Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม

โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม

Published by Sasivimon Khumdejarean, 2021-03-14 17:09:58

Description: โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม รหัสวิชา ค20202 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งรายวิชา กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ นางสาวศศิวมิ ล คาํ ดีเจรญิ ตําแหนง่ ครผู ูช้ ่วย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชียงใหม่ สาํ นกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

9โครงสรา งรายวชิ า 9รายวิชา คณิตศาสตร รหัสวิชา ค20202 9ระดับช้ัน มธั ยมศึกษาตอนตน 9กลุม สาระการเรียนรู คณิตศาสตร จดั ทำโดย นางสาวศศิวิมล คำดเี จริญ ตำแหนง ครูผูช วย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 31 จังหวัดเชียงใหม สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

2 คำนำ โครงสรางรายวิชาน้ีจัดขึ้นเพื่อใหครูผูสอนไดเตรียมการในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ค20202 คณิตศาสตรเพิ่มเติม โดยยึดตามหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงมีรายเอียดของหลักสูตร คือ คำอธิบายรายวิชา โครงสราง รายวิชา กำหนดเวลาเรียน น้ำหนักคะแนน ทักษะกระบวนการในการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล การเรียนรูของครู หวังเปนอยางย่ิงวาจะเปนประโยชนสำหรับครูผูสอนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนและผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 จังหวัดเชียงใหม สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ตอไป ศศวิ มิ ล คำดเี จริญ

สารบัญ 3 เร่ือง หนา คำนำ ก สารบัญ ข คำชีแ้ จงรายวิชาคณติ ศาสตรเ พ่มิ เติม ค20202 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน ภาคเรยี นที่ 2 1-6 คำอธิบายรายวชิ าคณิตศาสตรเพมิ่ เตมิ ค20202 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน ภาคเรยี นท่ี 2 7 ผังมโนทศั น 8 โครงสรางรายวิชา 9-10 การวเิ คราะหม าตรฐานและตวั ช้วี ัด 11-15 กำหนดการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรยี น 16-17

4 คำช้แี จง รายวชิ าคณติ ศาสตร กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร รหสั วิชา ค20202 ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน 1. แนวคดิ หลกั หลกั การ หลักสูตรสถานศึกษากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มีหลักการท่ีสำคัญ ดงั นี้ 1. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูเปน เปาหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเปนไทย ควบคูกับความเปนสากล 2. เปนหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอภาค และมี คณุ ภาพ 3. เปนหลกั สูตรการศกึ ษาที่สนองการกระจายอำนาจ ใหสังคมมีสวนรว มในการจัดการศึกษาใหสอดคลอ ง กับสภาพและความตอ งการของทอ งถนิ่ 4. เปนหลกั สตู รการศึกษาทม่ี โี ครงสรางยดื หยนุ ท้งั ดา นสาระการเรยี นรู เวลาและการจดั การเรียนรู 5. เปนหลกั สูตรการศึกษาท่ีเนน ผูเรยี นเปนสำคัญ 6. เปนหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุมเปา หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ วิสยั ทศั น มุงพัฒนา มุงฝกฝนใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มีแบบแผน สามารถคิด วิเคราะหปญหา และสถานการณไดอยางถี่ถวนรอบคอบ และเปนเคร่ืองมือในการศึกษาศาสตรอ่ืน ๆ ที่เก่ียวของ เปน ประโยชนในการดำรงชวี ิต ทำใหเปนคนทสี่ มบูรณ คดิ เปน แกป ญ หาเปน สามารถอยกู ับผูอนื่ ไดอยางมคี วามสุข จุดหมาย หลักสตู รสถานศึกษากลุม สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดีมีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษา ตอ และประกอบอาชีพจึงกำหนดเปน จุดหมายเพ่ือใหเกดิ กับผเู รยี นเมื่อจบการศึกษาตามหลักสตู ร ดงั น้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเองมีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. มคี วามรู ความสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแกป ญ หา การใชเทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ติ 3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มสี ุขนิสยั และรักการออกกำลงั กาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอม มีจิต สาธารณะที่มงุ ทำประโยชนแ ละสรา งสิ่งที่ดีงามในสงั คม และอยรู ว มกันในสังคมอยา งมคี วามสุข

5 สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มุงใหผ เู รยี นเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษาถายทอด ความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และประสบการณอันจะ เปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือก รับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผล และความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย คำนึงถึงผลกระทบทมี่ ตี อ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจ เกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอ ยางเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญไดอยาง ถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไ ขปญหาและมีการตัดสินใจ ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนตอตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอม 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงานและการอยูรวมกันในสังคมดวยการสราง เสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับ การเปล่ียนแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอมและการรูจักหลกี เล่ียงพฤติกรรมไมพงึ ประสงคที่สงผลกระทบตอตนเอง และผูอื่น 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี เปน ความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ และมีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การส่ือสาร การทำงาน การแกปญหา อยา งสรา งสรรค ถูกตองเหมาะสมและมีคณุ ธรรม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถอยู รวมกับผอู นื่ ในสังคมไดอ ยางมคี วามสุขในฐานะเปนพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รักชาติ ศาสน กษตั ริย 2. ซือ่ สตั ยส จุ รติ 3. มวี ินยั 4. ใฝเรยี นรู 5. อยูอ ยางพอเพียง 6. มุงม่นั ในการทำงาน 7. รักความเปน ไทย 8. มีจิตสาธารณะ

6 2. กระบวนการจดั การเรียนรู แนวคิดสำคัญของการจัดการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เปดโอกาสให ผูเรียนคิดและปฏิบัติดวยกระบวนการที่หลากหลาย เพ่ือเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ การ ประเมินการเรียนรูจึงมีความสำคัญและจำเปนอยางย่ิงตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูในหองเรียน เพราะสามารถทำให ผูสอนประเมนิ ระดับพัฒนาการเรียนรูของผเู รยี น การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมี ความสำคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติเละตามศักยภาพ ให ความสำคัญของการบูรณาการความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูตามความสารถของระดับการศึกษาไดระบุใหผูที่ เกีย่ วของดำเนินการ ดังน้ี สถานศึกษาและหนว ยงานที่เกีย่ วของ 1. จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคำนึงถึงความ แตกตา งระหวางบคุ คล 2. ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกัน เเละแกไ ขปญหา 3. จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกปฏิบัติใหทำได คิดเปน ทำเปน รักการอาน และ เกดิ การใฝเ รยี นรอู ยางตอเนอื่ ง 4. จัดการเรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดา นตางๆอยา งไดส ดั สว นสมดลุ กนั รวมทง้ั ปลูกฝง คุณธรรม คานยิ มทด่ี งี าม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคไ วใ นเนื้อหาวิชา 5. สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียน และอำนวยความสะดวก เพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเเละมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู อันน้ี ผูส อนและผเู รียนอาจเรียนรไู ปพรอ มกนั จากสอื่ การเรียนรู การสอน แหลงวิทยาการประเภทตางๆ 6. การจัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความรวมมือกับผูปกครองและบุคคลใน ชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกนั พฒั นาผเู รียนตามศักยภาพ ครูผูส อน การจัดการเรียนรูตามแนวดังกลาว จำเปนตองเปล่ียนแปลงพฤติกรรม การเรียนการสอนท้ังของผูเรียนและ ผสู อน กลาวคอื ลดบทบาทของครูผูส อนจากการเปน ผบู อกเลา บรรยาย สาธติ เปนการวางแผนจัดกจิ กรรมใหนกั เรยี น เกิดการเรียนรู กิจกรรมตางๆจะตองเนนท่ีบทบาทของผูเล้ียงต้ังแตเริ่ม คือ รวมวางแผนการเรียน การวัดผล ประเมินผล เเละตอ งคำนงึ วากิจกรรมการเรยี นน้ัน เนนการพฒั นากระบวนการคดิ วางแผน ลงมือปฏบิ ตั ศิ ึกษา คน ควา รวบรวมขอมูล ดวยวิธีการตางๆจากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห แกปญหา การปฏิสัมพันธซ่ึงกัน และกัน การสรางคำอธิบายเกี่ยวกับขอมูลท่ีสืบคน ได เพื่อนำไปสูคำตอบของปญหาหรือคำถามตางๆในท่ีสุด สรางองค ความรูทั้งนีก้ ิจกรรมการเรยี นรเู หลา น้ีตองพัฒนาผูเรียนที่มีพฒั นาการเหมาะสมตามวยั ท้งั รางกาย อารมณ สงั คม เเละ สตปิ ญ ญา โดยคำนงึ ถงึ เรือ่ งตา งๆดังน้ี • ควรใหน ักเรียนทุกคนมสี วนรวมในกจิ กรรมการเรียนรูต ลอดเวลา ดวยการกระตนุ ใหน ักเรียนลงมอื ทดลองและ อภิปรายผล โดยใชเทคนิคตางๆของการสอน เชน การนำเขาสูบทเรียน การใชคำถาม เกมกระตุนและ เตรียมพรอ มกอ นเรียน ทำใหการเรยี นการสอนหนา สนใจและมีชวี ติ ชวี า • ครคู วรมกี ารวางแผนการใชคำถามอยางมปี ระสทิ ธิภาพ เพอ่ื จะนำนักเรียนเขา สูบทเรียน เเละลงขอสรุปไดโดย ทีไ่ มใชเ วลานานเกินไป ครคู วรเลือกใชค ำถามที่มคี วามยากงายเหมาะสมกับความสามารถของผเู รียน

7 • เม่ือนักเรยี นถาม อยาบอกคำตอบทันที ควรใชค ำแนะนำท่จี ะชว ยใหนักเรียนหาคำตอบไดเอง ครูควรใหความ สนใจตอบคำถามของนักเรียนทุกๆคน เเมวาคำถามนั้นจะไมเกี่ยวกับเรื่องท่ีกำลังเรียนอยูก็ตาม ครู ควรจะชี้แจงใหทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสูเรื่องที่กำลังอภิปรายอยู รับปญหาท่ีนักเรียน ถามน้ัน ควรอภปิ รายภายหลังจากการอภปิ รายเนอ้ื หาทเ่ี กี่ยวของกับเรอื่ งในบทเรียน • การสำรวจตรวจสอบซ้ำ เปนส่ิงจำเปน เพ่ือใหไดขอมูลที่นาเชื่อถือ ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู ควรย้ำให นักเรียนไดสำรวจตรวจสอบซ้ำ เพือ่ นำไปสขู อสรุปท่ีถูกตองและเชอื่ ถอื ได 3. ส่ือการจดั การเรยี นร/ู แหลงเรียนรู ส่ือการจัดการเรียนรู เปนเครื่องมือสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูใหนักเรียนไดรับความรู ทักษะ กระบวนการ ไดง า ยในเวลาสน้ั ชว ยใหเ กดิ ความคิดรวบยอดอยา งรวดเร็ว สือ่ ทปี่ รากฏในแผนการจัดการเรยี นรู มดี ังน้ี 1. ใบความรู ใบงาน แผนภาพนำเสนอขอ มูล 2. คลปิ /วดี ิทัศน 3. ตัวอยางหรือสถานการณสมมติ 4. สอื่ บุคคล แหลง เรียนรู เปนเคร่อื งมอื สรา งคณุ ลกั ษณะการใฝเ รียนรูที่ทุกคนตองใฝรูต ลอดชีวติ ดังนี้ 1. แหลง เรยี นรูภายในโรงเรยี น 2. แหลง เรียนรอู อนไลน - สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน - เวบ็ ไซตออนไลนต า งๆ 4. การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู จุดประสงคสำคัญของการประเมินผลการเรียนรู คือ การชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคท่ี ผูสอนหรือหลักสูตรวางไว ปญหาที่พบในปจจุบันก็คือ ผูบริหาร ผูสอน ตลอดจนผูปกครองจำนวนมากยังให ความสำคัญกับการเรียนรูแบบทองจำเพ่ือสอบ หรือการเรียนรูเพ่ือแขงขันซึ่งถือเปนการเรียนรูแบบผิวเผินมากกวา การประเมนิ การเรยี นรรู ะหวางการเรยี นรเู พื่อพฒั นาตนเอง ซ่งึ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรูจะยงั่ ยืนกวา ในการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาสมรรถนะดานตางๆของผูเรียนจำเปนตองมีการประเมินการเรียนรูอยาง ตอเนือ่ ง ต้ังแตเ รม่ิ ตน ระหวา ง และสิ้นสดุ กระบวนการเรยี นรู โดยใชก ารประเมนิ ในรปู แบบทหี่ ลากหลายสอดคลอ งกับ วัตถุประสงคของการเรียนรู รูปแบบการประเมินการเรียนรูไดแก การประเมินการเรียนรูระหวางเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรูสรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรูตามสภาพ จริง (Authentic Assessment)ในการประเมินเพ่ือพัฒนาการเรียนรูและการประเมินตามสภาพจริงนั้น ผูสอน จำเปนตองสะทอนการประเมินใหผูเรียนรับทราบ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผูสอนตองนำผลการประเมินมา พิจารณาเพื่อทบทวนและปรับแผนการจัดการเรียนรูเพ่ือใหสามารถดำเนินการแกไข ชวยเหลือ หรือหาวิธีการตางๆ เพ่ือชวยใหผูเรียนแตละคนเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองไดตามแตละจุดประสงคการเรียนรูหรือเปาหมายของ ตัวชว้ี ัดตา งๆ (กศุ ลนิ , 2555) การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักพื้นฐาน 2 ประการ คือ การประเมินเพ่ือพัฒนา ผูเรียนและเพ่ือการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนของผูเรียนใหประสบความสำเร็จน้ัน ผูเรียน จะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสำคัญ และ

8 คุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ซ่ึงเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุกระดับ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2552) การวดั และประเมินผลการเรียนรทู ่ปี รากฏในแผนการจัดการเรยี นรู ใหความสำคัญของการประเมินพฤตกิ รรม การปฏบิ ัติ ดงั น้ี วิธีการประเมิน 1) การวัดและประเมินกอนเรียน เพื่อตรวจสอบความพรอม และความรูเดิมของนักเรียน (ผสมผสานในการ เรยี นรูข้นั นำ) 2) การวัดและประเมินระหวางเรียน ไดแก ดานความรู ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกต พฤติกรรม ถามตอบพรอมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนำเสนอ(ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนรูขั้นสอน) จดุ มุงหมายของการประเมนิ ระหวางเรยี นมีดังน้ี 2.1 เพื่อคนหาและวินิจฉัยวาผูเรียนมีความรูความเขาใจเนื้อหา มีทักษะความชำนาญ รวมถงึ มีเจตคตทิ างการ เรียนรูอยางไรและในระดับใด เพื่อเปนแนวทางใหผูสอนสามารถวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูไดอยางเหมาะสม เพื่อพัฒนาการเรยี นรขู องผเู รยี นไดอยา งเตม็ ศักยภาพ 2.2 เพือ่ ใชเ ปน ขอมลู ปอนกลบั ใหกับผเู รียนวา มีผลการเรียนรอู ยางไร 2.3 เพ่ือใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียนรูและเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดานการเรียนรูของผูเรียนแต ละคน 3) การวัดและประเมินหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบความสำเร็จตามจุดประสงครายแผน เปนการพัฒนาในจุดที่ ผเู รียนอาจจะเขาใจคลาดเคล่ือนหรือปฏบิ ัติไมถูกตอ ง (ผสมผสานในกิจกรรมข้นั สรปุ ) และเพื่อตดั สนิ ผลการเรยี นรูเ ปน การประเมินหลังจากผูเรียนไดเรียนไปแลว อาจเปนการประเมินหลังจบหนวย การเรียนรูหนวยใดหนวยหนึ่ง รวมทั้ง การประเมินกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน ผลจากการประเมินประเภทน้ีใชในการตัดสินผลการเรียนการสอน หรอื ตดั สินวา ผูเรยี นคนใดควรจะไดรบั คะแนนระดับใด 4) ประเมินรวบยอดเมื่อสิ้นสุดการเรียนรู เพื่อตรวจสอบคุณภาพผูเรียนวาบรรลุเปาหมายของหนวยการ เรียนรูตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะ คุณลักษณะและเจตคติ หรือไม การทำแบบบันทึกการเรียนรู (Learning Log) นอกจากน้ี ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูของตนเอง เพื่อเปดโอกาสไดสะทอนคิดส่ิงท่ีไดเรียนรูทั้งที่ทำไดดี และยังตองพัฒนา โดยการทำแบบบันทึกการเรียนรู (Learning Log) ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูยอนหลังจบ การเรียนรูแตละหนวยการเรียนรู และประเมินการเรียนรูรวมในชวงกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน โดยครู สามารถเลอื กใชชุดคำถามและจำนวนขอใหเ หมาะสมกบั บรบิ ทผเู รียน รวมทง้ั ใชประโยชนจากขอมลู ในแบบบนั ทึกเพื่อ พัฒนาการสอนของตนเอง และชวยเหลอื นักเรยี นเปนรายบคุ คลตอ ไป 5. คำแนะนำสำหรบั ครู 1. การเตรียมตัวของครู 1) ศึกษาทำความเขาใจคำชี้แจง และทำความเขาใจเชื่อมโยงทั้งเปาหมาย กิจกรรมการวัดผลและประเมินผล ระหวา งหนวยการเรียนรกู บั แผนการจัดการเรยี นรูรายช่วั โมง 2) ศกึ ษาคนความรูเพิม่ เตมิ จากแหลงเรียนรู หนว ยงาน องคก รใหความรูที่เชอ่ื ถือได รวมทัง้ เทคนิคการจัดการ เรยี นรเู พอ่ื พฒั นาความสามารถของผูเรียนอยา งรอบดา น 3) ปรับ ประยุกต หรือเพ่ิมเติมเปาหมายของเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เปนจุดเนนและเปน ปจจบุ นั ตามบรบิ ทของหอ งเรยี น โรงเรียน ชมุ ชน กจิ กรรมการเรียนรู รวมถงึ การวัดและการประเมินผล 4) จดั เตรยี มใบงาน บนั ทกึ การเรยี นรู สื่ออปุ กรณ

9 2. การนำแผนการจดั การเรยี นรูไปใช 1) ครูผูสอนควรศึกษาและทำความเขาใจกอนนำแผนการจัดการเรียนรูไปใช เตรียมสื่อใหพรอมลวงหนากอน นำไปใชส อนจรงิ 2) ครูผูสอนควรนำแผนการจัดการเรียนรูออกมาเตรียมแลววางแผนการจัดกิจกรรมใหเหมาะสมกับผูเรียน หรือมีการปรับปรุงแผนการสอนใหมีความทันสมัยตอความเปลี่ยนแปลงอยางสม่ำเสมอ ปลูกฝงคุณลักษณะอันพึง ประสงค คานิยม เจตคติ ทุกแผนการจัดการเรียนรู รวมทั้งวัดและประเมินผลท้ังทักษะกระบวนการเรียนรูตาม ศกั ยภาพของผูเรียน และตามสภาพจริง 3. การจัดสภาพแวดลอ มสง เสรมิ การเรียนรู 1) จัดสภาพแวดลอมในหองเรียน หรือนอกหองเรียนใหเอ้ือตอการเรียนรู สะอาด ปลอดภัย มีความเรียบรอย ตกแตงหองเรียนใหนาอยู มีมุมตางๆ ในหองเรียน มีที่เก็บวัสดุอุปกรณและงายตอการนำไปใช มีปายนิเทศใหความรู ภายนอกหองเรียนจัดบรรยากาศใหเปนธรรมชาติ นาอยู รมรื่น และเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัย 2) จัดสภาพแวดลอมในหองเรยี นใหผูเรียนไดฝ กปฏิบตั กิ าร 3) จัดสือ่ อุปกรณ ที่เก่ียวกบั การเรยี นรอู ยางพอเพยี งเหมาะสม 4) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู หรือชองทางเสนอขาวสารตางๆ เพ่ือใหผูเรียนไดรับรูขอมูลขาวสารที่ ทันสมัยและเปนปจจบุ ันอยเู สมอ 4. การบันทึกหลงั การสอนของครู 1) บันทึกการใชแผนการจัดการเรียนการสอนของตนเอง โดยสังเกตพฤติกรรมผูเรียนระหวางเรียนและ ประเมินตนเอง ใชเ ทคนคิ หรือวิธีการท่ที ำใหผ เู รียนมีสว นรวม มคี วามรู มที กั ษะ และคณุ ลกั ษณะตามจุดประสงค 2) บันทึกสาเหตุของความสำเร็จหรืออุปสรรคของการสอน เชน การจัดบรรยากาศสิ่งแวดลอม การเตรียมตัว เพื่อพัฒนาผเู รยี นใหบ รรลตุ ามเปา หมายหรือตัวชวี้ ดั ทีก่ ำหนดไวในแผนการจัดการเรียนรู

10 คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ค20202 คณิตศาสตร ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน จำนวน1.0หนว ยกติ ศึกษาความรูเกย่ี วกับเรอ่ื งการเปรยี บเทยี บเศษสวน การบวก การลบ การคูณและการหารจำนวนเต็ม การ แกโ จทยป ญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคณู เศษสว น การตรวจสอบคำตอบความสมเหตุสมผลทเี่ กิดจากการบวก การลบ การคูณ การหารของเศษสวน ความสมั พันธของการบวกกับการลบ การคณู กบั การหารเศษสวน โดยจดั ประสบการณ กจิ กรรม หรือ โจทยป ญ หาท่สี ง เสรมิ การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรใน การคดิ คำนวณ การใหเหตผุ ล การวิเคราะห การแกปญหา การสือ่ สาร การสือ่ ความหมาย และการนำเสนอ เพือ่ ใหเกิดความรคู วามเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรใู ฝเรียน มีระเบยี บวนิ ัยมงุ ม่นั ในการทำงานอยางมรี ะบบ ประหยัด ซอ่ื สตั ย มีวจิ ารณญาณ รจู กั นำความรไู ปประยุกตใชใ นการดำรงชวี ิตไดอยางพอเพียง รวมท้งั มเี จตคตทิ ด่ี ีตอ คณิตศาสตร ผลการเรียนรู 1. ระบุ เขาใจ ความหมายของเศษสว น 2. หาผลบวกของจำนวนเศษสว นได 3. หาผลลบของเศษสว น 4. หาผลคณู ของเศษสว นได 5. หาผลหารของเศษสวนได รวมทงั้ หมด 5 ผลการเรยี นรู

รายวชิ า คณติ ศาสตร ผังมโนทศั น 11 ภาคเรียนท่ี 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน รหัสวชิ า ค20202 จำนวน 1.0 หนว ยกติ เวลา 40 ชั่วโมง ชอ่ื หนวยเศษสวน ชื่อหนว ยการบวกเศษสว น จำนวน 4 ชั่วโมง : 10 คะแนน จำนวน 10 ชัว่ โมง : 10 คะแนน คณติ ศาสตร ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชวั่ โมง ช่อื หนว ย ผลลบเศษสวน ชอ่ื หนว ย การคูณเศษสว น จำนวน 10 ช่วั โมง : 10 คะแนน จำนวน 10 ช่วั โมง : 10 คะแนน ชอื่ หนว ย การหารเศษสว น จำนวน 6 ชว่ั โมง : 10 คะแนน

โครงสรา งรายวิชา 12 รายวชิ า คณิตศาสตร รหสั วิชา ค20202 ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หนวยกิต เวลา คะแนน ที่ ชอื่ หนว ย มาตรฐานตวั ชวี้ ดั / สาระสำคญั (ชม.) K P A รวม 1 เศษสว น ผลการเรยี นรู - ความหมายของเศษสวน 4 5 3 2 10 10 5 3 2 10 2 การบวกเศษสว น - ระบุ เขาใจ ความหมาย - การบวกของเศษสวน โจทยป ญ หาหรอื 10 5 3 2 10 ของเศษสวน สถานการณเ ก่ียวกบั เศษสว น 1 10 7 3 20 8 5 3 2 10 - หาผลบวกของจำนวน 6 5 3 2 10 เศษสวนได 1 20 5 5 30 40 55 27 18 100 3 การลบเศษสว น - หาผลลบของเศษสว น - การลบของเศษสวน โจทยป ญ หาหรอื สถานการณเ กย่ี วกบั เศษสว น สอบกลางภาค 4 การคณู เศษสว น - หาผลคณู ของเศษสว นได - การคณู ของเศษสว น โจทยปญ หาหรือ สถานการณเกย่ี วกับเศษสวน 5 การหารเศษสว น - หาผลหารของเศษสว นได - การหารของเศษสว น โจทยปญ หาหรือ สถานการณเก่ียวกับเศษสวน สอบปลายภาค รวมทง้ั สนิ้

13 อัตราสวนคะแนน = 55 : 27 : 18  อตั ราสว นคะแนน K : P : A = 70 : 30  คะแนนเกบ็ ระหวางภาค : คะแนนปลายภาค = 25 คะแนน • คะแนนกอนสอบกลางภาค = 20 คะแนน • สอบกลางภาค = 25 คะแนน • คะแนนเก็บหลงั สอบกลางภาค = 30 คะแนน • สอบปลายภาค = 100 คะแนน รวมตลอดภาคเรยี น

14 รายวชิ า คณติ ศาสตร การวเิ คราะหม าตรฐานและตวั ชี้วดั ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน ภาคเรยี นที่ 2 หนว ยการเรยี นรูท ่ี 1 เรือ่ งเศษสวน (เวลา 4 ช่ัวโมง) รหสั วิชา ค20202 ผลการเรยี นรู รูอ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิน้ งาน สมรรถนะสำคญั คุณลกั ษณะ - ใบงาน - การคดิ อันพงึ ประสงค ระบุ เขาใจ ความหมายของ - ความหมายของเศษสวน ความหมายของเศษสวน - การสอื่ สาร - มีวนิ ยั เศษสว น - อธิบายความหมายของเศษสวน - แบบฝก หัด - การใชท กั ษะชีวิต - ใฝเ รียนรู ความหมายของเศษสวน - มงุ มั่นในการทำงาน - มีความซอื่ สัตย

15 การวิเคราะหมาตรฐานและตวั ชีว้ ดั รายวิชา คณติ ศาสตร รหัสวชิ า ค20202 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน ภาคเรียนท่ี 2 หนว ยการเรียนรูที่ 2 เรื่องผลบวกของเศษสว น (เวลา 10 ชัว่ โมง) ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสำคญั คุณลกั ษณะ หาผลบวกของจำนวน - วิธกี ารหาผลบวกของเศษสวน โจทย อันพงึ ประสงค เศษสวนได ปญหาหรอื สถานการณเกีย่ วกับเศษสว น - ใบงาน การบวกเศษสวน - การคดิ - มวี นิ ยั - หาผลบวกของเศษสวน แกโ จทยป ญหา - แบบฝก หัด การบวกเศษสว น - การส่ือสาร - ใฝเรยี นรู หรอื สถานการณเ กีย่ วกับเศษสวน - มุง มนั่ ในการทำงาน - การแกป ญ หา - มีความซ่ือสตั ย - การใชทักษะชีวติ

16 รายวชิ า คณิตศาสตร การวเิ คราะหมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน ภาคเรียนที่ 2 รหัสวิชา ค20202 หนว ยการเรยี นรูท่ี 3 เรอ่ื งผลลบของเศษสว น (เวลา 10 ชัว่ โมง) ผลการเรยี นรู รูอ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิน้ งาน สมรรถนะสำคญั คุณลกั ษณะ หาผลลบของจำนวน - การคิด อนั พึงประสงค เศษสวนได - วิธกี ารหาผลลบของเศษสว น โจทยป ญหา - ใบงาน การลบเศษสว น - การสอ่ื สาร - มวี ินยั หรอื สถานการณเ กี่ยวกบั เศษสว น - แบบฝก หดั การลบเศษสวน - การแกปญ หา - ใฝเรียนรู - หาผลลบของเศษสวน แกโ จทยปญ หาหรอื - ชน้ิ งาน เรอื่ งการบวก - การใชทกั ษะชวี ติ - มงุ ม่นั ในการทำงาน สถานการณเกยี่ วกับเศษสว น ลบเศษสว น - มีความซ่ือสัตย

17 การวิเคราะหมาตรฐานและตวั ชี้วดั รายวิชา คณิตศาสตร รหสั วิชา ค20202 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน ภาคเรียนท่ี 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 4 เรอ่ื งผลคูณของเศษสว น (เวลา 8 ชวั่ โมง) ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสำคญั คุณลกั ษณะ หาผลคณู ของจำนวน - วิธีการหาผลคูณของเศษสว น โจทยป ญ หา - ใบงาน การคณู เศษสวน - การคิด อนั พงึ ประสงค เศษสว นได หรอื สถานการณเกี่ยวกบั เศษสว น - แบบฝก หดั การคณู เศษสว น - การส่อื สาร - มวี ินัย - หาผลคณู ของเศษสวน แกโ จทยปญหา - การแกป ญ หา - ใฝเ รียนรู หรอื สถานการณเ กยี่ วกับเศษสวน - การใชทักษะชีวิต - มงุ มัน่ ในการทำงาน - มคี วามซ่ือสตั ย

18 การวิเคราะหม าตรฐานและตวั ช้วี ดั รายวชิ า คณติ ศาสตร รหสั วิชา ค20202 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน ภาคเรยี นที่ 2 หนว ยการเรยี นรูที่ 5 เรือ่ งผลหารของเศษสว น (เวลา 6 ชว่ั โมง) ผลการเรยี นรู รูอ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสำคญั คณุ ลักษณะ หาผลหารของจำนวน อันพึงประสงค เศษสว นได - วิธีการหาผลหารของเศษสว น โจทยป ญหา - ใบงาน การหารเศษสวน - การคดิ - มีวินัย หรอื สถานการณเกยี่ วกับเศษสวน - แบบฝก หดั การหารเศษสว น - การส่ือสาร - ใฝเ รียนรู - หาผลหารของเศษสวน แกโ จทยปญ หา - ชน้ิ งาน เรอ่ื งการบวกลบคูณ - การแกป ญ หา - มงุ ม่นั ในการทำงาน หรือสถานการณเกี่ยวกับเศษสวน หารเศษสว น - การใชท ักษะชวี ิต - มีความซ่ือสตั ย

19 กำหนดการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรียน รหัสวชิ า ค 20202 รายวชิ าคณิตศาสตร จำนวน 1.0 หนว ยกิต 2 คาบ/สัปดาห ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2563 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน สัปดาห ว/ด/ป หนวยการเรียนรู/ ผลการเรยี นรู กิจกรรม/ เวลา ท่ี แผนการเรียนรู ระบุ เขาใจ ความหมายของเศษสวน กระบวนการเรยี นรู (ชัว่ โมง) 1 ความหมายของเศษสว น 2 ความหมายของเศษสวน หาผลบวกของจำนวนเศษสวนได แบบฝก หดั 2 ใบงาน 2 3 การบวกเศษสว น หาผลลบของจำนวนเศษสว นได 4 การบวกเศษสวน สอบกลางภาค แบบฝกหัด 2 5 การบวกเศษสวน แบบฝก หัด 2 6 การบวกเศษสวน แบบฝก หดั 2 7 การบวกเศษสวน 2 8 การลบเศษสวน ใบงาน 2 9 การลบเศษสว น ใบงาน 2 แบบฝก หดั 2 แบบฝกหัด 10 - ขอสอบแบบปรนัย สอบกลางภาค ระบุ เขา ใจ ความหมายของเศษสว น จำนวน 20 ขอ 10 คะแนน 20 หาผลบวกของจำนวนเศษสวนได - ขอสอบแบบอัตนัย จำนวน 5 ขอ 2 คะแนน

สปั ดาห ว/ด/ป หนวยการเรยี นรู/ ผลการเรยี นรู กจิ กรรม/ 20 ที่ แผนการเรียนรู หาผลลบของจำนวนเศษสวนได กระบวนการเรียนรู 11 การลบเศษสวน เวลา 12 การลบเศษสว น หาผลคณู ของจำนวนเศษสว นได แบบฝกหัด (ชั่วโมง) 13 การลบเศษสว น ใบงาน 14 การคูณเศษสวน หาผลหารของจำนวนเศษสวนได ช้ินงาน 2 15 การคูณเศษสวน สอบปลายภาค 2 16 การคณู เศษสวน แบบฝก หัด 2 17 การคูณเศษสวน ระบุ เขาใจ ความหมายของเศษสว น แบบฝก หัด 2 18 การหารเศษสว น หาผลบวกของจำนวนเศษสวนได 2 19 การหารเศษสว น หาผลลบของจำนวนเศษสวนได ใบงาน 2 20 การหารเศษสว น หาผลคณู ของจำนวนเศษสว นได ใบงาน 2 หาผลหารของจำนวนเศษสวนได แบบฝก หัด 2 ใบงาน 2 ชน้ิ งาน 2 สอบปลายภาค - ขอ สอบแบบปรนยั 30 จำนวน 15 ขอ 15 คะแนน - ขอ สอบแบบอตั นยั จำนวน 5 ขอ 3คะแนน *หมายเหตุ ว/ด/ป เปนไปตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook