข. 3 หว่ ง 2 เงื่อนไข สมดุล 3 มิติ ค. 2 ห่วง 3 เง่ือนไข สมดลุ 4 มิติ ง. 2 หว่ ง 3 เง่ือนไข สมดลุ 4 มิติ ข้อ 4. เปา้ หมายของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสอดคล้องกับข้อความใด ก. มงุ่ แก้ไขปญั หาวกิ ฤตเศรษฐกิจชาติ ข. เพอ่ื ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างม่นั คง ค. เพอ่ื ใหก้ า้ วทันต่อโลกในยุคโลกภวิ ฒั น์ ง. มุง่ ให้เกดิ ความสมดุลพร้อมรบั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง ขอ้ 5. ข้อความใดเป็นการฝึกฝนตนเองให้มีพฤติกรรมสอดคลอ้ งตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ก. ลกุ มานนานา้ ลา้ งจานไปรดต้นไม้ ข. สุไลมานเปลี่ยนหลอดไฟเปน็ แบบหลอดประหยัดไฟฟา้ ค. มฮู ัมหมัดไมท่ งิ้ ขยะในทส่ี าธารณะและแหล่งนา้ ในชมุ ชน ง. อานัซร์ใช้ถงุ ผา้ แทนถุงกระดาษหรอื ถุงพลาสติกในการซ้ือของ ข้อ 6. ข้อความใดเปน็ พ้ืนฐานของการดาเนินกิจกรรมให้อยู่ในระดบั ของความพอเพียง ก. ความรแู้ ละคณุ ธรรม ข. ความซือ่ สัตย์และความรู้ ค. คณุ ธรรมและความเพียร ง. ความเพียรและสติปัญญา

มนุษยสัมพนั ธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3000-1503) หนา้ 229 ข้อ 7. ข้อความใดไม่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ก. โครงการส่งเสริมประเพณีและวฒั นธรรม ข. โครงการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ค. โครงการอนุรักษ์ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ง. โครงการส่งเสรมิ สนิ คา้ OTOP ข้อ 8. ข้อความใดสอดคลอ้ งกับความหมายของการพึ่งตนเอง ก. สมศรมี คี วามเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ ข. สุธามคี วามมนั่ ใจวา่ ตนเองเก่ง ค. อญั ชลีพยายามทาทุกอย่างดว้ ยตนเองแมจ้ ะทาได้ไมด่ นี ัก ง. กัลยาขอความช่วยเหลอื เพื่อนเม่อื ทางานหรอื กจิ กรรมต่าง ๆ ไมไ่ ด้ ขอ้ 9. การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงตรงกบั ข้อความใด ก. จนั จริ ารูจ้ กั ประหยัด ข. สมหมายยมื เงินสมศรี โดยผ่อนใชท้ ีหลงั ค. ซูไฮมีย์อดอาหารกลางวันเพ่ือเก็บเงินใส่กระปุกออมสนิ ง. อบั ดุลเลาะทางานหลงั เลกิ เรยี นเพื่อเก็บเงินไว้ซ้ือสงิ่ ของที่อยากได้ ข้อ 10. การปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะก่อให้เกิดผลดีตอ่ ตนเองและครอบครัว ยกเว้น ข้อความใด ก. มีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ข. มคี วามพอประมาณในการใช้จา่ ย ค. มกี ารวางแผนการบรหิ ารจัดการประเทศ ง. ทาใหร้ ูจ้ ักใช้เหตผุ ลในการวางแผนและการปฏบิ ัตติ น

มนุษยสมั พันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3000-1503) หนา้ 230 บรรณานกุ รม จริ ายุ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา และ ปรยี านุช ธรรมปยิ า. (2557). ตามรอยพ่อ ชีวติ พอเพียง...สู่การ พัฒนาท่ียั่งยืน. (พิมพ์ครง้ั ที่ 12). กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร.์ จฑุ า เทียนไทย. (2550). การจัดการมุมมองของนักบริหาร. (พมิ พ์ครงั้ ที่ 3). กรงุ เทพฯ : แมคกรอ-ฮิล. นวิ ัฒน์ รักษ์รอด, นิตยา กนั ตะวงษ์ และพรศักดิ์ อาษาสุจริต์. (2558, มกราคม-มิถนุ ายน). การพฒั นา คมู่ อื การจัดการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพยี งของโรงเรยี นในกลุ่มสุราษฎรธ์ านี 2 สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี. วารสารราชภัฏ สรุ าษฎรธ์ านี, 2 (1), 88-100. ประสพโชค มง่ั สวัสดิ์ และ นิรมล อริยอาภากมล. (2555). เศรษฐกจิ ไทย 15 ปีหลังวกิ ฤติ: พอเพียง หรือยัง?. สืบคน้ เมื่อ 23 มกราคม 2559 จาก http://cse.nida.ac.th/main/images/ThaiEco-15yrs_afterCrisis.pdf มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. (2553). โครงการพระราชดาริ ทั่วโลกล้วนแซาซ้อง สรรเสริญ. สืบค้นเม่ือ 2 กนั ยายน 2559 จาก https://muarms.mahidol.ac.th/th/27oct2559/page03 มูลนิธิชยั พฒั นา. (2559). เศรษฐกิจพอเพียง. สืบคน้ เมื่อ 11 มกราคม 2559 จาก http://www.chaipat.or.th สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์แหง่ ประเทศไทย. (2558). การปฏิบัตติ นตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง. สืบค้น เม่อื 12 มกราคม 2559 จาก http://tv11.prd.go.th/ewt_news.php? สยามรฐั ออนไลน.์ (2559). ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง: มรดกอันลา้ คา่ ตลอดกาลแดช่ าวไทยและ ชาวโลก. สืบคน้ เมื่อ 12 ธันวาคม 2559 จาก https://www.siamrath.co.th/n/5230 สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์. (2558). ทักษะชีวติ และสังคม. กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยเู คชัน่ . สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต.ิ (2544). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 9. สืบค้นเม่อื 1 กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://www.rpu.ac.th/Library_web/doc/e-book_T/plan9.pdf เสรี พงศ์พิศ. (2550). เศรษฐกจิ พอเพียง เกดิ ได้ ถา้ ใจปราถนา. กรงุ เทพฯ: เจรญิ วิทย.์ __________ . (2552). แนวคิดแนวปฏิบัติ ยุทธศาสตร์พัฒนาท้องถิน่ . (พิมพค์ รั้งท่ี 2). กรงุ เทพฯ: พลงั ปัญญา. __________ . (2552). วถิ ีสู่ชมุ ชนพอเพียง. กรุงเทพฯ: เจรญิ วทิ ย์. Home business of america. (2559). การวางแผนการเงนิ . สืบคน้ เม่ือ 12 กุมภาพนั ธ์ 2559 จาก http://www.homebusinessofamerica.com/shouldknow/compare.html Mkschool team. (2559). หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง. สืบคน้ เม่อื 2 กันยายน 2559 จาก http://webcontest.cs.kku.ac.th/2558/g5836/p2.html OKnation. (2556). โครงการหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ \"บ้านนา้ ทรัพย์\" เพชรบรุ ี. สบื ค้นเมอื่ 12 มนี าคม 2559 จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/ The creator. (2559). ความพอดี 5 ประการ. สบื คน้ เม่ือ 12 ธนั วาคม 2559 จาก http://porlaewdeethecreator.com/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook