Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช 31001

วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช 31001

Published by 174ed00079, 2020-06-29 09:56:30

Description: วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช 31001 ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

44 ใบงานท่ี 11 คําชแ้ี จง : การสรปุ องคค วามรู เพอื่ นาํ ไปใชพ ฒั นาอาชพี สรา งความเขมแขง็ ย่งั ยืนในอาชพี มแี นวทางการเขยี น เพอ่ื พรอมนาํ ไปใชแ ละพัฒนาใหส ูงข้นึ ไดห ลายแนวทางหรอื การขยายขอบขา ยอาชีพ จําเปน จะตอ งใชเ อกสารความรู ทเ่ี ปน เอกสารวิธปี ฏบิ ัตใิ หผ รู วมงานสามารถเรียนรทู าํ ตามได ดังตวั อยา งน้ี ตัวอยาง เอกสารการสรปุ องคความรโู ครงสรา งเอกสารการประกอบอาชพี 1. คุณภาพผลผลิต เขียนบรรยายใหผ รู ว มงานมองเหน็ รายละเอียดของคุณภาพผลผลติ ทีท่ กุ คนจะรวมกันทาํ ใหส ําเรจ็ “ผักสด ผลไม จากไรท นเหนอื่ ย เปนอาหารคณุ ภาพ ไรสารพิษ มคี ุณภาพทางอาหารสงู ” 2. ภาพรวมของระบบการผลติ เขียนเปน แผนภูมริ ะบบงาน ที่สรุปใหเห็นภาพของการทํางานเก่ียวกับปจจัยนําเขากิจกรรมใน กระบวนการและผลผลิตทจ่ี ะเกดิ ดังตัวอยา ง (ตัวอยาง แผนภูมิ คุณภาพการผลิตผัก ผลไม เกษตรอนิ ทรีย) 3. รายละเอยี ดข้ันตอนการปฏิบตั ิกิจกรรม 3.1 กิจกรรมท่ี 1 การจดั แปลงปลกู พืช ประกอบดว ยกจิ กรรม ดงั น้ี 3.1.1 การพัฒนาดนิ 3.1.2 การจดั ทํารองปลูก 3.1.3 การจดั ทาํ ระบบนํา้

45 3.1.1 ขน้ั ตอนดาํ เนินงาน การพัฒนาดนิ 1. เปา หมายการดําเนินงานเพื่อพฒั นาดนิ ใหรว นซยุ และมโี ครงสรา งเปนเมด็ ดนิ กอ นกลมใหม ากข้นึ โดยลําดบั อยางตอเนอ่ื ง 2. ขัน้ ตอนการดําเนินงาน 3. รายละเอียดการดําเนินงาน

46

47 3.1.2 ข้นั ตอนการจัดทํารอ งปลกู 3.1.3 ข้ันตอนการจดั ทําระบบน้ํา 3.2 กิจกรรมที่ 2 การบาํ รุงรกั ษาพืช เขียนในลักษณะนี้แลวนําไปทดลองใหกลุมผูเรียนไดศึกษา และรวมกันหาขอบกพรองและ ปฏิบตั ิการพัฒนาใหส ามารถใชสือ่ ความหมายไดต รงกัน ใชเ ปน เอกสารองคความรูส าํ หรบั ผูด าํ เนนิ งาน

48 บทที่ 2 ชองทางการขยายอาชพี สาระสาํ คัญ การมองเห็นชองทางในการขยายอาชีพ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง มีความรู ความเขา ใจ และเจตคตทิ ่ดี ีในงานอาชีพ สามารถมองเหน็ ความจาํ เปนของชองทางการประกอบ อาชพี ความเปน ไปไดในการขยายอาชีพ และสามารถกําหนดวธิ ีการ ขั้นตอนการขยายอาชพี พรอมใหเหตุผลได ถกู ตอ งเหมาะสม ขอบขายเนื้อหา ความจาํ เปน ในการมองเหน็ ชอ งทางการประกอบอาชีพ ความเปน ไปไดในการขยายอาชีพ เรือ่ งที่ 1 การกาํ หนดวิธกี ารและขนั้ ตอนการขยายอาชพี พรอมใหเ หตุผล เรืองท่ี 2 เรอื่ งท่ี 3 ส่ือการเรยี นรู - หนงั สือเรียน - ใบงาน

49 เรืองที 1 : ความจาํ เป็ นในการมองเหน็ ช่องทางการประกอบอาชีพ การมองเห็นช่องทางการประกอบอาชีพ โอกาสและความสามารถทีจ่ ะนาํ มาประกอบอาชีพไดก อนผอู ืน่ เปนหวั ใจสําคัญของการประกอบอาชีพ หากผูประกอบอาชีพตามท่ีตลาดตองการและเปนอาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณในขณะนั้น ยอมทําใหมี โอกาสประสบความสาํ เร็จ สามารถพัฒนาตนเองใหม องเห็นโอกาสในการประกอบอาชพี ได คือ 1. ความชาํ นาญจากงานที่ทาํ ในปจ จบุ ัน จะเปนแหลงความรู ความคดิ ทีจ่ ะชวยใหมองเห็นโอกาส ในการประกอบอาชีพไดมาก เชน บางคนมคี วามชาํ นาญทางดานการทาํ อาหาร ตัดเย็บเส้ือผา ซอมเครื่องใชไฟฟา ตอทอนํ้าประปา ชางไม ชางปูกระเบอื้ ง ชางทาสี ฯลฯ ซึ่งสามารถนําความชํานาญดังกลาวมาพฒั นาและ ประกอบอาชีพได บางคนทํางานทีโ่ รงงานตัดเย็บเสื้อผา เม่ือกลับมาภูมิลําเนาเดิมของตนเอง ก็นําความรู ความสามารถและความชํานาญมาใชเ ปน ชองทางการประกอบอาชพี ของตนเองได 2. ความชอบความสนใจสว นตัว เปนอีกทางหนง่ึ ทีช่ วยใหม องเห็นชองทางโอกาสในการประกอบอาชพี บางคนชอบประดิษฐดอกไม บางคนชอบวาดรูป ทําใหบุคคลเหลาน้ีพัฒนางานท่ีชอบ ซ่ึงเปนงานอดิเรก กลายเปน อาชีพหลกั ทํารายไดเ ปนอยา งดี 3. การฟง ความคดิ เหน็ จากแหลง ตาง ๆ พูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับบุคคล เปนแหลงความรู และกอใหเกดิ ความคิดรเิ ร่มิ เปน อยา งดี ในบางครั้งเรามีความคิดแลว และไดพูดคุยกับบุคคลตาง ๆ จะชวยให การวิเคราะหค วามคิดชดั เจนข้นึ ชว ยใหม องไปขา งหนา ไดอยา งรอบคอบกอ นทีจ่ ะลงมอื ทํางานจริง 4. การศกึ ษาคนควา จากหนังสอื นิตยสาร หนังสอื พิมพ การดวู ีดที ัศน ฟงวทิ ยุ ดรู ายการโทรทัศน จะชว ยใหเกดิ ความรแู ละความคิดใหม ๆ 5. ขอ มลู สถิติ รายงาน ขาวสารจากหนวยราชการและเอกชน รวมท้ังแผนพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศในการมองหาชอ งทางในการประกอบอาชีพ ผูท่จี ะมองหาอาชพี พัฒนาอาชีพ ควรใหความสนใจขอ มลู ตาง ๆ ในการตดิ ตามเหตกุ ารณใ หทัน แลวนาํ มาพิจารณา ประกอบการตัดสนิ ใจประกอบอาชีพ

50 เรืองที 2 : ความเป็ นไปได้ของการขยายอาชีพ การประเมนิ ความเป็ นไปได้ในการนํากรอบแนวคิดไปใช้ในการขยายอาชีพได้จริง จากแผนภูมิดังกลาวแสดงใหเห็นกรอบแนวคิดในการประเมินความเปนไปได มีองคประกอบ รวมกนั 6 องคประกอบ ในแตล ะองคป ระกอบมตี วั แปรดังน้ี 1. รปู แบบการขยายอาชีพ มตี วั แปรรว ม ดังนี้ 1.1 ผลผลิต 1.2 กระบวนการผลติ 1.3 ปจจยั นาํ เขาการผลติ 2. ความยากงายของการดาํ เนนิ การจัดการ มตี วั แปรรวม ดงั น้ี 2.1 การบรหิ ารจดั การ แรงงาน เงนิ ทนุ 2.2 แผนธุรกจิ 3. การรบั ไดข องลูกคา มีตัวแปรรวมดงั นี้ 3.1 ผลผลติ อยูใ นความนิยม 3.2 เปนสิง่ จาํ เปนตอ ชวี ิต 3.3 ราคา 4. การรบั ไดข องสงั คมชมุ ชน มีตัวแปรรว ม ดงั น้ี 4.1 สภาพแวดลอม

51 4.2 วัฒนธรรมประเพณี 5. ความเหมาะสมของเทคนคิ วทิ ยาการทใ่ี ชใ นการขยายอาชพี 5.1 เทคนคิ วิทยาการเพ่ือการลดตนทุน 5.2 เทคนคิ วิทยาการเพือ่ การลดของเสีย วธิ กี ารวเิ คราะห การวเิ คราะหเพอ่ื การตัดสินใจมีความจาํ เปน ที่เจาของธรุ กจิ จะตอ งประเมนิ ตัดสินใจดวยตนเองสําหรับ กรณที ่ีธุรกจิ มีหุนสว นหรือผูเก่ยี วขอ ง ควรจะใชวิธีสนทนาเจาะลึกและวิธีความสัมพันธรวมกัน โดยมีวิธีการ วิเคราะหความสัมพันธระหวางองคประกอบดวยตนเอง ดวยรายละเอียดและความเปนไปได ความเปน พวกเดยี วกัน โดยทบทวนหลาย ๆ ครัง้ จนมั่นใจแลว จงึ ตัดสนิ ใจ เรืองที 3 : การกาํ หนดวิธีการขันตอนการขยายอาชีพและเหตผุ ลของการขยายอาชีพ เปน ขั้นตอนการปฏิบตั กิ ารในอาชีพที่จะตองใชองคความรูที่ยกระดับคุณคา เพ่ือมาใชปฏิบัติการจึง เปน กระบวนการของการทํางานที่เร่ิมจากการนําองคความรูที่จัดทําในรูปของคูมือคุณภาพหรือเอกสารคูมือ ดาํ เนนิ งานมาศึกษาวเิ คราะหจ ัดระบบปฏบิ ตั กิ าร จัดปจ จัยนําเขาดาํ เนนิ การทาํ งานตามข้ันตอนและการควบคุม ผลผลิตใหมีคุณภาพเปนไปตามขอกําหนด ดําเนินการตรวจสอบหาขอบกพรองในการทํางาน ปฏิบัติแกไข ขอบกพรองเปน วงจรอยา งตอ เน่อื ง และมีการปรับปรุงพัฒนาเอกสารคมู ือดาํ เนนิ งานไปเปนระยะ ๆ ก็จะทําให การปฏิบตั กิ ารในกิจกรรมอาชพี ประสบความสําเรจ็ สูความเขมแข็ง ม่นั คง ย่ังยนื ตามกรอบความคิดนี้

52 1. การปฏิบตั กิ ารใชค วามรู โดยใชวงจรเด็มม่งิ เปน กรอบการทํางาน - P - Plan ดวยการทําเอกสารคมู ือดําเนินงาน (ซ่ึงไดมาจากกจิ กรรมยกระดับความรู) มาศึกษา วิเคราะหจัดระบบปฏิบัติการท่ีประกอบดวยกิจกรรมขั้นตอน และผูรับผิดชอบกําหนดระยะเวลาการทํางาน กาํ หนดปจจัยนําเขาดําเนินงานใหสามารถทาํ งานไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ - D - Do การปฏบิ ตั กิ ารทาํ งานตามระบบงานท่ีจัดไวอ ยางเครงครดั ควบคมุ การผลติ ใหเ สียหาย นอ ยทส่ี ุด ไดผลผลติ ออกมามีคณุ ภาพเปน ไปตามขอ กาํ หนด - C - Check การตรวจสอบหาขอ บกพรอ งในการทํางานโดยผปู ฏบิ ัติการหาเหตุผลของการเกิด ขอ บกพรอ งและจดบนั ทกึ - A - Action การนําขอบกพรองทตี่ รวจพบของคณะผูป ฏิบตั ิการมารวมกันเรยี นรูหาแนวทางแกไ ข ขอ บกพรอ ง จนสรปุ ไดผ ลแลว นาํ ขอมูลไปปรับปรงุ เอกสารคมู ือดาํ เนินงานเปน ระยะ ๆ ก็จะทําใหองคความรู สูงขนึ้ โดยลาํ ดับ แลวสง ผลตอ ประสิทธิภาพของธรุ กิจ ประสบผลสาํ เรจ็ นําไปสคู วามเขม แข็งยงั่ ยนื 2. ทุนทางปญ ญา ผลจากการนําองคความรไู ปใช มกี ารตรวจสอบหาขอบกพรอง และปฏิบัติการ แกไ ขขอบกพรอ งเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่องท่ผี ลทําใหอ งคค วามรสู ูงขึ้นเปนลําดับ จนกลายเปนทุนทางปญญา ของตนเอง หรอื ของชุมชนท่จี ะเกดิ ผลตอ ธุรกิจ ดังนี้ - องคค วามรสู ามารถใชส รางผลผลติ ทคี่ นอนื่ ไมส ามารถเทยี บเคยี งได และไมส ามารถทาํ ตามได จึงไดเ ปรยี บทางการแขง ขัน - การเปลย่ี นแปลงยกระดบั คุณภาพผลผลติ อยางตอ เนือ่ ง ทาํ ใหล กู คาเชอื่ ม่นั ภักดีตอ การทําธรุ กจิ รวมกัน - เปนการสรางทุนทางมนุษยผูรวมงานไดเรียนรูบริหารระบบธุรกิจดวยตนเอง สามารถเกิด ภมู ปิ ญ ญาในตวั บุคคล ทําใหช ุมชนพรอมขยายขอบขายอาชพี ออกสคู วามเปนสากล 3. ธรุ กิจสูค วามเขม แขง็ ยง่ั ยืน การจดั การความรทู ําใหองคค วามรสู งู ข้นึ โดยลาํ ดบั การขยายของอาชพี จึงเปนการทาํ งานทม่ี ีภูมิคมุ กนั โอกาสของความเส่ยี งในดา นตาง ๆ ต่ําลง ดังนั้น ความนาจะเปนในการขยาย อาชพี จึงประสบความสําเร็จคอ นขางสูง เพราะมีการจัดการความรู ยกระดับความรูนาํ ไปใชและปรบั ปรุงแกไข เปน ระยะ ๆ อยา งตอ เน่อื ง จงึ สง ผลทําใหธ รุ กิจเขมแขง็ ย่ังยืนได เพราะรูจักและเขา ใจตนเองตลอดเวลา การจดั ทาํ แผนปฏิบัติการ (P) การจัดทําแผนปฏบิ ัตกิ ารทางอาชพี เปน การดาํ เนนิ การที่มีองคป ระกอบรว ม ดงั น้ี 1. เหตกุ ารณหรือข้นั ตอนการทาํ งาน ซ่งึ จะบอกวาเหตุการณใดควรทําพรอ มกนั หรอื ควรทาํ ทีหลงั เปนการลาํ ดับข้ันตอนในแตละกจิ กรรมใหเ ปน แผนการทํางาน

53 2. ระยะเวลาที่กําหนดวาในแตละเหตุการณจะใชเวลาไดไมเกินเทาไร เพื่อออกแบบการใชปจจัย ดําเนนิ งานใหส ัมพันธกัน 3. ปจจยั นําเขา และแรงงาน เปน การระบุปจจัยนําเขาและแรงงานในแตละเหตกุ ารณว าควรใชเทา ไร การจัดทําแผนปฏิบัติการทางอาชีพ มักจะนิยมใชผังการไหลของงานมาใชออกแบบการทํางานให มองเหน็ ความสมั พนั ธร วมระหวางเหตุการณ ระยะเวลา ปจจยั นําเขา และแรงงานจะชวยใหผ ปู ฏิบัตงิ านและ ผูจัดการไดขับเคลื่อนการทํางานสูความสําเร็จได ดังนั้น ในการออกแบบแผนปฏิบัติงาน จําเปนตองใช องคความรทู ส่ี รุปไดใ นรูปของเอกสารขน้ั ตอนการทํางานมาคิดวเิ คราะหและสรางสรรคใหเ กิดแผนปฏิบตั ิการ ตวั อยาง วธิ ีดําเนนิ การจัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาคณุ ภาพดนิ ไรท นเหนือ่ ย 1. ศึกษาวิเคราะหองคความรูเก่ียวกับข้ันตอนการพัฒนาคุณภาพดิน มีกิจกรรมที่จะตองทํา 5 กจิ กรรม ประกอบดวย 1. การตรวจสอบวเิ คราะหคณุ ภาพดิน ผลการวเิ คราะหพ บวามเี หตทุ ่จี ะตอ งทาํ และเก่ียวของ ดังนี้ - เกบ็ ตัวอยางดิน - สง ตวั อยา งดนิ ใหก องเกษตรเคมี กรมวิชาการเกษตรวเิ คราะห - รอผลการวเิ คราะห - ศกึ ษาผลวิเคราะหว างแผนตดั สินใจกาํ หนดพืชทีต่ อ งผลติ 2. การไถพรวนหนาดนิ ผลการวิเคราะหพ บวา มเี หตุการณทีจ่ ะตอ งทาํ และเกี่ยวขอ ง ดงั นี้ - ไถบุกเบกิ ดวยผาน 3 ระยะ - ไถแปรดว ยผาน 7 ระยะ - ไถพรวนใหดินละเอียดดว ยโรตารี่ 3. การเพม่ิ อนิ ทรยี วตั ถใุ หกบั ดนิ ผลการวเิ คราะหพบวา มีเหตกุ ารณท ่ีจะตอ งทํา และเก่ียวของ ดังน้ี - การหวานปยุ หมกั - หวา นเมลด็ ปยุ พชื สด - บํารุงรกั ษาปุย พชื สดและวัชพืชใหงอกงาม - ไถพรวนสบั ปยุ พืชสดใหขาดคลุกลงดิน 4. การหมกั สงั เคราะหดนิ ผลการวิเคราะหพ บวา มเี หตุการณท่ีจะตอ งทาํ และเก่ียวของ ดงั นี้ - ใหจุลนิ ทรยี เรงการยอยสลาย - ตรวจสอบการยอ ยสลาย

54 5. การสรางประสทิ ธภิ าพดนิ ผลการวเิ คราะหพบวามเี หตกุ ารณท จ่ี ะตอ งทาํ และเกีย่ วขอ ง ดังนี้ - ใสจลุ นิ ทรยี ไ มโครโลซา เพอื่ ยอ ยหินฟอสเฟต สรา งฟอสฟอรสั ใหกบั ดิน - จดั รองคลมุ หนา ดนิ ดวยฟางขาวเพอื่ ปอ งกนั ความรอน รักษาความชนื้ และการเคลอื่ นยายธาตุ อาหารในดิน 2. วเิ คราะหปรมิ าณงาน ลกั ษณะงาน กําหนดการใชเ ครื่องจกั รกล ปจจยั การทํางานและแรงงาน 3. วเิ คราะหงานกําหนดระยะเวลาของความสาํ เรจ็ ของแตละเหตุการณ และสรุประยะเวลาท้ังหมด ของกระบวนการ ตัวอยา ง แผนปฏบิ ัติการพัฒนาคุณภาพดนิ “ไรท นเหนื่อย” 1. ผงั การไหลของงานพัฒนาดิน 2. กิจกรรมพัฒนาดนิ ประกอบดวย 1. การวิเคราะหค ณุ ภาพดนิ 2. การไถพรวนหนา ดนิ 3. การเพ่มิ อินทรียวตั ถุ 4. การหมกั สังเคราะหดนิ 5. การสรา งประสทิ ธภิ าพดนิ 3. รายละเอียดปฏิบตั กิ าร 3.1 การวิเคราะหค ุณภาพดนิ ประกอบดว ยระยะเวลาและการใชท รัพยากรดําเนินงาน ดงั น้ี

55 (1) การเก็บตัวอยา งดนิ กระจายจุดเก็บดินทั้งแปลง (150 ไร) ใหครอบคลุมประมาณ 20 หลุม เก็บดินช้ันบนและชั้นลางอยางละ 200 กรัมตอหลุม รวบรวมดินแตละชั้นมาบดใหเขากัน แลวแบงออกมา อยา งละ 1,000 กรัม บรรจุหีบหอใหมดิ ชิดไมรวั่ ไหล ใชเ วลา 5 วนั (2) จดั การนําตัวอยางดินสง กองเกษตรเคมดี วยตนเอง รอผลการวเิ คราะหจ ากกองเกษตรเคมี ใชเวลา 30 วนั (3) ศึกษาผลการวิเคราะหว างแผนการผลิต ใชเ วลา 50 วนั 3.2 การไถพรวนหนา ดิน ประกอบดว ยระยะเวลา และการใชทรพั ยากรดําเนินงาน ดงั นี้ (1) ไถบุกเบกิ ดว ยการจางรถติดนานมา 3 จานไถบกุ เบิกคร้ังแรก ใชเ วลาไมเกนิ 5 วนั (2) ไถแปรเพื่อยอยดนิ ใหแ ตกดว ยรถไถตดิ ผาน 7 จาน ไถตดั แนวไถบุกเบกิ ใชเวลา 5 วนั (3) ตีพรวนยอยดินดว ยโรตารี่ เพ่ือยอยดินใหม ขี นาดกอ นเลก็ สอดคลองกบั สภาพการงอก ของเมล็ดพชื ใชเวลาไมเกิน 5 วัน 3.3 การเพิม่ อินทรียวตั ถใุ หกับดนิ ประกอบดว ยระยะเวลาและการใชท รพั ยากรดําเนนิ งานดังน้ี (1) หวา นปยุ หมกั 150 ตัน บนพ้ืนท่ี 150 ไร ใชเ วลาไมเกิน 5 วัน ใชคนงาน 3 คน และใช รถแทรกเตอรพ ว งรถบรรทุกปยุ หมักกระจาย 150 จดุ แลว ใชคนงานกระจายปยุ ใหทวั่ แปลง (2) หวานเมลด็ ปุย พชื สดคลุกเคลา จุลนิ ทรยี ไรโซเดียม ไรละ 20 กก. บนพ้ืนท่ี 150 ไร ใช เวลาไมเกิน 5 วัน ใชค นงาน 2 คน (3) บํารงุ รักษาปยุ พืชสดและวชั พืชใหงอกงาม ดวยการใชน้ําผสมจุลินทรียอยางเจือจาง วนั เวนวัน ใชคนงาน 1 คน (4) ไถพรวนสบั ปยุ พืชสดคลุกเคลา ลงดินดวยโรตารี่ 3.4 การหมักสังเคราะหด ิน ประกอบดวย (1) ใหจลุ ินทรีย เรงการยอ ยสลาย (พด1+พด 2) ไปพรอ มกบั น้ําวันเวนวัน ใชคนงาน 1 คน ตรวจสอบการยอ ยสลายในชว งตอนเชา 07.00 น. พรอ มวัดอณุ หภมู แิ ละจดบันทกึ ทุกวัน โดยความนาจะเปน ใน วันท่ี 15 ของการหมกั อณุ หภูมติ อ งลดลงเทากับอุณหภมู ิปกตใิ ชผจู ัดการแปลงดาํ เนนิ การ 3.5 การสรา งประสทิ ธิภาพดนิ ประกอบดวย

56 (1) ใชจุลินทรียไมโครโลซา เพ่ือการยอยสลายของฟอสฟอรัสคลุกลงดิน โดยตีพรวน ดวยโรตารี่ จัดรองปลูกผักตามแผนคลุมหนาดินดวยฟางขาว (2) ใชแรงงาน 20 คน ดนิ มคี ุณภาพพรอ มการเพาะปลกู การทํางานตามแบบแผนปฏิบัติการ (D) การทํางานตามแผนปฏิบัตกิ ารของผรู ับผดิ ชอบ ยังใชว งจรเด็มมง่ิ เชน เดยี วกนั โดยเร่มิ จาก P : ศึกษาเอกสารแผนปฏบิ ัตกิ ารใหเขาใจอยา งรอบคอบ D : ทําตามเอกสารขัน้ ตอนใหเปน ไปตามขอ กําหนดทุกประการ C : ขณะปฏิบัติการตอ งมีการตรวจสอบทุกขั้นตอนใหเปน ไปตามขอกําหนด A : ถามีการทําผิดขอ กําหนด ตองปฏิบตั กิ ารแกไ ขใหเปน ไปตามขอกาํ หนด การตรวจสอบหาขอบกพรอ ง (C) เปน ข้ันตอนทีส่ ําคัญของการปฏิบัติการใชความรู สรางความเขมแข็ง ย่ังยนื โดยมรี ูปแบบการตรวจ ติดตามขอ บกพรองดงั น้ี 1. การจดั ทาํ รายการตรวจสอบ ดว ยการใหผ ูจัดการและคนงานรวมกนั วเิ คราะหเอกสารแผนปฏบิ ัตกิ ารและทบทวนรว มกบั ประสบการณ ท่ีใชแผนทํางาน วา ควรมีเหตกุ ารณใดบา งที่ควรจะใหค วามสาํ คัญเพื่อการตรวจสอบแลว จัดทาํ เอกสารรายการตรวจ ดังตวั อยางนี้

57 ตัวอยา ง เอกสารรายการตรวจและบนั ทกึ ขอบกพรอ ง กจิ กรรม พฒั นาคุณภาพดินไรท นเหน่อื ย สาํ หรบั ปฏบิ ตั กิ ารตัง้ แตวันท่ี 5 ธนั วาคม 2551 ถงึ วันที่ 30 มกราคม 2552 รายละเอียดปฏบิ ัตกิ ารณ 3.3(2) = หวา นเมล็ดปยุ พชื สดแลว คลุกเคลาจุลินทรียไรโซเปยมไรล ะ 20 กก. 3.3(3) = ใหน ํา้ ผสมจลุ ินทรียอยางเจือจางกบั ปุย พืชสดวันเวน วัน 3.4(1) = ใหจ ลุ นิ ทรียเ รงการยอยสลาย (พด1 + พด2) ไปพรอมกับน้ําวันเวนวันเปนเวลา 15 วัน 3.5(1) = ใชจ ุลนิ ทรียไ มโครโลซาเพือ่ ยอ ยสลายหนิ ฟอสเฟรส คลุกลงดนิ ท่ยี อยสลายแลว 3.5(2) = จดั รองปลูกผักคลุมหนา ดนิ ดว ยฟางขาว 2. ปฏบิ ัตกิ ารตรวจสอบ การปฏบิ ตั กิ ารตรวจสอบทํา 2 ขนั้ ตอน คือ 2.1 ตรวจสอบหาขอบกพรองของเอกสารแผนปฏิบัติการ เปนการดําเนินงานรวมกันระหวาง ผจู ดั การกบั คนงานวาการทค่ี นงานไดป ฏบิ ัตกิ ารศึกษาเอกสารแผนและปฏิบัติตามกิจกรรมในทุกเหตุการณได ครบคิดวา กจิ กรรมเหตุการณใด มขี อ บกพรอ งทค่ี วรจะไดแกไข 2.2 ตรวจสอบภาคสนาม เปน การทาํ งานรว มกนั ระหวา งผจู ดั การกับคนงาน เพ่ือตรวจหาขอบกพรอง ในการดาํ เนินงาน รว มกันคดิ วเิ คราะหระบุสภาพที่เปน ปญ หา และแนวทางแกปญหา

58 กจิ กรรม : ตวั อยา ง เอกสารบันทกึ ขอบกพรอ งการดําเนินงานพฒั นาคณุ ภาพดนิ ไรทนเหนื่อย ปฏบิ ตั กิ าร ระหวางวนั ท่ี 5 ธันวาคม 2551 ถงึ วนั ท่ี 30 มกราคม 2552

59 3. การประเมนิ สรปุ และเขยี นรายงานผล เปน ข้ันตอนการนาํ ผลการตรวจตดิ ตามตลอดรอบผลการผลิตเกษตรอนิ ทรียไปประเมินความรุนแรง ของขอบกพรองวาเกิดผลมาจากอะไรเปนสวนใหญ แลว ดําเนินการปฏบิ ัตกิ ารแกไขขอบกพรอ งทั้งองคความรู และปจจัยนําเขา ดําเนินงาน ดงั ตวั อยา ง

60 การปฏิบตั ิการแกไ ขและพฒั นา (A) เปนกิจกรรมตอเนื่องจากกิจกรรมการตรวจสอบหาขอบกพรอง และกําหนดแนวทางแกไข ขอบกพรองโดยมีกําหนดระยะเวลา เมื่อถึงกําหนดเวลาจะตองมีการติดตามผลวาไดมีการปฏิบัติการแกไข ขอบกพรอ งตามแนวทางที่กําหนดไวห รือไมเกดิ ผลอยางไร โดยมขี น้ั ตอนการดาํ เนนิ งานดังนี้ 1. ตรวจติดตามเอกสารสรุปประเมนิ ผลการศึกษา 2. เชิญคณะผูรับผิดชอบแกไขขอบกพรองมาประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู เสนอสภาพปญหา ขอ บกพรอง ปจจัยทีส่ ง ผลตอความบกพรอ งและการแกไ ข 3. ผูรับผิดชอบตรวจติดตามและผูรับผิดชอบแกไขขอบกพรองเขาศึกษาสภาพจริงของการ ดาํ เนินงาน แลวสรุปปจจยั ทีเ่ ปน เหตุและปจ จยั สนบั สนุนการแกไข 4. นาํ ขอ มลู ท่ีไดนาํ สกู ารปรับปรงุ แกไขพัฒนาเอกสารองคค วามรู ใหมปี ระสิทธภิ าพสงู ยง่ิ ขึ้น บทสรุป การขยายขอบขา ยอาชีพเพ่ือสรางความเขมแข็งยั่งยืน ใหก บั ธรุ กิจจาํ เปน จะตอ งดําเนนิ งานอยา งเปน ระบบ ไมใชทําไปตามท่ีเคยทํา ดังนั้นการจัดการความรูเปนเรื่องสําคัญของทุกคนท่ีประกอบอาชีพ จะขยายชองทาง การประกอบอาชีพออกไป จําเปนตอ งมคี ณุ สมบตั ิ ดงั น้ี 1. เปนบุคคลทท่ี ํางานบนฐานขอมลู ซง่ึ จะตองใชความรดู า นตา ง ๆ เขามาบรู ณาการรว มกนั ทั้งระบบ ของอาชีพ 2. ตองใชก ระบวนการวจิ ัยเปนเคร่ืองมือ น่นั คอื เราจะตองตระหนักเห็นปญหาตองจัดการความรู หรือใชแ กป ญหา จัดการทดลองสว นนอ ย สรปุ องคความรใู หม่นั ใจ แลวจงึ ขยายกจิ กรรมเขา สกู ารขยายขอบขา ย อาชีพออกไป 3. ตองเปนบุคคลท่ีมีความภูมิใจในการถายทอดประสบการณการเรียนรูแลกเปล่ียนเรียนรู สรางองคความรูใ หส งู สง เปน ทนุ ทางปญญาของตนเอง ชมุ ชนได

61 ใบงานที่ 1 คําชีแ้ จง : ใหผ เู รียนจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารอาชพี ของตนเองโดยใชวงจรเด็มม่งิ 1. การจดั แผนปฏิบัตกิ าร (P) ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2. การทาํ งานตามแผนปฏิบัติการ (D) ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 3. การตรวจสอบหาขอ บกพรอง (C) ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 4. การปฏบิ ัติการแกไขและพฒั นา (A) ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................

62 ใบงานท่ี 2 คาํ ช้ีแจง : ใหผเู รียนรวมกลุมกันแลว กําหนดปฏบิ ัตกิ ารของผูเรียนในกลุมมารวมแลกเปลี่ยนเรียนรู ประเมิน คุณภาพใหเปนขอ เปน จดุ บกพรอ ง และแนวทางแกไ ขรวมกนั ปฏบิ ัตกิ ารแกไ ขขอบกพรอ งของแผนใหเสรจ็ ทุกคน โดยใชวงจรเดม็ มง่ิ 1. การจัดแผนปฏบิ ตั กิ าร (P) ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2. การทํางานตามแผนปฏิบตั ิการ (D) ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 3. การตรวจสอบหาขอบกพรอ ง (C) ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 4. การปฏิบัติการแกไ ขและพัฒนา (A) ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................

63 บทที 3 การตดั สินใจเลอื กขยายอาชีพ สาระสําคญั สามารถตดั สนิ ใจเลือกขยายอาชพี ไดเ หมาะสมกับตัวเอง ผลการเรียนรู้ทีคาดหวงั ผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติที่ดีในงานอาชีพในการตัดสินใจเลือกขยายอาชีพไดอยาง มีเหตุมีผล เหมาะสมกับตัวเอง ขอบข่ายเนอื หา ภารกจิ เพ่อื ความม่ันคงในการทาํ ธุรกิจ การวดั และประเมินผลความมน่ั คงในอาชีพ เรอื่ งที่ 1 การตดั สินใจเลือกขยายอาชพี ตามศักยภาพ 5 ดา น เรอ่ื งท่ี 2 เรอ่ื งท่ี 3 สือการเรียนรู้ - หนังสือเรียน - ใบงาน

64 เรืองที 1 : ภารกจิ เพอื ความมนั คงในการทาํ ธุรกิจ ความมั่นคงในอาชีพเปนเรื่องที่ตองสรางตองทําดวยตนเอง โดยมีภารกจิ ไมนอยกวา 5 ภารกิจ ท่ีจะตองเรียนรสู รางองคค วามรูสาํ หรับตนเองสกู ารพงึ่ พาตนเองได ดงั น้ี 1. บทบาทหนาท่ขี องตนเองท่มี ีตอ ธรุ กิจ 2. การบรหิ ารทรัพยากรดําเนนิ ธุรกจิ 3. การบริหารการผลิต 4. การจดั การสง มอบผลิตภัณฑ 5. การวิจยั พฒั นา 1.1 ความหมายของความมัน่ คงในการทาํ ธุรกจิ อาชพี ความมัน่ คงในอาชีพ หมายถงึ สภาพอาการของความตอเนื่องและทนทาน ในการดาํ เนินการธรุ กจิ ไมใ หก ลับกลายเปน อน่ื บทบาทหนาทข่ี องตนเอง หมายถงึ บทบาททีเ่ จา ของธรุ กจิ ผูป ระกอบอาชีพจะตอ ง ทาํ ดวยตนเองทาํ อยางลกึ ซ้งึ การบรหิ ารทรพั ยากร หมายถึง หนา ท่ีควบคมุ ดําเนินการใชท รพั ยากรใหเ ปนไป ตามขอ กําหนดของงานธุรกิจที่ทําอยู การบริหารการผลติ หมายถึง หนาท่ีควบคมุ ดําเนนิ การใหกอ เกิดผลติ ผลขนึ้ ดวยแรงงานคน หรอื เครอื่ งจกั ร ผลติ ผล หมายถงึ ผลทีเ่ กดิ ขนึ้ เชน ปลกู มะมวงไดผ ลเปน มะมว ง ผลิตภณั ฑ หมายถึง สิง่ ทีท่ าํ ขึน้ เชน การดองหัวผกั กาดขาว สิ่งทําขน้ึ คือ หวั ไชโปเคม็ การวจิ ัยพฒั นาอาชพี หมายถึง การคน ควาขอมลู วธิ ีการและสรปุ ผลอยางถ่ถี ว น เพ่ือทําใหอ าชีพเจรญิ

65 1.2 ภารกจิ เพ่ือความมน่ั คงในอาชีพ การทเ่ี ราขยายขอบขายอาชีพออกไปน่ันหมายถึงวาธุรกิจของเราขยายแตกตัวออกไปหลายกิจกรรม มกี ารจดั การทต่ี อ งลงทนุ มากขน้ึ มผี มู าเก่ยี วของมากขึน้ โดยลําดับ ดังนน้ั การท่ีจะสรา งความม่นั คงอาชีพไมให เสยี หาย จําเปน ตองมภี ารกจิ เพื่อสรา งความยั่งยืนในอาชพี อยางนอ ย 5 ภารกจิ ดงั นี้ 1. บทบาทหนาท่ีเจาของธุรกิจ มีหนาที่จะตองกําหนดทิศทางธุรกิจท่ีผูประกอบอาชีพจะตอง กําหนดทศิ ทางของธุรกจิ วาจะไปทางไหนใหส อดคลอ งกบั สภาวะทางเศรษฐกิจ สังคมทเ่ี ปน อยู และจะเกิดข้ึน ในอนาคต มีกิจกรรมที่จะตองทาํ 2 เร่ืองดังนี้ 1.1 การกาํ หนดวสิ ยั ทศั น เปนการกาํ หนดทิศทางของอาชีพท่จี ะเปน หรือจะเกดิ ในอนาคต 3-5 ป ขางหนาอยา งรอบคอบ และเปนไปไดดว ยตนเอง การกาํ หนดวสิ ยั ทศั น สามารถคดิ แสวงหาความรู ความเขาใจ กําหนดขอ ความวิสัยทศั น แลวตรวจสอบความเปน ไปได จนมั่นใจจึงกําหนดเปนวิสยั ทัศนที่จะเกิดกับอาชีพ ตอ ไป 1.2 การจัดทําแผนพัฒนาอาชีพ ใชขับเคล่ือนการพัฒนาอาชีพใหเขาสูวิสัยทัศนใหไดดวย การกาํ หนดภารกิจ วิเคราะหภ ารกจิ กําหนดกลยทุ ธส ูความสําเรจ็ วิเคราะหกลยุทธ กําหนดตัวบงช้ีความสําเร็จ และจัดทําแผนปฏบิ ัตกิ าร 2. การบริหารทรัพยากรดําเนินการ เปนการจัดการใหเกิดระบบการควบคุม การใชทรัพยากรให คุม คามากทีส่ ุด และเกดิ ของเสยี ใหน อยท่สี ุด ไดแก 2.1 การวางแผนใชแ รงงานคนและจดั คนคนงานใหเหมาะสม ทาํ งานและสรางผลผลติ ไดม ากทส่ี ดุ ปจ จยั การผลิตเสียหายและใชเวลานอยทีส่ ดุ 2.2 ระบบการควบคุมวสั ดอุ ปุ กรณแ ละปจ จัยการผลติ ไมใ หร ่ัวไหลหรือใชอ ยา งดอ ยประสิทธิภาพ ในทกุ ข้นั ตอนการผลติ 2.3 การควบคมุ การเงิน คาใชจา ย รายไดต า ง ๆ ใหชัดเจน ตรวจสอบไดทกุ ขนั้ ตอน 3. การบริหารการผลิต เปนการควบคุมการดําเนินงานใหเกิดผลซ่ึงเกี่ยวของกับกิจกรรมการบริหาร อยา งนอ ย 3 กิจกรรม ดงั น้ี 3.1 การควบคุมคนทํางานใหเปนไปตามข้ันตอนท่ีกําหนดดวยการจัดใหมีเอกสารขั้นตอน การทํางานที่คนทํางานจะใชความรูสึก ประสบการณของตนเองเขามาเกี่ยวของไมไดอยางเด็ดขาด เพราะ จะตองทําไปตามทกี่ าํ หนด เมื่อมีขอ บกพรองจะสามารถตรวจสอบกลบั ไปยงั ตน เหตไุ ด 3.2 การควบคมุ ระยะเวลาในเวลาเคลอื่ นไหวของงานใหอตั ราการไหลเปน ไปตามขอ กําหนด

66 3.3 การตรวจสอบคัดเลือกผลติ ภัณฑท่ีเสียหายไมไดคุณภาพออกจากของดี เพราะจะสราง ความเชื่อถอื ความภักดตี อ ลูกคาที่เช่ือมัน่ วา สนิ คา จากสถานประกอบการทมี่ ีคุณภาพจะไมผ ดิ หวัง 4. การจัดการสงมอบผลิตภัณฑ เปนเร่ืองสาํ คัญท่ีผูประกอบการอาชีพจะตองพัฒนาระบบการ สงมอบผลผลิตใหถึงมือลูกคาไดตามขอกาํ หนดในเร่ืองตาง ๆ ดังนี้ 4.1 การบรรจภุ ณั ฑเ พ่อื การปกปอ งผลผลิตไมใ หเ สียหาย บรรจุภณั ฑเปนตวั เราใหลกู คา สนใจใน ผลผลิต จึงตองมีการออกแบบใหเรียบรอย สวยงามตรงกับลักษณะของผลผลิตซึ่งเปนการสงเสริมการขาย ทีส่ ําคัญ 4.2 การสง สินคา มีหลายรูปแบบที่จะนําสินคาไปถึงลูกคาไดอยางปลอดภัย สามารถเลอื ก วิธกี ารที่เอกชนและภาครัฐจดั บริหารใหหรือจดั สงเอง 4.3 การจัดการเอกสารสง มอบ ใชเ พอ่ื ควบคุมใหท ราบถึงผลผลิตท่นี าํ ออกไป มปี ริมาณเทาใด ไปถงึ ลูกคาดวยวธิ ใี ด และไดรบั หรือไม 5. การวจิ ยั พฒั นา เปนการดําเนินงานใหธ รุ กิจทท่ี าํ ไดอ ยูในกระแสของความนิยม และกาวทันตอ การเปลีย่ นแปลง ดงั น้ี 5.1 ตดิ ตามขอมลู กระแสความนิยมในสินคา ผลิตผลทเี่ ราทาํ วายงั อยใู นกระแสนยิ มอยา งไร 5.2 ตดิ ตามประเมนิ เทยี บเคยี งคณุ ภาพผลิตภณั ฑที่เราแขงขันอยู และสภาวะตลาดเปน อยางไร 5.3 ดาํ เนนิ การวจิ ยั พัฒนา ดวยการคน ควาหาขอ มลู อยา งดี สรา งองคความรพู ัฒนาผลผลิตให อยใู นกระแสความนิยมหรือเปล่ียนโฉมออกไปสูตลาดประเภทอื่น ๆ กจิ กรรมทั้ง 5 กจิ กรรมเปน สวนหน่ึงของการสรางความมนั่ คงในธุรกิจ 1.3 การคดิ สรา งสรรคกาํ หนดกิจกรรมในภารกจิ สรา งความม่ันคง จากสาระความเขาใจภารกิจเพื่อความมั่นคงในอาชีพเปนการนําเสนอแนวคิดที่เปนธุรกิจคอนขาง ขนาดใหญ ดงั น้นั ผเู รียนจงึ จาํ เปนตองคิดสรางสรรคเพื่อตนเองวา ธุรกิจของเราจะทําอะไรบาง แคไหน และ อยา งไร ตวั อยา ง ธุรกิจไรท นเหนือ่ ย เปนธรุ กิจขยายแลว ดําเนินการผลติ ผักสดผลไมในระบบเกษตรอินทรียบนพื้นท่ี 130 ไร ระบบการ บริหารจัดการดานตาง ๆ ตองลงมือทําดวยตนเองในครอบครัวเพียง 3 คน ภารกิจสรางความม่ันคงจะตอง คิดสรางสรรคออกแบบใหเหมาะสมกับตนเอง ตัวอยางบทบาทหนาที่เจาของธุรกิจ ซึ่งจะตองกําหนด ทิศทางและแผนงานดว ยตนเอง ดว ยการกําหนดวสิ ัยทัศน จัดทําแผนควบคุมเชงิ กลยุทธแ ละโครงการพัฒนาท่ี จําเปน และมพี ลังทาํ ใหก ารขบั เคลอื่ นการทาํ งานเขา สแู ละเปนไปตามวิสยั ทัศนไ ด ดงั ตัวอยางการคดิ สรางสรรค กาํ หนดทศิ ทางและแผนงานของไรท นเหนอื่ ย ดังนี้

67 ตวั อยาง : แผนการควบคุมเชิงกลยุทธ วิสัยทัศน “ป 2551 ไรทนเหนื่อยผลิตผักสด ผลไมอินทรีย เขาสูตลาด ประเทศสิงคโปรได” แผนควบคมุ เชิงกลยุทธ

68 คาํ ชีแจง : ใหผูเรียนแตละคนไดใชประสบการณเชิงประจักษมานึกคิดวา เพื่อความเขมแข็งในอาชีพ เราควรมีภารกจิ และกจิ กรรมอะไรบา ง

69 เรื่องที่ 2. การวัดและประเมินผลความม่นั คงในอาชีพ 2.1 องคป ระกอบการวดั และประเมนิ ผลความม่ันคงในอาชพี การประเมินความมั่นคงในอาชีพ ผูรับผิดชอบในการวัดและประเมินผลที่ดีท่ีสุด คือ ตวั ผปู ระกอบอาชพี เอง เพราะการวดั และประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ เปน เรือ่ งท่บี รู ณาการ สง่ิ ตา ง ๆ ภายในตวั ของผปู ระกอบการอาชีพเอง ต้งั แตการเรียนรูว า ตนเองจะทําอยา งไร การคดิ เหน็ คุณคา ของกจิ กรรมความม่นั คง ความจดจาํ ในกจิ กรรมและความรูส กึ พอใจตอกิจกรรมเปนเรอ่ื งภายในทงั้ ส้นิ บุคคลภายนอกไมอ าจจะรเู ทาทัน ดังน้ัน ความม่ันคงในอาชีพตัวแปรตนเหตุท่ีสําคัญ คือ ใจของผูประกอบการอาชีพเอง จึงจําเปนท่ีจะตองมี หลักการประเมนิ สภาวะใจของตนเองอยางเปนระบบท่ีประกอบดวยตัวแปร 4 ตัว ดังน้ี 1. การรับรู (วิญญาณ) 2. ความคดิ (สังขาร) 3. จาํ ได หมายรู (สญั ญา) และ 4. ความรูส ึก (เวทนา) 1. วธิ ีการรับรูทใ่ี ชศึกษาภารกิจสรางความมน่ั คง 2. ประเมินคุณคาวา ดีหรอื ไมดีของภารกิจความม่นั คงทีจ่ ะดําเนนิ การ 3. ประเมนิ ความจําวา ตนเองเอาใจใสตอภารกจิ ความม่ันคงมากนอ ยเพยี งใด 4. ประเมินความรูสึกท่ีตนเองพึงพอใจหรือชอบตอภารกจิ ความมัน่ คงแบบใด 2.2 วิธีการวัดผลและประเมนิ ผลความมนั่ คงในอาชพี เปนการนาํ ตัวแปรมากาํ หนดตัวช้ีวัด วิธีการวัดแลวเขียนเปนแบบวิเคราะหประเมินตนเอง โดยมี ข้ันตอนดําเนินการ 1. การวเิ คราะหต วั แปรกําหนดตัวชีว้ ัด เชน 1.1 ตัวแปรดา นวธิ กี ารรบั รู ตวั บง ชี้ คอื วิธีการเรยี นรูที่ประกอบการ (1) การรบั รจู ากการเห็นของจริงจากการสบื คนจากเอกสาร (ทางตา) (2) การรับรูจากการฟง คาํ บรรยาย ฟงเสยี งทเ่ี กดิ ในกจิ กรรม (ทางหู) (3) การรบั รูกลนิ่ ทางจมกู (จมกู ) (4) การรบั รจู ากการชมิ รส (ปาก) (5) การรบั รูจากการสมั ผัสทางกาย (กาย) (6) การรับรจู ากการคดิ ทางใจ (ใจ) 1.2 ตัวแปรดา นการนกึ คดิ ถึงคุณคา มีตัวบงชี้ 3 ตวั คอื (1) คดิ วา ดี (2) ไมมคี วามคดิ เฉย ๆ (3) คดิ วาไมดี 1.3 ตัวแปรดานความจําไดหมายรู มตี วั แปร 3 ตัว คือ

70 (1) จําไดท งั้ หมด (2) จําไดบางสวน (3) ไมจาํ จําไมได 1.4 ตวั แปรดา นความรูสึกพอใจ มตี วั แปร 3 ตัวประกอบดวย (1) ชอบพงึ พอใจ (2) เฉย ๆ (3) ไมชอบ ไมพึงพอใจ 2. วเิ คราะหต ัวบง ชี้กําหนดวธิ กี ารวัด ตวั อยาง เชน (1) ตัวชวี้ ัดการรับรู วัดวา ใชวธิ กี ารรบั รูแบบใดบา ง ดงั น้ันในเรอื่ งของความมั่นคงในอาชพี ตวั บง ช้ีการรบั รู คอื จํานวนของวธิ กี ารรับรูทน่ี าํ เขา มาใชแลวใหค ะแนน 1 (2) ตวั ช้วี ดั การนึกคดิ ถึงคณุ คา วัดดว ยการตดั สินใจทตี่ นเองเปน แบบใด - คดิ วาดี ใหค ะแนน 1 - เฉย ๆ ใหค ะแนน 0 - คดิ วา ไมดี ใหคะแนน -1 (3) ตวั ช้วี ดั ดา นการจาํ วดั ดวยการประมาณคาวาตนเองเปน แบบใด - มากให 1 คะแนน - ปานกลาง ให 0 คะแนน - นอย ให -1 คะแนน (4) ตัวช้วี ัดดานความรสู ึกพอใจ วัดดวยการประมาณคา ทต่ี นเองเปน แบบใด - พึงพอใจ ให 1 คะแนน - เฉย ๆ ให 0 คะแนน - ไมช อบ ให -1 คะแนน 3. เขียนแบบวดั ความม่นั คงในอาชพี แบบวัดและประเมินผลมีหลายแบบ สําหรับการวัดผลความม่ันคงในอาชีพเปนแบบประเมิน ตนเอง ที่มีองคป ระกอบรวม 2 องคประกอบ คอื (1) ภารกจิ และกิจกรรม (2) ตัวแปรดานนามธรรมหรอื ใจของผูประเมินตนเอง และตวั บง ชี้วัดองคประกอบท้ัง 2 ดาน ดังกลา ว ไดถกู นํามาจดั เปนแบบวดั ผลความม่ันคงในอาชีพ ดังตวั อยา ง

71 ตัวอยา ง แบบวดั ความมนั่ คงในอาชพี 4. การประเมนิ ผล เปนกจิ กรรมการวเิ คราะห ตคี า แปรผล และสรุปผล ดงั นี้ 4.1 การวเิ คราะหผล จากแบบวัดผล มรี ายละเอียด ดังน้ี (1) ตัวแปรดานการรับรูในแบบวัดกําหนดไวเพียง 3 วิธีการ การวิเคราะหผลโดยนับ จาํ นวนวธิ ีการท่ีใชจ รงิ โดยใหคะแนนวิธกี ารละ 1 คะแนน (2) ตวั แปรดา นการคิดถงึ คณุ คา ประกอบดวย - คดิ วา เปนสงิ่ ดี ใหคะแนน = 1

72 - คิดวาเฉย ๆ ใหคะแนน = 0 - คดิ วา ไมด ี ใหค ะแนน= -1 (3) ตวั แปรดานการจาํ ได หมายรู ประกอบดวย - จาํ ไดม ากกวารอยละ 80 ใหคะแนน = 1 - จาํ ไดปานกลางรอ ยละ 50-79 ใหคะแนน = 0 - จาํ ไดตํ่ากวา รอยละ 50 ใหคะแนน = -1 (4) ตัวแปรดานความรสู กึ ประกอบดวย - ถาเหน็ วา พงึ พอใจ ใหค ะแนน = -1 - ถา เหน็ วาเฉย ๆ ใหคะแนน = 0 - ถา เห็นวา ไมช อบ ใหคะแนน = -1 4.2 การตีคา ผลการวเิ คราะห มรี ายละเอยี ด ดังน้ี 4.2.1 ตัวแปรดา นนามธรรม (1) ผลงานดานนามธรรมหรอื ใจของผูป ระเมนิ ตนเอง - ม่ันคง เขมแข็ง = คะแนนสงู กวา 24 คะแนนข้ึนไป - ตองระแวดระวงั = คะแนนระหวา ง 18 - 24 คะแนน - ตอ งตรวจสอบพฒั นาระบบ = คะแนนระหวา ง 12 - 18 คะแนน - ตองปรับรือ้ ระบบความมนั่ คง = คะแนนระหวาง 6 - 12 คะแนน - ยกเลิกระบบถายงั ตองการทําธรุ กจิ ตอไปตองพฒั นาใจของตนเอง เรยี นรูใหม = ต่าํ กวา 6 คะแนน (2) การตคี า ผลการวเิ คราะหดา นการรบั รูต อภารกิจความมนั่ คงธุรกจิ ดังนี้ - การรับรูดีที่สดุ = คะแนนสงู กวา 12 คะแนนขน้ึ ไป - การรบั รูดี = คะแนน 9 - 12 คะแนน - ตอ งพัฒนาการรับรู = คะแนน 6 - 9 คะแนน - ตอ งแกไขตนเองรับรใู หม = คะแนน 3 - 6 คะแนน - เลกิ เปนเจาของธรุ กจิ = คะแนนตํ่ากวา 3 คะแนน ทําไดแ ตแ รงงาน (3) การตีคาผลการวิเคราะหด า นการนกึ คดิ คุณคา ของระบบความมั่นคง ธุรกจิ ดังนี้

73 - มกี ารคิดนึกตอ ระบบความมน่ั คงดมี าก= คะแนนสูงกวา 5 คะแนน - มกี ารนกึ คดิ ตอ ระบบความมน่ั คงดี = คะแนน 4 คะแนน - ตอ งทบทวนคุณคาของระบบความม่นั คง = คะแนน 3 คะแนน - ตอ งทบทวนความเหมาะสมของตนเอง = คะแนน 2 คะแนน - ถอยตัวออกจากความเปนเจาของธุรกิจที่ไมพ ฒั นาตนเอง = คะแนน 1 คะแนนลงมา (4) การตีคาดานความจําไดหมายรตู อระบบความมั่นคงธรุ กจิ ดงั นี้ - มคี วามจําไดห มายรเู พ่อื ปฏบิ ัติภารกิจความมน่ั คงดมี าก = 5 คะแนน - มคี วามจําไดห มายรูเพอื่ ปฏบิ ตั ิภารกิจความมั่นคงดี = 4 คะแนน - ตอ งทบทวนความจาํ = 3 คะแนน - ตอ งทบทวนความเหมาะสมในการเปนเจาของธุรกิจ = 2 คะแนน - ถอยตัวออกจากความเปน เจาของธรุ กิจ = 1 คะแนน (5) การตีคาดานความรสู ึกตอ ภารกิจความมั่นคงธรุ กิจ ดังน้ี - มคี วามรูสกึ ตอภารกิจความมน่ั คงธุรกิจดีมาก = 5 คะแนน - มีความรสู ึกตอ ภารกจิ ความมน่ั คงธุรกิจดี = 4 คะแนน - ตองทบทวนความรสู ึกของตนเอง = 3 คะแนน - ตองทบทวนวา ตนเองยงั เหมาะสมในการเปน เจา ของธุรกจิ = 2 คะแนน - ควรถอยตวั ออกจากความเปน เจา ของธรุ กิจ = 1 คะแนน 4.2.2. ดานภารกจิ ในแตละภารกิจมีสวนรว มตอความม่ันคงของธรุ กจิ อยา งไร ดังน้ี - ภารกจิ น้สี ง ผลตอ ความมน่ั คงมากท่สี ุด = 6 คะแนน - ภารกจิ นี้สงผลตอ ความม่นั คงดี = 5 คะแนน - ภารกจิ น้ตี อ งคิดทบทวนและพัฒนา = 4 คะแนน - ภารกิจน้ีตอ งยอ นดูการกระทาํ ของตนเอง = 3 คะแนน - ตองทบทวนภารกิจปรบั รือ้ ระบบและทําความเขา ใจกบั ตนเอง ในฐานะเจาของกจิ การ = 2 คะแนน

74 2.3 การแปรผลการประเมินตนเอง ทบทวนกันอีกคร้ัง การวัดและประเมินผลเปนเรื่องของการประเมินตนเองเพ่ือใหรูจักและเขาใจ ตนเอง เพราะกจิ กรรมสรา งความเขมแข็ง ม่ันคงในธรุ กจิ เปนเร่อื งท่เี จา ของธุรกจิ จะตอ งเอาใจใส จะบอกวา ภารกจิ นไี้ มช อบคงไมไ ด แตก ารประเมินตองถามใจวาเราเปนอยางไรกันแน แลววัดและประเมินผลไปตาม สภาพจริง สว นผลจะออกมาอยา งไรแลวเราจะทาํ อยางไรอยทู ตี่ ัวเราเอง จงึ ขอยกตวั อยางผลการวเิ คราะห ตีคา แปรผล และอภปิ รายผลของเจาของธรุ กจิ ทานหน่งึ ดังน้ี ตวั อยาง ผลการวิเคราะห การประเมินภารกจิ การสรา งความมั่นคงในอาชีพ จากตารางผลการวเิ คราะหสามารถอธบิ ายไดว า 1. โดยภาพรวมแลว จะตอ งตรวจสอบพัฒนาระบบความมนั่ คงธุรกิจ 2. มภี ารกจิ ท่จี ะตอ งตรวจสอบพฒั นาประกอบการ

75 (1) การบรหิ ารทรัพยากรดาํ เนินงาน (2) การจัดการสงมอบ (3) การวจิ ยั พฒั นา 3. จะตองทบทวนสภาพและความรสู ึกของตนเองเก่ยี วกบั (1) การมองเห็นคณุ คาของภารกจิ ความมน่ั คงธรุ กจิ (2) ความรสู กึ ชอบไมชอบในภารกิจความมั่นคง 4. ถาจะเปน เจาของธุรกจิ ตองเอาใจใสต อการจาํ ไดหมายรู ใบงานที่ 1 คาํ ชแี้ จง : จากการเรียนรรู ะบบความม่ันคงในธรุ กจิ อาชพี และการวัดและประเมินผลภารกิจความม่ันคงในอาชีพ ทานคิดวาตัวทานเองควรมีกรอบแนวทางวัดและประเมินผลภารกิจความม่ันคงในอาชีพของตนเองอยางไร ขอไดโ ปรดศึกษาแบบบันทกึ น้ีแลว ทดลองคดิ ดวยตนเอง 1.ลักษณะกิจกรรมอาชพี ทขี่ ยายขอบขา ย 1.1 ผลผลติ (1) เปา หมายการผลิต คอื : ......................................................................................................................................................................... (2) ผลผลติ ขายใหใคร : ......................................................................................................................................................................... (3) ผลผลิตขายท่ีไหน : ......................................................................................................................................................................... (4) ผลผลติ ขายอยางไร : ......................................................................................................................................................................... 1.2 กระบวนการผลติ (1) ลักษณะแบบแผนปฏิบตั งิ าน : ......................................................................................................................................................................... (2) ลักษณะการทํางานตามแผน : .........................................................................................................................................................................

76 (3) ลักษณะการตรวจสอบหาขอบกพรอ ง : ......................................................................................................................................................................... (4) ลักษณะการปฏิบัตกิ ารแกไ ขขอ บกพรอง : ......................................................................................................................................................................... 2. กรอบการวัดและประเมินผลความม่นั คงธุรกจิ ของทาน เม่ือคิดดวยตนเองแลวขอใหผูเรียน ผูเกี่ยวของรวมกันวิเคราะหขอบกพรองและรวมกันพัฒนา ใหสามารถใชดําเนินการวัดและประเมินผลดวยตนเองได

77 ใบเสริมความรู้ ตัวอยางบันทึกการวดั และประเมนิ ผลความมัน่ คงอาชพี เปนการประเมินผลตนเองอยา งงาย ๆ การบันทึก การวัดและประเมินผลความยั่งยนื ควรเนน เอกสารระบบและการทํางาน ใหเปนไปตามเอกสารระบบ มีการ ตรวจติดตาม หาขอบกพรอ ง และปฏบิ ตั ิการแกไขขอบกพรองโดยมีเกณฑงาย ๆ ดังน้ี 1. ภูมิคมุ กนั เขม แข็ง = ภารกิจความมั่นคง มีเอกสารระบบปฏิบัติการ และปฏิบัติการตามเอกสาร อยา งเครง ครัด เกดิ ผลเปน ไปตามเปา หมายทกุ อยาง 2. มีภูมิคุมกัน = ภารกิจความมั่นคงมีเอกสารระบบปฏิบัติการ และปฏิบัติการตามเอกสาร อยางเครงครัด เกิดผลเปน ไปตามเปาหมายสวนใหญ 3. ภูมิคุมกันบกพรอ ง = ภารกจิ ความมั่นคงมเี อกสารระบบปฏิบตั ิการ แตการปฏบิ ัตกิ ารมักละเลย ไมทําตามเอกสาร ตัวอยา ง บนั ทึกการวัดและประเมินผลภารกจิ ความมั่นคงอาชีพ

78 3. กรอบการประเมนิ ความเปน ไปไดในการนํากรอบแนวคดิ การขยายอาชพี ไปใชจ รงิ กรอบแนวคดิ ในการประเมินความเปนไปไดด งั นี้ จากแผนภมู ดิ ังกลา ว แสดงใหเห็นกรอบแนวคดิ ในการประเมินความเปนไปได มีองคประกอบรวมกัน 6 องคประกอบ ในแตละองคประกอบมตี วั แปรบง ชวี้ ัด ดงั นี้ 1. รปู แบบการขยายอาชีพ มตี ัวแปรรว ม ดังนี้ 1.1 ผลผลิต 1.2 กระบวนการผลติ 1.3 ปจ จัยนําเขา การผลิต 2. ความยากงา ยของการดาํ เนินการจัดการ มีตัวแปรรว ม ดงั นี้ 2.1 การบรหิ ารจดั การ แรงงาน เงินทนุ 2.2 แผนธุรกิจ 3. การรับไดข องลูกคา มีตัวแปรรว ม ดงั นี้ 3.1 ผลผลติ อยใู นความนยิ ม 3.2 เปนสง่ิ จําเปน ตอ ชวี ิต 3.3 ราคา

79 4. การรบั ไดของสังคมชมุ ชน มตี ัวแปรรว ม ดงั นี้ 4.1 สภาพแวดลอ ม 4.2 วัฒนธรรมประเพณี 5. ความเหมาะสมของเทคนิควทิ ยาการทีใ่ ชในการขยายอาชีพ 5.1 เทคนคิ วทิ ยาการเพ่อื การลดตน ทนุ 5.2 เทคนคิ วทิ ยาการเพื่อการลดของเสีย เป้ าหมายการประเมนิ ผล การประเมินความเปน ไปไดในการนาํ รปู แบบขยายอาชพี ไปใชจริง มเี ปา หมายทจ่ี ะวิเคราะห ดงั น้ี 1. วเิ คราะหบทความสัมพันธส อดคลอ งรบั กนั ได ระหวางองคป ระกอบ 1.1 ความสมั พันธ ระหวาง AB AC AD AE 1.2 ความสมั พันธ ระหวาง BC BD BE 1.3 ความสมั พนั ธ ระหวา ง CD CE 1.4 ความสมั พันธ ระหวาง DE 2. ประเมนิ ตดั สินใจรับความเปนไปได 2.1 ตารางวเิ คราะหค วามสัมพันธส อดคลอ งรับกันไดระหวา งองคประกอบ

80 2.2 เกณฑการประเมนิ (1) คะแนนระหวาง 1 - 3 คะแนน ถอื วา นาํ รปู แบบไปใชไ มไ ด (2) คะแนนระหวาง 4 - 7 คะแนน ถอื วามีความเปนไปไดตาํ่ ตอ งทบทวน พฒั นา (3) คะแนนระหวา ง 8 - 10 คะแนน ถอื วา มีความเปน ไปไดใ นการนําไปใช วธิ ีการวเิ คราะห์ การวิเคราะหเพ่ือการตัดสินใจ มีความจําเปนท่ีเจาของธุรกิจจะตองประเมินตัดสนิ ใจดวยตนเอง สําหรบั กรณที ี่ธรุ กจิ มหี ุน สวนหรือผูเก่ียวของควรจะใชวิธีสนทนาเจาะลึกและวิธีความสัมพันธรวมกันโดยมี วธิ ีการดังน้ี 1. การวเิ คราะหตัดสนิ ใจตัวบง ชค้ี วามสมั พันธระหวางองคประกอบทีละคู ดวยการใชวิจารณญาณ ของตนเอง นึกคิดในรายละเอียดความสัมพันธความไปกันได และความเปนพวกเดียวกันวาหนักไปทางมี

81 ความสมั พันธต อ กันหรือไมส ัมพันธกนั คิดทบทวนหลาย ๆ คร้งั จนมน่ั ใจ แลวจึงตดั สนิ ใจระบุวาองคประกอบใน คทู ว่ี ิเคราะหม ีความสมั พันธต อ กนั แลว ใหท ําเครือ่ งหมาย + (บวก) แสดงวา มีความสมั พนั ธ และเครือ่ งหมาย - (ลบ) แสดงวาไมมีความสัมพนั ธ 2. การใหค ะแนนโดยใหคอู งคป ระกอบที่มคี วามสัมพนั ธไ ดค ะแนน 1 คะแนน คูท ไี่ มส มั พนั ธใ ห 0 คะแนน วธิ ีการประเมนิ การรวมคะแนนจากองคป ระกอบการประเมนิ แตล ะขอ แลว ประเมนิ สรปุ ตามเกณฑการประเมิน เชน (1) แนวทางขยายอาชีพของกลมุ จักสาน มคี คู วามสมั พนั ธขององคป ระกอบการประเมินรวมคะแนนได 9 คะแนน สามารถอธิบายไดวา แนวทางขยายอาชีพของกลุมจกั สาน มคี วามเปนไปไดใ นการนาํ ไปใชจริง (2) แนวทางขยายอาชีพของกลมุ เลย้ี งปลามคี ูความสมั พนั ธข ององคประกอบการประเมนิ รวมคะแนนได 3 คะแนน สามารถอธิบายไดวา แนวทางขยายอาชีพของกลุมเลี้ยงปลาเปนรูปแบบท่ีมีความเปนไปไดต่ํามาก รปู แบบไมส ามารถนําไปใชไ ด สรุป แนวทางประเมินความเปนไปไดข องการนํารปู แบบขยายอาชีพไปใชเปนรปู แบบทเ่ี นนการใชเหตุผล เปนหลักไมใชการหาความสัมพันธเชิงคณิตศาสตร เปนการมองหาเหตุผลดวยวิจารณญาณของตนเองเพื่อ รับผิดชอบตนเอง และนําตนเองได

82 ใบเสริมความรู ตัวอยา ง : การวเิ คราะหก าํ หนดตวั บงชภี้ ายในองคประกอบของการประเมนิ

83 ใบเสริมความรู้ ตัวอยาง : การวเิ คราะหค วามสมั พนั ธท เ่ี ก่ียวขอ งระหวา งตวั แปรภายในของรปู แบบการขยายอาชีพกับ การรับไดข องลกู คา

84 ตวั อยาง : การวเิ คราะหความสัมพันธท ี่เก่ยี วขอ งระหวา งตวั แปรภายในของรูปแบบการขยายอาชพี กบั การรับไดข องสังคมชุมชน

85 ใบงานที่ 2 คาํ ชี้แจง : การใหผูเรียนจัดทําแนวคิดการประเมินความเปนไปไดดวยตนเองน้ี มีจุดประสงค เพื่อฝกทักษะ การประยุกตใชทฤษฎคี วามรูต าง ๆ มาบูรณาการกบั ประสบการณข องตนเอง ใหเปนกรอบแนวคิดของตนเอง และเขาใจภารกิจการประเมินความเปน ไปไดอยางแจมแจง 1. กรอบแนวคดิ การประเมนิ ความเปน ไปไดของตนเอง 2. รายละเอยี ดในแตล ะองคประกอบของกรอบแนวคดิ 3. เปา หมายการประเมิน (มีอะไรบา ง) 4. วิธกี ารวิเคราะหขอ มลู 5. วิธกี ารประเมิน

86 เรืองที การตดั สินใจขยายอาชีพด้วยการวเิ คราะห์ศักยภาพ จากการท่ผี เู รยี นไดศกึ ษา เร่อื งที่ 1 ภารกิจเพ่ือความมั่นคงในการทาํ ธุรกจิ ประกอบดวยเรื่องยอย ๆ คือ บทบาทหนาท่ีของตนเองทีม่ ีตอ ธรุ กจิ การบรหิ ารทรัพยากรดาํ เนินธรุ กิจ การบริหารการผลติ การจัดการสงมอบ และการวจิ ยั พัฒนา ซง่ึ เนนเฉพาะการบริหารจัดการของตวั ผูประกอบการ และเรอื่ งที่ 2 การวัดและประเมินผล ความมั่นคงในอาชีพ ซึ่งตอ งเรียนรเู กี่ยวกับองคประกอบการวัดและประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ วิธีการ วัดผลและประเมินผลความม่ันคงในอาชีพ และการแปรผลการประเมินตนเองเปนการหาขอสรุปวาจะ ดําเนินการขยายอาชพี หรอื ไม อยางไร เพือ่ เปนการสรา งความมง่ั คงยิ่งขึ้น ผูประกอบการควรพิจารณาวิเคราะหศักยภาพในการขยาย อาชพี 5 ดาน ดงั นี้ 1. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแตล ะพน้ื ที่ 2. ศักยภาพของพนื้ ท่ตี ามลักษณะภมู อิ ากาศ 3. ศักยภาพของภูมิประเทศและทาํ เลท่ตี ัง้ ของแตล ะพน้ื ที่ 4. ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวถิ ีชีวิตของแตล ะพ้นื ท่ี 5. ศักยภาพของทรัพยากรมนษุ ยในแตล ะพืน้ ที่ 1. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแตละพ้นื ที่ ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถงึ ส่ิงทีเ่ กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนษุ ยส ามารถนาํ ไปใชใ หเกิดประโยชน ตอชีวติ ประจาํ วัน และการประกอบอาชพี ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแ ก ปา ไม แมน ํา้ ลาํ คลอง อากาศ แรธ าตุตา ง ๆ ทรัพยากรธรรมชาตบิ างชนิดใชแลว หมดไป เชน แรธ าตุตา ง ๆ บางชนิดมนษุ ยส ามารถสรางทดแทนข้ึนใหมได เชน ปาไม เมื่อมนุษยตัดไปใชประโยชนแลวก็สามารถปลูกทดแทนขึ้นใหมได ดังน้ัน การขยายอาชีพตอง พิจารณาวาทรัพยากรที่จะตองนํามาใชในการขยายอาชีพในพื้นท่ีมีหรือไมมีเพียงพอหรือไม ถาไมมี ผูป ระกอบการตอ งพจิ ารณาใหมว าจะขยายอาชพี ท่ตี ดั สนิ ใจเลือกไวหรอื ไม หรือพอจะจัดหาไดใ นพื้นที่ใกลเ คียง ซึง่ ผูประกอบการตองเสียคา ขนสง จะคมุ คากับการลงทนุ หรอื ไม เชน ตัดสินใจจะขยายอาชีพจากเดิมเลี้ยงสุกร 100 ตวั ตอ งการเลย้ี งเพ่ิมเปน 200 ตัว ซึง่ เพ่ิมอีกเทาตัว จะตองพจิ ารณาวา อาหารสกุ รหาไดในพืน้ ท่หี รอื ไม เชน รําขาวในพืน้ ทมี่ ีพอเพียงทจ่ี ะเลีย้ งสุกรทีเ่ พ่มิ ขึน้ หรือไม

87 2. ศักยภาพของพ้ืนท่ตี ามลักษณะภมู อิ ากาศ ในแตละพื้นท่ีจะมลี กั ษณะภูมอิ ากาศแตกตา งกัน เชน ประเทศไทยภาคกลางมีอากาศรอน ภาคใตมีฝนตก เปนเวลานาน ภาคเหนือมีอากาศเย็น โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกรรมขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศเปนสวนใหญ เชน ในพ้นื ทม่ี กี ารปลูกลิ้นจ่ี ลาํ ไย อยูแลว และมีผลผลิตออกมากในฤดูกาล ทําใหราคาตกตํ่าตองการแปรรูปใหเปน ลาํ ไยตากแหง เพอ่ื ใหไดราคาดี ดงั นั้น ตอ งพิจารณาวาในชวงนน้ั มีแสงแดดพอเพียงทจ่ี ะตากลาํ ไยไดห รือไม 3. ศกั ยภาพของภมู ิประเทศและทาํ เลท่ีตง้ั ของแตล ะพน้ื ท่ี สภาพภมู ิประเทศและทําเลทตี่ ้ังของแตล ะพ้ืนทีจ่ ะแตกตางกนั เชน เปนภูเขา เปน ที่ราบสูง ทรี่ าบลุม แตละ พื้นที่มีผลตอการขยายอาชีพ เชน การจัดหาแหลงทองเที่ยวเพ่ิมข้ึนในพ้ืนที่ตองพิจารณาวาแหลงทองเที่ยว แหง ใหมใ นภูมปิ ระเทศน้ัน ๆ สามารถดึงดูดนักทองเทีย่ วไดห รือไม หรอื ตอ งการขยายสาขาไปอกี สถานที่หนงึ่ ก็ ตอ งพิจารณาทําเลทต่ี ั้งแหง ใหมวาจะขายกาแฟไดหรอื ไม 4. ศักยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวิถชี ีวิตของแตละพ้ืนที่ แตละพื้นท่ีทั้งในประเทศไทยและตางประเทศมีศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตที่แตกตางกัน ดงั น้ันแตล ะพนื้ ที่สามารถนําเอาสง่ิ เหลา น้มี าใชเปนอาชพี ได เชน เปน สถานท่ีทองเที่ยวเขาชมศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณพี ืน้ บา น หรอื พาชมวิถชี วี ิต อาจจะขยายอาชพี โดยเพ่มิ จาํ นวนรอบทเี่ ขา ชมใหพ อเพียงกับตลาดเปา หมาย 5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตละพืน้ ท่ี ทรัพยากรมนุษยในแตละพื้นที่ หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยท่ีเปนภูมิปญญาทั้งในอดีต จนถงึ ปจ จุบนั ดานการประกอบอาชพี ตา ง ๆ ในพืน้ ทีน่ ัน้ ๆ เมอ่ื อาชีพน้นั มคี วามม่นั คงในพืน้ ที่น้ัน ๆ แลว อาจจะ ขยายไปพืน้ ทีอ่ ื่น ๆ การกระจายความสามารถของทรัพยากรมนุษย ก็สามารถทําไดโดยการอบรมผูสนใจใน ความรนู ั้น ๆ ใหส ามารถนาํ ไปขยายยังพื้นท่อี น่ื ๆได ผูประกอบการที่มีอาชีพม่ันคงโดยผานการพัฒนาจนกระทั่งเปนที่รูจักกันแพรหลายก็สามารถขยาย ธุรกิจใหกวางขวาง โดยการเพ่ิมปริมาณหรือขยายสาขาใหมากข้ึนได โดยนําศักยภาพทั้ง 5 ดานมาชวย ประกอบการพจิ าณาดว ย

88 ใบงานท่ี 3 จากการที่ผูเรยี นศกึ ษาศกั ยภาพ 5 ดา น เพอื่ ขยายอาชพี มาแลว ใหว เิ คราะหศ กั ยภาพ 5 ดา นในอาชพี ที่ ตัดสนิ ใจขยายอาชพี ทสี่ นใจ วา จะขยายอาชีพไดอ ยา งไร เพอ่ื ใหอ าชีพนนั้ มีความเปน ไปไดล งในแบบบันทกึ แบบบนั ทกึ ตองการขยายอาชพี ……………………………………………………. ท่ี ศักยภาพ 5 ดาน ทีต่ องการ / สอดคลอ งกบั อาชีพ มี ไมม ี หมายเหตุ พอ ไมพอ 1 ทรัพยากรธรรมชาติ 1.1 1.2 1.3 ฯลฯ 2 ภมู ิอากาศ 3 ภูมปิ ระเทศและทําเลท่ีตง้ั 4 ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ 5 ทรัพยากรมนษุ ย

89 สรปุ ผลการตัดสนิ ใจ ใหเ ลอื กอยา งใดอยา งหนึ่ง ดงั นี้ 1. ตดั สนิ ใจเลอื กขยายอาชพี และใหอ ธบิ ายเหตผุ ลความเปน ไปไดท จี่ ะขยายอาชีพ 2. ตดั สนิ ใจไมข ยายอาชีพ เนอ่ื งจาก

90 ภาคผนวก

91 รายชือผู้เข้าร่วมประชุมปฏบิ ัติการเขียนต้นฉบบั เรียน ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขันพนื ฐาน พทุ ธศักราช 2552 ระหวา งวนั ที่ 29 มิถุนายน-3 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมแกรนด เดอวลิ ล กรงุ เทพมหานคร 1. นางพรทิพย กลารบ ผอู าํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นางสาวพมิ พาพร อินทจกั ร สถาบัน กศน.ภาคเหนือ 3. นางสาวสุดใจ บตุ รอากาศ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ 4. นางณฐั พร เชื้อมหาวนั สถาบนั การศกึ ษาและพัฒนาตอ เนอ่ื งสริ ินธร 5. นางวารณุ ี เผอื กจนั ทึก สถาบนั การศกึ ษาและพัฒนาตอ เนอื่ งสริ ินธร 6. นายทองจุล ขนั ขาว สถาบัน กศน.ภาคกลาง 7. นางอมรรัตน ศรกี ระจบิ สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก 8. นางสาวสรุ ตั นา บรู ณะวทิ ย สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก 9. นางสาวสาสินี สมทบเจรญิ กลุ สถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออก 10. นางสาวสมทรง นลิ นอย สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก 11. นายมณเฑียร ละงู สถาบัน กศน.ภาคใต 12. นางสาวสริ ลิ กั ษณ จนั ทรแกว ศนู ยวิทยาศาสตรเพอ่ื การศึกษานครศรธี รรมราช 13. นางสาวลกั ษณส ุวรรณ บุญไชย ศูนยวทิ ยาศาสตรเพ่อื การศกึ ษาตรงั 14. นายเดชพสษิ ฐ เตชะบญุ ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พอื่ การศกึ ษาลาํ ปาง 15. นางพวงเพชร วิเศษชู ศูนยวิทยาศาสตรเ พอื่ การศกึ ษาสระแกว 16. นางอาภรณ เลศิ กจิ คุณานนท ศนู ยวทิ ยาศาสตรเ พอื่ การศึกษาสระแกว 17. นางทพิ รตั น สมั ฤทธริ์ นิ ทร ศูนยฝ กและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทย บรเิ วณชายแดนชุมพร 18. วา ทรี่ อ ยตรอี ัมพร มากเพชร ศนู ยฝกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทย บริเวณชายแดนสระแกว

92 19. นายวิเชยี ร ใจจิตร ศูนยฝ ก และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทย บรเิ วณชายแดนสระแกว 20. นายกติ ตเิ กษม ใจชน่ื ศึกษานเิ ทศ 21. นางศริ ิพรรณ สายหงส ขาราชการบาํ นาญ 22. นางดุษฎี ศรีวัฒนาโรทยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 23. นางพรทิพย เข็มทอง กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 24. นางนนั ฐนิ ี ศรีธญั ญา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 25. นางรงุ อรณุ ไสยโสภณ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 26. นายววิ ัฒนไ ชย จนั ทนสุคนธ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 27. นางพฒั นสุดา สอนซื่อ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 28. นางพชิ ญาภา ปติวรา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 29. นายสรุ พงษ ม่นั มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 30. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 31. นางรุงลาวัณย พไิ ลวงค กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 32. นางสาวปยวดี คะเนสม กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 33. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น

93 รายชือผู้เข้าร่วมประชุมปฏบิ ัตกิ ารบรรณาธิการสือแบบเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขันพนื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระหวางวนั ที่ 7-10 กันยายน - 10 กันยายน 2552 ณ โรงแรมอทู องอินน จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 1. นายวิมล จาํ นงบตุ ร รองเลขาธกิ าร กศน. 2. นางพรทพิ ย กลารบ ผอู าํ นวยการกลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน คณะบรรณาธิการ จนั ทรศ รี ผอู าํ นวยการศนู ยวทิ ยาศาสตรเพอ่ื การศึกษาตรัง 3. นายประกิต ประดษิ ฐส ุวรรณ ผอู ํานวยการอุทยานวทิ ยาศาสตร พระจอมเกลา 4. นายสงดั ณ หวา กอ จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ อนนั ตนริ ตั ศิ ยั ผูอาํ นวยการศูนยว ทิ ยาศาสตรเ พือ่ การศกึ ษา ตรัง 5. นายชยั กิจ มาลากรรณ ผอู าํ นวยการศนู ยวิทยาศาสตรเ พ่ือการศกึ ษา 6. นายสชุ าติ พระนครศรอี ยธุ ยา สหพัฒนสมบตั ิ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.อ.บางปะกง 7. นายกญั จนโ ชติ สิทธริ งั สรรค ศนู ยฝกและพัฒนาอาชพี เกษตรกรรม วัดญาณ- 8. นางทิพวรรณ สงั วรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ โอมาก ขา ราชการบาํ นาญ 9. นายทวี เจรญิ นชิ ขา ราชการบาํ นาญ 10. นางสาวสุรีพร มวงบญุ มี ขา ราชการบาํ นาญ 11. นายไชโย คมุ ทรัพย ขาราชการบาํ นาญ 12. นายอรา ม หนูสง ขา ราชการบาํ นาญ 13. นายชมุ พล ลอ งประเสริฐ ศึกษานิเทศก 14. นางสาวสวุ รรณา รชั ตนาวนิ ศึกษานเิ ทศก 15. นางมาลี ขันอาสา ศึกษานิเทศก 16. นางทองพนิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook