3.นำ้ มนั ปำล์มดเี ซล“นำ้ มนั ปำล์มดีเซล” หรือ “กำรใช้นำ้ มนั กลน่ั บริสทุ ธ์ิเป็นนำ้ มนั เชือ้ เพลงิ สำหรับเคร่ืองยนต์ดีเซล” เป็นโครงกำร ตำมแนวพระรำชดำริที่ริเริ่มจำกกำรท่ีพระองค์ทรงหว่ งใยปัญหำกำร ผลิตปำล์มล้นตลำดของเกษตรกร อีกทงั้ ขณะนนั้ รำคำนำ้ มนั ยงั คงพ่งุ สงู ขนึ ้ อย่ำงไม่หยดุ หยอ่ น จึงทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯให้สร้ำง โรงงำนสกดั นำ้ มนั ปำล์มบริสทุ ธิ์ขนึ ้ ที่จงั หวดั นรำธิวำส รวมไปถึงมี กำรวจิ ยั และพฒั นำกำรทดลองนำนำ้ มนั ปำล์มกลน่ั บริสทุ ธิ์มำใช้กบั เคร่ืองยนต์ดีเซลท่ีกองงำนสว่ นพระองค์ จนกำเนิดเป็น “ไบโอดเี ซล จำกนำ้ มนั ปำล์ม” หรือ “นำ้ มนั ปำล์มดเี ซล” ท่ีเป็นกำรผสมนำ้ มนั ดเี ซลและนำ้ มนั ปำล์มบริสทุ ธ์ิในสดั สว่ นไม่เกินร้อยละ 10 ต่อ ปริมำตร ซงึ่ ยงั คงไว้ถงึ คณุ ภำพเช่นเดียวกบั นำ้ มนั ดีเซลหมนุ เร็วปกติ
โครงการแกล้งดนิ ” หรือ “โครงการปรับปรุงสภาพดนิ เปรีย้ วเพ่ือให้ กลับมามีสภาพเหมาะสมสาหรับเพาะปลูก” เกดิ ขนึ้ เม่ือครัง้ ท่พี ระองค์ เสดจ็ ฯเย่ยี มราษฎรในเขตจังหวดั นราธิวาสในปี พ.ศ. 2524 ก่อนท่ีจะ ทรงพบปัญหาว่าดนิ ในพนื้ ท่พี รุท่มี ีการชกั นา้ ออกเพ่ือเตรียมพร้อมใน การเกษตรนัน้ แปรสภาพกลายเป็ นดนิ เปรีย้ วจัดจนไม่สามารถ เพาะปลูกได้ พระองค์จงึ มีพระราชดาริให้ส่วนราชการเร่งหาแนวทาง ในการปรับปรุงพนื้ ท่ีพรุท่มี ีนา้ แช่ขงั ตลอดทงั้ ปี ให้สามารถเพาะปลูก ได้ ด้วยการใช้ทฤษฎี “แกล้งดนิ ” คือการแกล้งดนิ ให้เปรีย้ วถงึ ขีดสุด ด้วยวธิ ีการเลียนแบบธรรมชาตทิ ่ีทาให้ดนิ แห้งและเปี ยกสลับกันไป เพ่อื เร่งปฏิกริ ิยาทางเคมีของดนิ จากนัน้ จงึ ชาระล้างบริเวณท่ีเปรีย้ ว ออกเพ่ือปรับปรุงสภาพดนิ ให้เหมาะสมแก่การปลูกพชื ต่อไป โดย โครงการนีไ้ ด้รับสิทธิบัตรการประดษิ ฐ์ในพระปรมาภไิ ธยเลขท่ี 22637
“กังหนั นา้ ชยั พัฒนา” หรือ “เคร่ืองกลเตมิ อากาศท่ีผิวนา้ หมุนช้าแบบท่นุ ลอย” นัน้ เป็ นนวัตกรรมท่ชี ่วยเตมิ อากาศลงในระดบั ผิวนา้ เพ่ือบาบดั นา้ เสีย ให้กลายเป็ นนา้ ดี มีหลักการทางานด้วยการวดิ นา้ ขนึ้ ไปสาดกระจายใน อากาศเพ่ือให้ออกซเิ จนสามารถเข้าไปผสมกับนา้ ได้อย่างรวดเร็ว ทัง้ นีห้ าก นา้ มีปริมาณออกซเิ จนท่มี ากจะเป็ นการช่วยทาให้จุลินทรีย์สามารถย่อย สลายส่ิงสกปรกในนา้ ได้อย่างรวดเร็ว ถอื เป็ นการบาบดั นา้ เสียท่ีมีต้นทุนใน การผลิตต่า โดย “กังหนั นา้ ชัยพฒั นา” ถือเป็ นส่งิ ประดษิ ฐ์เคร่ืองกลเตมิ อากาศเคร่ืองท่ี 9 ของโลกท่ไี ด้รับการจดสิทธิบตั รเม่ือวันท่ี 2 ก.พ. 2536 ส่งผลให้ในหลวง รัชกาลท่ี 9 กลายเป็ นกษัตริย์พระองค์แรกในโลกท่เี ป็ นเจ้าของสิทธิบตั ร ส่งิ ประดษิ ฐ์
ฝนหลวง” หรือ “การดัดแปรสภาพอากาศเพ่อื ให้เกดิ ฝน” มีจุดริเร่ิมมาจาก ปัญหาภยั แล้งของประเทศไทยในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ด้วยลักษณะ ของภมู อิ ากาศและภมู ิประเทศท่ที าให้ฝนไม่ตกแม้จะมีเมฆมากและเป็ นฤดู ฝน พระองค์จงึ ทรงคดิ ค้นการทา “ฝนเทยี ม” ด้วยการนาเทคโนโลยี สมัยใหม่มาประยุกต์ให้เข้ากับทรัพยากรทางธรรมชาติ ด้วยการใช้ เคร่ืองบนิ บรรจุสารเคมีขนึ้ ไปก่อกวนเมฆให้รวมตวั กันเป็ นกลุ่มก้อนท่มี ี ความหนาแน่นสูงจนตกลงมาเป็ นฝนยงั เขตพืน้ ท่ที ่ตี ้องการ ทัง้ นีท้ างการได้กาหนดให้วนั ท่ี 14 พฤศจกิ ายนของทกุ ปี เป็ นวัน “พระบดิ า แห่งฝนหลวง” เพ่อื เฉลิมพระเกียรตขิ องพระองค์ท่ที รงคดิ ค้นฝนหลวงเพ่อื บรรเทาความทุกข์ยากของราษฎร
“วุ้นชุ่มปาก” หรือ “นา้ ลายเทียมชนิดเจลสาหรับผู้ท่ีมี ภาวะปากแห้งนา้ ลายน้อย” เป็ นโครงการของ “มูลนิธิ ทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หน่วยทนั ตก รรมพระราชทานในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหา ภมู พิ ลอดุลยเดช” ท่ีได้วจิ ัยและพฒั นาผลติ ภัณฑ์ นวตั กรรมนา้ ลายเทียมชนิดเจล (Oral Moisturizing Jelly) ท่ีมีคุณสมบัตใิ กล้เคียงกบั นา้ ลายตามธรรมชาตแิ ละปรับสมดุลของส่งิ แวดล้อม ในช่องปากโดยไม่ทาลายผิวฟัน
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: