โครงสรา้ งรายวชิ า ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โดย นางสาวศศวิ ิมล คาดีเจรญิ ตาแหน่งครผู ู้ช่วย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
โครงสรา งรายวชิ า วิชาคณิตศาสตรพน้ื ฐาน รหัสวิชา ค23101 ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 นางสาวศศิวิมล คำดีเจริญ ตำแหนง ครูผูชว ย กลุม สาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 31 จังหวัดเชยี งใหม สงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2 คำนำ โครงสรางรายวิชาน้ีจัดขึ้นเพ่ือใหครูผูสอนไดเตรียมการในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ค23101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โดยยึดตามหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมีรายเอียดของหลักสูตร คือ คำอธิบายรายวิชา โครงสรางรายวิชา กำหนดเวลาเรียน น้ำหนักคะแนน ทักษะกระบวนการในการเรียนการสอน ตลอดจนการวัด และประเมินผลการเรียนรูของครู หวังเปนอยางย่ิงวาจะเปนประโยชนสำหรับครูผูสอนในการพัฒนาคุณภาพการ เรียนและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 จังหวัดเชียงใหม สังกัดสำนัก บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ตอไป ศศวิ ิมล คำดเี จรญิ
4 คำช้แี จง รายวชิ าคณติ ศาสตรพ้ืนฐาน กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร รหสั วชิ า ค23101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 3 1. แนวคิดหลกั หลกั การ หลักสูตรสถานศึกษากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มหี ลักการทส่ี ำคญั ดังนี้ 1. เปนหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูเปน เปาหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเปนไทย ควบคกู ับความเปนสากล 2. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอภาค และมี คุณภาพ 3. เปนหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาให สอดคลอ งกับสภาพและความตอ งการของทอ งถิ่น 4. เปน หลกั สูตรการศึกษาที่มีโครงสรางยืดหยนุ ทั้งดานสาระการเรียนรู เวลาและการจดั การเรียนรู 5. เปน หลกั สูตรการศึกษาทเ่ี นน ผเู รยี นเปนสำคัญ 6. เปนหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลมุ เปา หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู และประสบการณ วิสัยทศั น มุงพัฒนา มุงฝกฝนใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มีแบบแผน สามารถ คิดวิเคราะหปญหา และสถานการณไดอยางถี่ถวนรอบคอบ และเปนเครื่องมือในการศึกษาศาสตรอ่ืน ๆ ท่ี เก่ียวของเปนประโยชนในการดำรงชีวิต ทำใหเปนคนที่สมบูรณ คิดเปน แกปญหาเปน สามารถอยูกับผูอื่นได อยา งมีความสุข จุดหมาย หลักสูตรสถานศึกษากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุง พฒั นาผูเรยี นใหเปน คนดีมีปญญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพจึงกำหนดเปนจุดหมายเพ่ือใหเกิดกับผูเรียนเม่ือจบการศึกษาตามหลักสูตร ดงั น้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเองมีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. มคี วามรู ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแกป ญ หา การใชเ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวติ 3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสขุ นสิ ยั และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม มีจิต สาธารณะท่ีมุงทำประโยชนและสรา งส่ิงท่ีดงี ามในสงั คม และอยูรวมกนั ในสงั คมอยางมีความสุข
5 สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน มุง ใหผ ูเรยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอมูลขาวสาร และ ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความ ขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผล และความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการ สื่อสารที่มีประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ีมีตอตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสกู ารสรางองคความรูหรือสารสนเทศเพื่อ การตดั สนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสงั คมไดอยางเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญไดอยาง ถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตดั สนิ ใจทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่เกดิ ข้นึ ตอตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ ม 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรยี นรูดวยตนเอง การเรียนรูอ ยางตอเนื่อง การทำงานและการอยูรวมกันในสังคมดว ยการสราง เสรมิ ความสัมพันธอันดรี ะหวา งบุคคล การจัดการปญ หาและความขัดแยงตา ง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทัน กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอมและการรูจกั หลกี เลี่ยงพฤติกรรมไมพงึ ประสงคท ่ีสงผลกระทบตอ ตนเองและผูอ ืน่ 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การ แกป ญ หาอยางสรา งสรรค ถกู ตอ งเหมาะสมและมคี ณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพ่ือใหสามารถ อยรู ว มกับผอู ื่นในสังคมไดอ ยางมีความสขุ ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย 2. ซ่ือสัตยสจุ รติ 3. มีวินยั 4. ใฝเ รียนรู 5. อยอู ยา งพอเพียง 6. มงุ มั่นในการทำงาน 7. รักความเปนไทย 8. มีจติ สาธารณะ
6 2. กระบวนการจดั การเรยี นรู แนวคิดสำคัญของการจัดการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปดโอกาสให ผูเรียนคิดและปฏิบัติดวยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ การ ประเมินการเรียนรูจึงมีความสำคัญและจำเปนอยา งยง่ิ ตอการจัดกิจกรรมการเรยี นรูในหองเรียน เพราะสามารถทำ ใหผูสอนประเมนิ ระดับพฒั นาการเรียนรูข องผูเรยี น การจดั การศึกษาตอ งยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียน มีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติเละตามศักยภาพ ใหความสำคัญของการบูรณาการความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูตามความสารถของระดับการศึกษาไดระบุ ใหผูท่ีเก่ียวขอ งดำเนินการ ดังนี้ สถานศกึ ษาและหนวยงานทีเ่ กยี่ วขอ ง 1. จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคำนึงถึงความ แตกตา งระหวางบุคคล 2. ฝก ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกัน เเละแกไ ขปญหา 3. จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกปฏิบัติใหทำได คิดเปน ทำเปน รักการอาน และเกดิ การใฝเรียนรอู ยางตอเนื่อง 4. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตางๆอยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝง คุณธรรม คานิยมที่ดงี าม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวใ นเนื้อหาวิชา 5. สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และอำนวยความ สะดวกเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเเละมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการ เรียนรู อนั นผี้ สู อนและผเู รยี นอาจเรียนรไู ปพรอ มกันจากสื่อการเรยี นรู การสอน แหลงวทิ ยาการประเภทตางๆ 6. การจัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับผูปกครองและบุคคล ในชมุ ชนทกุ ฝาย เพ่อื รวมกนั พัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ ครูผูส อน การจัดการเรียนรูตามแนวดังกลาว จำเปนตองเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การเรียนการสอนท้ังของผูเรียน และผูสอน กลาวคือ ลดบทบาทของครผู สู อนจากการเปนผูบ อกเลา บรรยาย สาธิต เปนการวางแผนจดั กิจกรรมให นักเรียนเกิดการเรียนรู กิจกรรมตางๆจะตองเนนท่ีบทบาทของผูเลี้ยงต้ังแตเร่ิม คือ รวมวางแผนการเรียน การ วัดผล ประเมินผล เเละตองคำนึงวากิจกรรมการเรียนนั้น เนนการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติ ศึกษา คนควา รวบรวมขอมูล ดวยวิธีการตางๆจากแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห แกปญหา การ ปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน การสรางคำอธิบายเกี่ยวกับขอมูลที่สืบคนได เพื่อนำไปสูคำตอบของปญหาหรือคำถาม ตางๆในที่สุด สรางองคความรูทั้งนี้กิจกรรมการเรียนรูเหลาน้ีตองพัฒนาผูเรียนที่มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ท้ัง รา งกาย อารมณ สังคม เเละสตปิ ญญา โดยคำนึงถงึ เรอ่ื งตางๆดงั น้ี • ควรใหนักเรยี นทุกคนมีสวนรว มในกิจกรรมการเรียนรตู ลอดเวลา ดวยการกระตุนใหนักเรียนลงมือทดลอง และอภิปรายผล โดยใชเทคนิคตางๆของการสอน เชน การนำเขาสูบทเรียน การใชคำถาม เกมกระตุน และเตรยี มพรอมกอนเรียน ทำใหการเรยี นการสอนหนาสนใจและมีชวี ติ ชวี า • ครูควรมีการวางแผนการใชคำถามอยางมปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือจะนำนักเรียนเขา สบู ทเรียน เเละลงขอ สรุปได โดยท่ไี มใชเ วลานานเกนิ ไป ครคู วรเลอื กใชค ำถามทีม่ ีความยากงา ยเหมาะสมกับความสามารถของผเู รียน
7 • เมื่อนักเรียนถาม อยาบอกคำตอบทันที ควรใชคำแนะนำที่จะชวยใหนักเรียนหาคำตอบไดเอง ครูควรให ความสนใจตอบคำถามของนักเรียนทุกๆคน เเมวาคำถามน้ันจะไมเก่ียวกับเร่ืองท่ีกำลังเรียนอยูก็ตาม ครู ควรจะชี้แจงใหทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสูเร่ืองที่กำลังอภิปรายอยู รับปญหาที่ นักเรยี นถามนั้น ควรอภปิ รายภายหลงั จากการอภิปรายเน้อื หาทเ่ี กยี่ วของกบั เรอ่ื งในบทเรียน • การสำรวจตรวจสอบซ้ำ เปนส่ิงจำเปน เพ่ือใหไดขอมูลที่นาเช่ือถือ ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู กวนย้ำให นักเรยี นไดส ำรวจตรวจสอบซำ้ เพ่ือนำไปสูขอ สรุปทถี่ กู ตอ งและเชอ่ื ถือได 3. สอื่ การจัดการเรยี นร/ู แหลงเรียนรู ส่ือการจัดการเรียนรู เปนเคร่ืองมือสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูใหนักเรียนไดรับความรู ทักษะ กระบวนการ ไดงายในเวลาสั้น ชวยใหเกิดความคิดรวบยอดอยางรวดเร็ว ส่ือท่ีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู มี ดงั น้ี 1. ใบความรู ใบงาน แผนภาพนำเสนอขอมลู 2. คลิป/วีดทิ ัศน 3. ตวั อยางหรือสถานการณสมมติ 4. สอื่ บคุ คล แหลงเรียนรู เปนเครอื่ งมือสรา งคณุ ลกั ษณะการใฝเรยี นรทู ที่ ุกคนตอ งใฝรตู ลอดชวี ิต ดังน้ี 1. แหลง เรยี นรูภ ายในโรงเรยี น 2. แหลงเรียนรูอ อนไลน - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน - เว็บไซตอ อนไลนตา งๆ 4. การวดั และการประเมินผลการเรียนรู จุดประสงคสำคัญของการประเมินผลการเรียนรู คือ การชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่ ผูสอนหรือหลักสูตรวางไว ปญหาท่ีพบในปจจุบันก็คือ ผูบริหาร ผูสอน ตลอดจนผูปกครองจำนวนมากยังให ความสำคัญกับการเรียนรูแบบทองจำเพ่ือสอบ หรือการเรียนรูเพ่ือแขงขันซึ่งถือเปนการเรียนรูแบบผิวเผินมากกวา การประเมนิ การเรียนรรู ะหวางการเรียนรเู พือ่ พัฒนาตนเอง ซงึ่ ผลสัมฤทธิ์ของการเรยี นรูจ ะยง่ั ยืนกวา ในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาสมรรถนะดานตางๆของผูเรียนจำเปนตองมีการประเมินการเรียนรูอยาง ตอเนื่อง ต้ังแตเริ่มตน ระหวาง และสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู โดยใชการประเมินในรูปแบบท่ีหลากหลาย สอดคลองกับวัตถุประสงคของการเรียนรู รูปแบบการประเมินการเรียนรูไดแก การประเมินการเรียนรูระหวาง เรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรูสรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมิน การเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic Assessment)ในการประเมินเพ่ือพัฒนาการเรียนรูและการประเมินตาม สภาพจริงน้ัน ผูสอนจำเปนตองสะทอนการประเมินใหผูเรียนรับทราบ เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผูสอน ตองนำผลการประเมินมาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัดการเรียนรูเพ่ือใหสามารถดำเนินการแกไข ชว ยเหลือ หรือหาวิธีการตางๆ เพ่ือชวยใหผูเรียนแตละคนเกิดการเรียนรูและพฒั นาตนเองไดต ามแตละจดุ ประสงค การเรียนรหู รือเปาหมายของตัวช้ีวัดตา งๆ (กศุ ลนิ , 2555) การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักพ้ืนฐาน 2 ประการ คือ การประเมินเพ่ือ พัฒนาผูเรียนและเพื่อการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนของผูเรียนใหประสบความสำเร็จน้ัน
8 ผูเรียนจะตองไดรบั การพัฒนาและประเมนิ ตามตัวชว้ี ัด เพ่ือบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ซ่ึงเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุกระดับ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2552) การวัดและประเมินผลการเรียนรูท่ีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู ใหความสำคัญของการประเมิน พฤติกรรมการปฏบิ ัติ ดงั นี้ วธิ กี ารประเมิน 1) การวัดและประเมินกอนเรียน เพ่ือตรวจสอบความพรอม และความรูเดิมของนักเรียน (ผสมผสานใน การเรียนรูขัน้ นำ) 2) การวัดและประเมินระหวางเรียน ไดแก ดานความรู ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการ สังเกตพฤติกรรม ถามตอบพรอมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนำเสนอ(ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนรูขั้นสอน) จุดมุงหมายของการประเมนิ ระหวางเรียนมดี งั นี้ 2.1 เพ่ือคนหาและวินิจฉัยวาผูเรียนมีความรูความเขาใจเน้ือหา มีทักษะความชำนาญ รวมถึงมีเจตคติ ทางการเรียนรูอยา งไรและในระดับใด เพื่อเปนแนวทางใหผ ูสอนสามารถวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูไดอยาง เหมาะสม เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรูข องผูเรียนไดอยางเตม็ ศักยภาพ 2.2 เพ่ือใชเ ปน ขอ มูลปอนกลบั ใหกบั ผเู รียนวามผี ลการเรยี นรูอยา งไร 2.3 เพื่อใชเปนขอมูลในการสรปุ ผลการเรียนรูและเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดานการเรยี นรขู องผูเรียน แตล ะคน 3) การวัดและประเมินหลังเรยี น เพ่ือตรวจสอบความสำเร็จตามจุดประสงคร ายแผน เปนการพัฒนาในจุด ที่ผูเรียนอาจจะเขาใจคลาดเคล่ือนหรือปฏิบัติไมถูกตอง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และเพื่อตัดสินผลการ เรียนรูเปนการประเมินหลังจากผูเรียนไดเรียนไปแลว อาจเปนการประเมินหลังจบหนวย การเรียนรูหนวยใดหนวย หนึ่ง รวมทั้งการประเมินกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน ผลจากการประเมินประเภทน้ีใชในการตัดสินผลการ เรยี นการสอน หรอื ตัดสนิ วาผูเรยี นคนใดควรจะไดรบั คะแนนระดบั ใด 4) ประเมินรวบยอดเม่ือส้ินสุดการเรียนรู เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผูเรียนวาบรรลุเปาหมายของหนวยการ เรียนรูตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะ คุณลักษณะและเจตคติ หรือไม การทำแบบบันทึกการเรียนรู (Learning Log) นอกจากนี้ ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูของตนเอง เพ่ือเปดโอกาสไดสะทอนคิดสิ่งท่ีไดเรียนรูทั้งที่ทำ ไดดีและยังตองพัฒนา โดยการทำแบบบันทึกการเรียนรู (Learning Log) ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรู ยอนหลังจบการเรียนรูแตละหนวยการเรียนรู และประเมินการเรียนรูรวมในชวงกลางภาคเรียน และปลายภาค เรียน โดยครูสามารถเลือกใชชุดคำถามและจำนวนขอใหเหมาะสมกับบริบทผูเรียน รวมท้ังใชประโยชนจากขอมูล ในแบบบันทกึ เพ่อื พฒั นาการสอนของตนเอง และชว ยเหลอื นักเรยี นเปนรายบุคคลตอ ไป
9 รหัสวชิ า ค23101 คำอธิบายรายวชิ า กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 จำนวน 1.5 หนว ยกติ ชื่อวิชาคณิตศาสตรพน้ื ฐาน ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ชว่ั โมง เขาใจและใชสมบัติของการไมเทากัน เพ่ือวิเคราะหและแกปญหา โดยใชอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เขาใจและใชการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกวาสองในการแกปญหาคณิตศาสตร ประยุกตใชสมการ กำลังสองตัวแปรเดียวในการแกป ญหาคณิตศาสตร เขา ใจและสามารถใชสมบตั ิของรูปสามเหลีย่ มท่คี ลายกันในการ แกปญหาคณิตศาสตรและปญหาในชีวิตจริง เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับฟงกชันกำลังสองในการแกปญหา คณิตศาสตร เขาใจและใชความรูทางสถิติในการนำเสนอและวิเคราะหขอมูลจากแผนภาพกลองและแปล ความหมาย ผลลัพธ รวมทั้งนำสถิติไปใชในชีวิตจริง โดยใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม โดยมุงเนนจัดประสบการณการ เรียนรูที่เชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรกับสถานการณจริง และศาสตรอ่ืนๆ ใหผูเรียนมีการพัฒนาดาน ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร เพ่ือใหมีความรูความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร การนำเสนอ และพัฒนาความคิดริเร่ิมงานทางคณิตศาสตรท้ังในและนอกชั้นเรียน และเนนใหเ หน็ คุณคา และ มีเจตคติทดี่ ตี อคณิตศาสตร สามารถนำไปประยกุ ตใ ชใ นการทำงานไดอยา งเปน ระบบ ตัวช้วี ดั ค 1.2 ม.3/1 ม.3/2 ค 1.3 ม.3/1 ม.3/2 ค 2.2 ม.3/1 ค 3.1 ม.3/1 รวมทงั้ หมด 6 ตัวชี้วัด
รายวชิ า คณติ ศาสตรพ นื้ ฐาน สาระและมาตรฐานการเรยี นรู 10 ภาคเรยี นที่ 1 รหัสวิชา ค23101 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 จำนวน 1.5 หนวยกิต เวลา 60 ชว่ั โมง สาระ : จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๒ : เขาใจและวเิ คราะหแ บบรูป ความสมั พนั ธ ฟง กช ัน ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช มาตรฐาน ค ๑.๓ : ใชน พิ จน สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพนั ธหรอื ชวยก ำห น ด ให สาระ : การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๒ : เขาใจและวเิ คราะหร ปู เรขาคณติ สมบตั ิของรูปเรขาคณติ ความสมั พันธร ะหวาง รปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช สาระ : สถิตแิ ละความนาจะเปน มาตรฐาน ค ๓.๑ : เขา ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค วามรูท างสถติ ิในการแกป ญ หา
รายวชิ า คณิตศาสตรพ น้ื ฐาน ผังมโนทศั น 11 ภาคเรียนท่ี 1 รหัสวิชา ค23101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 จำนวน 1.5 หนวยกิต เวลา 60 ชวั่ โมง การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามท่ีมดี กี รีสงู กวา สอง จำนวน 9 ชว่ั โมง อสมการเชิงเสน ตัวแปรเดียว สมการกำลงั สองตวั แปรเดยี ว จำนวน 11 ชัว่ โมง จำนวน 9 ชว่ั โมง คณิตศาสตรพ ้ืนฐาน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 จำนวน 60 ช่วั โมง ความคลา ย กราฟของฟง กช ันกำลงั สอง จำนวน 9 ชว่ั โมง จำนวน 9 ชวั่ โมง *หมายเหตุ สอบกลางภาค 1 ช่ัวโมง สถติ ิ (3) สอบปลายภาค 1 ชว่ั โมง จำนวน 11 ช่ัวโมง
12 โครงสรางรายวชิ า รายวิชาคณิตศาสตรพนื้ ฐาน รหัสวิชา ค23101 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หนว ยกิต ที่ ชื่อหนวย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนักคะแนน การเรียนรู เรยี นรู / ตัวชวี้ ัด ( ชม.) K P A รวม 1 อสมการเชิง ค 1.3 ม.3/1 อสมการเปนประโยคที่แสดงถงึ ความสมั พนั ธ 11 8 1 1 10 เสน ตวั แปร ของจำนวน โดยมีสัญลักษณ > < ≥ ≤ หรือ เดยี ว ≠ แสดงความสัมพันธ อสมการเชิงเสนตัว แ ป ร เดี ย ว เป น อ ส ม ก ารท่ี มี ตั วแ ป รห นึ่ ง ตัวแทนจำนวนที่ไมทราบคาในอสมการ และ เลขช้ีกำลังของตัวแปรเปนหน่ึงเทานั้น โดย คำตอบของอสมการ คือ จำนวนท่ีแทนตัว แปรในอสมการแลว ทำใหอ สมการเปนจรงิ 2 การแยกตัว ค 1.2 ม.3/1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูง 9 8 1 1 10 ประกอบ กวาสอง โดยมีสัมประสิทธิ์เปนจำนวนเต็มที่ ของพหุนาม จัดอยูในรูปผลบวกของกำลังสาม และ ทม่ี ดี ีกรีสงู ผลตางของกำลังสาม โดยให A แทนพจน กวา สอง หนา และ B แทนพจนหลัง สามารถแยกตัว ประกอบของพหนุ ามได ดังน้ี A3 + B3 = (A + B)(A2 – AB + B2) และ A3 - B3 = (A - B)(A2 + AB + B2) พหุนามที่มีดีกรีสูงกวา สองบางพหุนาม สามารถจัดรูปใหมโดยใช สมบัติการเปล่ียนหมู สมบัติการสลับที่ และ สมบัติการแจกแจง เพื่อชวยในการแยกตัว ประกอบได 3 สมการกำลงั ค 1.3 ม.3/2 สมการกำลงั สองตัวแปรเดียว เปนสมการทมี่ ี 9 8 1 1 10 สองตัวแปร รูปท่วั ไปเปน ax2 + bx + c เมอื่ a, b และ c เดยี ว เปนคาคงตัว a ≠ 0 และมี x เปน ตัวแปรหรอื ตวั ไมทราบคา โดยคำตอบของสมการกำลงั สองตวั แปรเดียว คือ จำนวนเมื่อแทนคา ตวั แปรในสมการแลวทำใหสมการเปน จรงิ สวน การแกโจทยปญ หาสมการกำลงั สองตวั แปร เดียว ตองวิเคราะหโ จทย และแสดงวธิ ีทำเพื่อ หาคำตอบรวมทงั้ ตรวจสอบความสมเหตุสมผล ของคำตอบ สอบกลางภาค 1 15 3 2 20
13 ท่ี ชื่อหนว ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั คะแนน การเรยี นรู เรียนรู / ตวั ชว้ี ัด ( ชม.) K P A รวม 311 5 4 ความคลา ย ค 2.2 ม.3/1 รูปท่ีมีรูปรางเหมือนกัน แตขนาดแตกตางกัน 9 จัดวาเปนรูปที่คลายกัน รูปสามเหลี่ยมสองรูป 5 กราฟของ ค 1.2 ม.3/2 ที่คลายกันเปนไปตามเงื่อนไขเก่ียวกับขนาด ฟงกชนั กำลงั ของมุม และอัตราสวนของความยาวของดาน สอง ท่ีสมนัยกัน โดยสามารถนำความรูเก่ียวกับรูป สามเหลยี่ มทค่ี ลา ยกนั ไปใชในชีวิตประจำวนั ฟงกชันกำลังสองเปนฟงกชันท่ีอยูในรูป y = 9 311 5 ax2 + bx + c เม่ือ a, b และ c เปนจำนวน 6 สถติ ิ ค 3.1 ม.3/1 จริงใด ๆ และ a ≠ 0 ซ่ึงกราฟของฟงกชัน 11 8 1 1 10 กำลังสอง เรียกวา พาราโบลา และกราฟ พาราโบลาท่ีอยูในรูปสมการ y = ax2 เม่ือ a ≠ 0 จะเปนกราฟพาราโบลา ชนิดหงาย เม่ือ a > 0 และชนดิ ควำ่ เม่ือ a < 0 การวิเคราะหขอมูลจากแผนภาพกลอง เปน การวิเคราะหจ ากแผนภาพทแ่ี สดงการกระจาย 1 25 3 2 30 ของขอมูลโดยอาศัยความรูเกี่ยวกับ ควอรไ ทล มาใชสรางแผนภาพ เพื่อแสดงภาพรวมของ ข อมู ล ซึ่ งสามารถน ำข อมู ลที่ ได แป ล ความหมายผลลัพธรวมทั้งนำสถิติไปใชในชีวิต จรงิ ไดอ ยางเหมาะสม สอบปลายภาค รวมตลอดภาค 60 78 12 10 100 อัตราสว นคะแนน = 78 : 12 : 10 = 70 : 30 อัตราสวนคะแนน K : P : A = 30 คะแนน คะแนนเกบ็ ระหวา งภาค : คะแนนปลายภาค = 20 คะแนน = 20 คะแนน • คะแนนเก็บกอนสอบกลางภาค = 30 คะแนน • สอบกลางภาค = 100 คะแนน • คะแนนเก็บหลงั สอบกลางภาค • สอบปลายภาค รวมตลอดภาคเรียน
14 การวเิ คราะหม าตรฐานและตวั ช้ีวดั รายวชิ า คณิตศาสตรพ นื้ ฐาน รหสั วชิ า ค23101 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 หนวยการเรียนรูที่ 1 : อสมการเชิงเสนตวั แปรเดยี ว (เวลา 11 ช่ัวโมง) ตวั ชว้ี ดั รูอ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชนิ้ งาน สมรรถนะสำคญั คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ค 1.3 ม.3/1 - วิธกี ารใชส มบตั ขิ องการไมเทา กันในการวเิ คราะหเ พือ่ - ทำแบบฝก หดั - การคดิ - มีวนิ ยั - การแกป ญ หา - ใฝเ รียนรู แกป ญ หาคณติ ศาสตร เร่ืองอสมการเชงิ - การใชเทคโนโลยี - มุง มน่ั ในการทำงาน - ซอื่ สตั ย สุจรติ - แกปญหาคณิตศาสตรในชีวิตจริงโดยใชอสมการเชิงเสนตัว เสน ตวั แปรเดียว แปรเดยี ว - สรปุ ความรูเรือ่ ง ความคลาย (ชิน้ งาน)
15 การวิเคราะหมาตรฐานและตวั ช้วี ดั รายวชิ า คณิตศาสตรพ นื้ ฐาน รหัสวิชา ค23101 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 หนวยการเรียนรทู ี่ 2 : การแยกตัวประกอบของพหุนามทมี่ ดี กี รสี ูงกวาสอง (เวลา 9 ชั่วโมง) ผลการเรยี นรู รูอะไร ทำอะไร ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสำคญั คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ค 1.2 ม.3/1 - หลักและวิธกี ารเกยี่ วกับการแยกตวั ประกอบของพหุนามที่มี - แบบฝก หดั เรอ่ื ง - การคดิ - มีวินัย ดีกรีสูงกวาสอง การแยกตัว - การแกป ญ หา - ใฝเรยี นรู - แกปญหาคณติ ศาสตรโ ดยใชห ลักการแยกตัวประกอบของ - มงุ มั่นในการทำงาน พหุนามทม่ี ดี ีกรสี ูงกวา สอง ประกอบของพหุ นามท่มี ดี กี รีสูงกวา สอง
16 การวิเคราะหมาตรฐานและตวั ชวี้ ดั รายวชิ า คณติ ศาสตรพ น้ื ฐาน รหสั วิชา ค23101 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 : สมการกำลงั สองตัวแปรเดยี ว (เวลา 9 ชว่ั โมง) ผลการเรยี นรู รูอะไร ทำอะไร ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสำคญั คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ค 1.3 ม.3/2 - หลกั และวธิ ีการของการแกสมการกำลงั สองตัวแปรเดยี วเพอ่ื - ทำแบบฝก หดั - การคดิ - มวี นิ ยั นำไปใชในการแกป ญ หาคณติ ศาสตร เรื่อง สมการกำลงั - การแกป ญ หา - ใฝเรียนรู - แกป ญ หาคณติ ศาสตรในชวี ิตจริงโดยใชสมการกำลังสองตวั สองตัวแปรเดียว - การใชเทคโนโลยี - มงุ ม่ันในการทำงาน แปรเดียว - สรุปความรูเร่ือง - ซอ่ื สตั ย สุจรติ สมการกำลังสองตัว แปรเดียว(ช้ินงาน)
17 การวเิ คราะหม าตรฐานและตวั ชวี้ ดั รายวิชา คณติ ศาสตรพ นื้ ฐาน รหสั วิชา ค23101 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 หนวยการเรียนรูที่ 4 : ความคลาย (เวลา 9 ชั่วโมง) ตวั ชว้ี ัด รูอะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสำคญั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ค 2.2 ม.3/1 - การใชสมบตั ิของรปู สามเหลย่ี มทีค่ ลา ยกันในการแกป ญ หา - ทำแบบฝกหดั - การคิด - มวี ินยั - การแกปญ หา คณติ ศาสตร เรอ่ื งความคลาย - การใชเทคโนโลยี - ใฝเรียนรู แกปญ หาคณิ ตศาสตรในชีวิตจริงโดยใชสมบัติของรูป - สรปุ ความรเู ร่อื ง - มงุ ม่ันในการทำงาน - ซื่อสัตย สจุ รติ สามเหลีย่ มทค่ี ลายกัน ความคลาย (ชน้ิ งาน)
18 การวเิ คราะหม าตรฐานและตวั ชวี้ ดั รายวิชา คณติ ศาสตรพ น้ื ฐาน รหสั วชิ า ค23101 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 หนวยการเรยี นรทู ี่ 5 : กราฟของฟงกช ันกำลังสอง (เวลา 9 ชัว่ โมง) ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ช้ินงาน สมรรถนะสำคญั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ค 1.2 ม.3/2 - วธิ กี ารและลกั ษณะกราฟของฟงกชันกำลังสอง - แบบฝก หดั เร่อื ง - การคดิ - มีวินัย - นำความรูเกยี่ วกับฟง กชนั กำลังสองไปใชใ นการแกปญหา กราฟของฟง กชัน - การแกปญ หา - ใฝเรยี นรู - มุง มนั่ ในการทำงาน กำลังสอง
19 การวิเคราะหมาตรฐานและตวั ช้วี ดั รายวิชา คณติ ศาสตรพ น้ื ฐาน รหัสวชิ า ค23101 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 6 : สถิติ (เวลา 11 ชั่วโมง) ผลการเรยี นรู รูอะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสำคญั คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ค 3.1 ม.3/1 - การนำเสนอและวิเคราะหข อ มูลจากแผนภาพกลอง - แบบฝก หดั เรอื่ ง - การคดิ - มีวนิ ัย - การนำสถติ ไิ ปใชในชีวิตจริงโดยใชเทคโนโลยที ่เี หมาะสม สถิติ - การแกปญ หา - ใฝเ รยี นรู - นำเสนอและวเิ คราะหข อมูลโดยนำสถิติไปใชในชวี ิตจรงิ โดย - มงุ มัน่ ในการทำงาน ใชเทคโนโลยี - สรา งแผนภาพ เพอ่ื แสดงภาพรวมของขอมูล
20 กำหนดการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรยี น รหัสวชิ า ค 23101 รายวิชาคณิตศาสตรพ ื้นฐาน จำนวน 1.5 หนว ยกิต 3 คาบ/สปั ดาห ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2564 ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 สปั ดาห ว/ด/ป หนว ยการเรียนรู/ ผลการเรยี นรู กจิ กรรม/ เวลา ที่ แผนการเรยี นรู กระบวนการเรียนรู (ชั่วโมง) 1 แนะนำอสมการเชงิ เสนตัวแปรเดยี ว เขา ใจและใชส มบัติของการไมเ ทา กัน เพื่อวเิ คราะหและ แบบทดสอบกอนเรียน 2 แนะนำอสมการเชงิ เสนตวั แปรเดียว แกปญหาโดยใชอ สมการเชงิ เสนตัวแปรเดียว สังเกตการทำกจิ กรรม 1 3 แนะนำอสมการเชงิ เสนตัวแปรเดียว สงั เกตการทำกิจกรรม 1 คำตอบอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เขาใจและใชก ารแยกตัวประกอบของพหนุ ามทีม่ ดี กี รีสงู 1 4 กวา สองในการแกป ญหาคณิตศาสตร แบบฝกหัด 1 คำตอบอสมการเชิงเสนตวั แปรเดียว - แบบฝก หดั 1 การแกอสมการเชงิ เสน ตัวแปรเดยี ว 1 การแกอสมการเชงิ เสน ตวั แปรเดียว - ใบงาน 1 - แบบฝก หัด 1 การแกอ สมการเชิงเสน ตัวแปรเดียว แบบฝก หดั 1 การแกอ สมการเชิงเสน ตัวแปรเดยี ว 1 - ใบงาน โจทยป ญหาเกย่ี วกับอสมการเชิงเสน แบบฝก หดั 1 ตัวแปรเดยี ว แบบทดสอบหลังเรยี น 1 โจทยป ญ หาเกยี่ วกบั อสมการเชงิ เสน ตัวแปรเดยี ว แบบทดสอบกอนเรียน การแยกตวั ประกอบของพหุนามทอี่ ยู ในรปู ผลบวก
สัปดาห ว/ด/ป หนว ยการเรยี นร/ู ผลการเรยี นรู กิจกรรม/ 21 ท่ี แผนการเรยี นรู กระบวนการเรยี นรู 5 เขาใจและใชก ารแยกตวั ประกอบของพหนุ ามท่ีมีดกี รสี ูง สงั เกตการทำกิจกรรม เวลา การแยกตวั ประกอบของพหุนามที่อยู กวาสองในการแกปญหาคณิตศาสตร (ช่วั โมง) 6 ในรปู ผลบวก แบบฝกหดั ประยุกตใชส มการกำลังสองตัวแปรเดียวในการแกปญ หา 1 7 การแยกตัวประกอบของพหุนามทอ่ี ยู คณิตศาสตร แบบฝกหัด 8 ในรูปผลบวก 1 แบบฝก หัด การแยกตวั ประกอบของพหุนามทอ่ี ยู 1 ในรูปผลตาง สังเกตการทำกิจกรรม 1 การแยกตวั ประกอบของพหุนามที่อยู ใบงาน ในรปู ผลตา ง 1 สังเกตการทำกิจกรรม การแยกตวั ประกอบของพหุนามท่ีอยู 1 ในรูปผลตา ง แบบทดสอบหลงั เรียน 1 การแยกตวั ประกอบของพหุนามทม่ี ี แบบทดสอบกอนเรียน ดกี รีสงู กวาสาม ใบงาน 1 การแยกตวั ประกอบของพหุนามทม่ี ี แบบฝก หดั 1 ดกี รสี งู กวาสาม 1 1 การแยกตวั ประกอบของพหุนามทมี่ ี ดีกรสี ูงกวาสาม แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดยี ว แนะนำสมการกำลงั สองตัวแปรเดยี ว การแกส มการกำลังสองตวั แปรเดยี ว
สปั ดาห ว/ด/ป หนวยการเรยี นรู/ ผลการเรยี นรู กจิ กรรม/ 22 ท่ี แผนการเรียนรู กระบวนการเรียนรู สังเกตการทำกจิ กรรม เวลา 8 การแกส มการกำลังสองตวั แปรเดยี ว แบบทดสอบหลงั เรยี น (ชวั่ โมง) การแกสมการกำลงั สองตวั แปรเดียว แบบฝก หัด 1 สังเกตการนำเสนอ 1 9 การแกสมการกำลังสองตัวแปรเดียว 1 ใบงาน 1 โจทยป ญ หาเกยี่ วกบั สมการกำลงั สอง ประยุกตใชสมการกำลงั สองตัวแปรเดียวในการแกปญหา ตวั แปรเดยี ว คณติ ศาสตร แบบทดสอบหลงั เรียน 1 10 โจทยป ญหาเกยี่ วกบั สมการกำลังสอง 1 ตวั แปรเดยี ว โจทยปญ หาเกย่ี วกบั สมการกำลังสอง ตัวแปรเดยี ว 10 สอบกลางภาค สอบกลางภาค - เขา ใจและใชส มบตั ขิ องการไมเ ทากนั เพือ่ วเิ คราะหและ - ขอ สอบแบบปรนัย 20 แกป ญ หา โดยใชอสมการเชงิ เสน ตัวแปรเดียว จำนวน 20 ขอ 10 - เขาใจและใชก ารแยกตัวประกอบของพหุนามทมี่ ีดกี รีสงู คะแนน กวาสองในการแกปญ หาคณิตศาสตร - ขอสอบแบบอตั นัย จำนวน 2 ขอ 5 คะแนน - ประยุกตใ ชส มการกำลังสองตวั แปรเดียวในการ แกปญ หาคณิตศาสตร
สัปดาห ว/ด/ป หนวยการเรียนรู/ ผลการเรยี นรู กจิ กรรม/ 23 ที่ แผนการเรียนรู เขาใจและสามารถใชสมบตั ขิ องรปู สามเหลย่ี มท่ีคลายกนั กระบวนการเรยี นรู 11 เวลา รปู เรขาคณิตทค่ี ลา ยกัน ในการแกปญ หาคณิตศาสตรและปญ หาในชีวติ จรงิ แบบทดสอบกอ นเรียน (ชว่ั โมง) 12 รปู เรขาคณิตทคี่ ลา ยกัน แบบฝก หัด 13 รปู เรขาคณติ ที่คลา ยกัน แบบฝก หดั 1 1 14 รปู สามเหลยี่ มทคี่ ลา ยกัน ใบงาน 1 14 รปู สามเหล่ียมทค่ี ลา ยกัน สงั เกตการทำกิจกรรม 1 15 รูปสามเหลย่ี มที่คลา ยกนั 1 16 โจทยป ญ หาเกย่ี วกับรูปสามเหลี่ยมท่ี แบบฝก หดั 1 ใบงาน 1 คลา ยกัน โจทยป ญหาเกยี่ วกับรปู สามเหลย่ี มท่ี แบบฝกหดั 1 คลายกัน แบบทดสอบกอนเรียน 1 โจทยป ญหาเกย่ี วกบั รูปสามเหล่ียมท่ี เขาใจและใชค วามรเู กย่ี วกับฟง กช นั กำลงั สองในการ แบบทดสอบกอ นเรียน 1 คลายกัน แกป ญ หาคณิตศาสตร สังเกตการทำกิจกรรม 1 แนะนำฟงกช นั 1 แนะนำฟง กชัน แบบฝก หดั 1 กราฟของฟงกชนั กำลังสอง ใบงาน 1 กราฟของฟง กชนั กำลังสอง 1 กราฟของฟง กชนั กำลงั สอง แบบฝก หัด 1 กราฟของฟงกชนั กำลังสอง แบบฝก หัด 1 กราฟของฟงกชันกำลังสอง แบบฝกหดั กราฟของฟง กชันกำลังสอง ใบงาน
สัปดาห ว/ด/ป หนว ยการเรยี นร/ู ผลการเรยี นรู กิจกรรม/ 24 ท่ี แผนการเรียนรู เขา ใจและใชค วามรเู กี่ยวกบั ฟง กช นั กำลงั สองในการ กระบวนการเรยี นรู 16 กราฟของฟงกชนั กำลงั สอง แบบทดสอบหลงั เรยี น เวลา แกป ญหาคณิตศาสตร (ชั่วโมง) 17 แผนภาพกลอง แบบทดสอบกอนเรียน แผนภาพกลอง เขา ใจและใชค วามรทู างสถิติในการนำเสนอและวิเคราะห แบบฝกหดั 1 18 แผนภาพกลอ ง ขอ มูลจากแผนภาพกลอ งและแปลความหมาย ผลลพั ธ แบบฝกหดั การอานและแปลความหมายจาก แบบฝก หัด 1 19 แผนภาพกลอ ง รวมทั้งนำสถิติไปใชในชีวติ จรงิ 1 การอา นและแปลความหมายจาก แบบฝก หัด 1 20 แผนภาพกลอ ง สอบปลายภาค 1 การอา นและแปลความหมายจาก ใบงาน แผนภาพกลอ ง 1 การอานและแปลความหมายจาก ใบงาน แผนภาพกลอ ง 1 การอานและแปลความหมายจาก สงั เกตการทำกจิ กรรม แผนภาพกลอ ง 1 การอานและแปลความหมายจาก แบบฝกหัด แผนภาพกลอ ง 1 การอานและแปลความหมายจาก แบบฝก หัด แผนภาพกลอง 1 การอานและแปลความหมายจาก แบบทดสอบหลงั เรียน แผนภาพกลอง 1 1
- เขาใจและใชส มบัติของการไมเ ทากนั เพ่อื วิเคราะหแ ละ 25 แกปญหา โดยใชอสมการเชิงเสน ตวั แปรเดยี ว 30 สอบปลายภาค - เขา ใจและใชก ารแยกตวั ประกอบของพหุนามทม่ี ดี กี รสี งู - ขอสอบแบบปรนัย 100 กวา สองในการแกปญหาคณติ ศาสตร จำนวน 20 ขอ 20 *หมายเหตุ ว/ด/ป เปนไปตามที่สถานศกึ ษากำหนด - ประยุกตใ ชส มการกำลงั สองตวั แปรเดยี วในการ คะแนน แกปญ หาคณติ ศาสตร - ขอสอบแบบอตั นัย จำนวน 2 ขอ 10 คะแนน - เขาใจและสามารถใชสมบัตขิ องรูปสามเหลยี่ มทค่ี ลา ยกนั ในการแกปญหาคณติ ศาสตรแ ละปญ หาในชีวิตจริง - เขา ใจและใชค วามรเู กยี่ วกบั ฟง กชนั กำลังสองในการ แกปญ หาคณติ ศาสตร - เขา ใจและใชค วามรทู างสถิติในการนำเสนอและ วเิ คราะหข อมลู จากแผนภาพกลองและแปลความหมาย ผลลัพธ รวมทงั้ นำสถิตไิ ปใชในชีวิตจรงิ - เขา ใจและใชค วามรูเก่ยี วกบั อตั ราสวนตรีโกณมติ ใิ นการ แกปญ หาคณิตศาสตรและปญ หาในชวี ติ จริง
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: