Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการประเมินโครงการ เศรษฐกิจพอเพียงหลักสอง

รายงานผลการประเมินโครงการ เศรษฐกิจพอเพียงหลักสอง

Published by 174ed00079, 2020-04-03 10:15:06

Description: รายงานผลการประเมินโครงการ เศรษฐกิจพอเพียงหลักสอง

Search

Read the Text Version

รายงานผลการประเมนิ โครงการ โครงการการจัดการศึกษาเพอ่ื เรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสศู่ าสตรพ์ ระราชาเพือ่ การพัฒนาท่ียง่ั ยนื (การปลูกพชื ผกั แบบเกษตรอินทรียว์ ถิ ีแบบพอเพียง) วนั ท่ี 7 มนี าคม 2563 ณ กศน.ตาบลหลกั สอง หมทู่ ่ี 7 ตาบลหลกั สอง อาเภอบ้านแพ้ว จังหวดั สมทุ รสาคร ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวสรุ นิ ธร นาคคุ้ม ครู กศน.ตาบลหลกั สอง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบา้ นแพว้ สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั สมุทรสาคร

บทสรปุ การดาเนนิ โครงการ การสรุปผลการดาเนินโครงการในปีงบประมาณ 2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของผู้เข้ารับการอบรมท่ีมีต่อโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ู่ศาสตร์พระราชาเพอื่ การพัฒนาท่ีย่ังยืน (การปลูกพชื ผัก แบบเกษตรอนิ ทรีย์วิถแี บบพอเพยี ง) กลุ่มเปา้ หมายเชิงปรมิ าณ ไดแ้ กป่ ระชาชนท่ัวไป จานวน 10 คน เป้าหมาย เชิงคุณภาพ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกพืชผกั แบบเกษตรอินทรียว์ ิถีแบบพอเพียง สามารถปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียงได้และนาความรู้ไปประกอบอาชีพหรือใช้ประโยชน์ ในชวี ติ ประจาวันได้ ผ้รู ับผิดชอบโครงการ นางสาวสุรนิ ธร นาคคุม้ ครู กศน.ตาบลหลกั สอง การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนดาเนินการจัดกิจกรรมตามขั้นตอนกระบวนการ วงจรคุณภาพ PDCA ได้แก่ (Plan) การวางแผนการดาเนินการ แต่งตั้งคณะทางานจัดทาโครงการการจัด การศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติ สู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) (Check) ประเมินโครงการ ประเมินก่อนดาเนินโครงการ ประเมินระหว่างดาเนินโครงการ ประเมินหลังเสรจ็ สิ้นโครงการ (Action) ขนั้ ปรับปรุงแก้ไข ประชมุ คณะกรรมการโครงการเพอื่ สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการนาผลการดาเนิน โครงการไปปรับปรุงและพัฒนาโครงการ ประชากรที่ใช้ในการเก็บข้อมูล จานวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ เก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วน ประเมินค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดบั การวิเคราะห์ขอ้ มูล ตอนที่ 1 ขอ้ มูลเกยี่ วกับผตู้ อบแบบสอบถาม วิเคราะห์หาค่าความถ่ี และค่าร้อยละ ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจ ต่อโครงการนามาวิเคราะห์หาค่าเฉล่ียและค่า เบ่ียงเบนมาตรฐานแล้วนามาแปลความหมายโดยการเทียบเกณฑ์ และนาเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบ ความเรียงเกณฑก์ ารประเมินคา่ เฉลีย่ ของคะแนน แบ่งเปน็ 5 ระดบั (ประคอง กรรณสตู , 2542 : 73) ผลที่ไดจ้ ากการดาเนินโครงการพบว่า 1. ผู้เข้ารับการอบรมตามเป้าหมาย จานวน 7 คน ผลท่ีจัดได้จานวน 10 คน ผ่านการอบรม จานวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 2. ผลจากข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพือ่ การพฒั นาทีย่ ่งั ยืน (การปลูกพืชผกั แบบเกษตรอินทรียว์ ถิ แี บบพอเพียง) ในภาพรวมพบวา่ ผ้เู ข้ารับการอบรม เป็นหญิง จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 70 มีช่วงอายุระหว่าง 40-49 ปี จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกร จานวน 10 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 3. ผลจากการประเมินความพึงพอใจ พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัด การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติ สู่ศาสตรพ์ ระราชาเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยนื (การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรยี ์วิถแี บบพอเพียง) ในภาพรวมอยู่ใน ระดบั มากที่สดุ ( X =4.93) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 93.30 เม่ือพจิ ารณาเป็นรายดา้ นพบวา่ ผู้เขา้ รับการอบรมมคี วามพงึ พอใจ ในระดับมากท่ีสุดทุกด้าน โดยด้านบริหารจัดการ มีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ ( X =4.98) รองลงมาคือด้าน ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั คือ ( X = 4.93) และสดุ ท้ายด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ คือ ( X = 4.89) ตามลาดับโดยมี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) อยูร่ ะหวา่ ง 0.06 – 0.31 แสดงวา่ ผเู้ ขา้ รับการอบรมมคี วามพงึ พอใจสอดคลอ้ งกัน

ข้อเสนอแนะ การปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์แบบวิถีพอเพียงเป็นการเพิ่มเติมความรู้แก่ผู้เข้ารับ การอบรมเพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวิธีการใหม่ ซ่ึงจะเห็นว่าผู้เข้ารับการอบรม ให้ความสนใจเป็นอยา่ งมากและสามารถนาไปปรบั ประยุกตใ์ ช้ได้จรงิ ในชีวิตประจาวนั ได้อีกด้วย

ก คานา กศน.ตาบลหลักสอง จัดโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตรพ์ ระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยง่ั ยนื (การปลกู พชื ผัก แบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) มีวัตถุประสงค์ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการปลูก พืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียงสามารถปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียงได้และนา ความรู้ไปประกอบอาชีพหรือใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้และได้ดาเนินโครงการดังกล่าวเพื่อทราบว่า การดาเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่บรรลุในระดับใด และได้จัดทาเอกสารรายงาน ประเมินโครงการรายงานต่อผู้บริหาร ผู้เก่ียวข้องเพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาดาเนินโครงการ ใหด้ ียิ่งขึน้ ต่อไป ขอขอบคุณนางวรภร ประสมศรี รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสาคร รักษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบ้านแพ้ว ท่ีให้คาแนะนา คาปรึกษาในการในการจัดทา เอกสารรายงานประเมินโครงการในครง้ั นี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานผลการประเมินโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพ่ือการพัฒนาทีย่ ่ังยนื (การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถแี บบพอเพียง) ฉบับนี้จะเป็นประโยชนต์ ่อผู้ปฏิบัติ ผู้ทส่ี นใจและเป็นแนวทางในการดาเนินกจิ กรรมตอ่ ไป นางสาวสุรนิ ธร นาคคมุ้ ครู กศน.ตาบลหลักสอง

ข สารบญั เรอื่ ง หนา้ บทสรปุ การดาเนินโครงการ คานา ก สารบญั ข สารบญั ตาราง ค สารบัญแผนภมู ิ ง รายงานผลการประเมินโครงการ 1 ความเปน็ มา 1 เป้าหมาย 2 วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน 2 ประชากร 2 เครอื่ งมือที่ใชเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3 การวิเคราะหข์ ้อมลู 3 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 3 ตอนท่ี 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผตู้ อบแบบสอบถาม 4 ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรหู้ ลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติ สศู่ าสตรพ์ ระราชาเพ่ือการพฒั นาท่ียั่งยนื (การปลูกพชื ผักแบบเกษตรอนิ ทรีย์วถิ ีแบบพอเพียง) 5 ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เห็น ขอ้ เสนอแนะ 12 ภาคผนวก

ค สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรม ทตี่ อบแบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติส่ศู าสตรพ์ ระราชา เพื่อการพฒั นาทีย่ งั่ ยืน (การปลูกพชื ผักแบบเกษตรอนิ ทรีย์วิถีแบบพอเพยี ง) จาแนกตามเพศ 4 ตารางท่ี 2 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารบั การอบรมท่ีตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรยี นร้หู ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝกึ อบรมประชาชนโครงการเกษตรธรรมชาตสิ ูศ่ าสตร์พระราชาเพ่อื การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน (การปลกู พืชผักแบบเกษตรอินทรยี ์วถิ ีแบบพอเพยี ง) จาแนกตามอายุ 4 ตารางท่ี 3 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารบั การอบรมท่ีตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชนโครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตรพ์ ระราชาเพือ่ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยืน (การปลกู พชื ผกั แบบเกษตรอินทรียว์ ิถแี บบพอเพยี ง) จาแนกตามระดบั การศกึ ษา 4 ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมท่ีตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการการจดั การศึกษาเพ่ือเรียนรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รูปแบบฝึกอบรมประชาชนโครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตรพ์ ระราชาเพื่อการพฒั นาที่ยง่ั ยืน (การปลูกพชื ผักแบบเกษตรอินทรียว์ ิถแี บบพอเพยี ง) จาแนกตามอาชพี 5 ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติส่ศู าสตร์พระราชาเพอ่ื การพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน (การปลูกพชื ผักแบบเกษตรอินทรียว์ ถิ ีแบบพอเพยี ง) ในภาพรวม 5 ตารางที่ 6 คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอ่ โครงการการจดั การศึกษา เพื่อเรยี นรูห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ศู่ าสตรพ์ ระราชาเพอื่ การพัฒนาที่ยั่งยืน (การปลกู พืชผกั แบบเกษตรอินทรีย์วิถแี บบพอเพียง) ดา้ นการบรหิ ารจดั การ 6 ตารางท่ี 7 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจต่อโครงการการจดั การศึกษา เพ่ือเรียนรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ู่ศาสตรพ์ ระราชาเพือ่ การพฒั นาที่ยัง่ ยืน (การปลกู พืชผักแบบเกษตรอินทรยี ์วถิ แี บบพอเพยี ง) ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 7 ตารางที่ 8 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอ่ โครงการการจดั การศึกษา เพื่อเรยี นรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ่ศู าสตร์พระราชาเพื่อการพฒั นาที่ยง่ั ยืน (การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรยี ์วิถแี บบพอเพยี ง) ด้านประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั 8

ง สารบญั แผนภูมิ เรอื่ ง หน้า แผนภูมิที่ 1 แสดงจานวนรอ้ ยละของผเู้ ขา้ รบั การอบรมโดยจาแนกตามเพศ 9 แผนภมู ิท่ี 2 แสดงจานวนร้อยละของผ้เู ข้ารบั กาอบรมโดยจาแนกตามอายุ 9 แผนภูมิที่ 3 แสดงจานวนรอ้ ยละของผู้เข้ารบั การอบรมโดยจาแนกตามระดบั การศึกษา 10 แผนภมู ิที่ 4 แสดงจานวนรอ้ ยละของผ้เู ขา้ รบั การอบรมโดยจาแนกตามอาชีพ 10 แผนภมู ทิ ี่ 5 แสดงจานวนรอ้ ยละความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารับการอบรมที่มตี ่อโครงการการจดั การศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ่ศู าสตร์พระราชาเพือ่ การพฒั นาท่ีย่งั ยืน (การปลกู พืชผกั แบบเกษตรอินทรียว์ ถิ แี บบพอเพยี ง) 11

1 รายงานผลการประเมนิ โครงการ การจดั การศกึ ษาเพอื่ เรยี นร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ูศ่ าสตร์พระราชา เพอ่ื การพัฒนาทยี่ งั่ ยืน (การปลูกพชื ผักแบบเกษตรอนิ ทรยี ว์ ิถแี บบพอเพยี ง) กศน.ตาบลหลกั สอง 1. ความเป็นมา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการดาเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติที่ พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร หรือพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลท่ี 9 ทรงมีพระราชดารัสช้ีแนะแก่พสกนิกรชาวไทยมานานกว่า 30 ปี ดังจะเห็นได้ว่าปรากฏความหมายเป็นเชิงนัยเป็นครั้งแรกในพระบรมราโชวาทและพระราชดารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในปี 2517 ท่ีพระองค์ได้ทรงเน้นย้าแนวทางการพัฒนาบนหลักแนวคิด พึ่งตนเอง เพื่อให้เกิดความพอมี พอกิน พอใช้ของคนส่วนใหญ่โดยใช้หลักความพอประมาณการคานึงถึง การมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวและทรงเตือนสติ ประชาชนคนไทยไม่ให้ประมาทตระหนักถึง การพัฒนาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนที่ถูกต้องตามหลักวิชาและการมีคุณธรรมเป็นกรอบในการปฏิบัติ และการดารงชีวิตในช่วงที่ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 นับเป็นบทเรียนสาคัญที่ทา ให้ประชาชนเข้าใจถึงผลจากการพัฒนาที่ไม่คานึงถึงระดับความเหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ สานักงาน กศน. จึงมีนโนบายกาหนดให้ กศน.ตาบลจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผา่ นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวติ ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการบริหารจัดการความเส่ียงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและย่ังยืน และเนื่องจากพื้นท่ีตาบลหลักสอง ตาบลเจ็ดร้ิว เป็นพื้นที่ทาการเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่จึงดาเนินชีวิตบนวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ันการลดรายจ่ายของครอบครัวเป็นสิ่งสาคัญ โดยเฉพาะรายจ่ายสาหรับซื้อผักสดเพื่อการบริโภค และในปจั จุบันกระแสการบริโภคอาหารเพ่ือสุขภาพกาลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในหมู่ผู้บริโภคที่ใส่ใจ สุขภาพและต้องการพืชผักปลอดจากสารพิษ ทาให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถมองเห็นถึงประโยชน์ท่ีตนเอง และชุมชนพึงจะได้รับเพราะสามารถทาไว้บริโภคกินเองได้และสามารถนามาเพาะปลูกเพื่อสร้างรายได้ให้กับ ครวั เรือนไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไปได้ กศน.ตาบลหลักสอง และ กศน.ตาบลเจ็ดริ้ว อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร จึงได้ให้ความสาคัญ กับการปลูกฝังคุณธรรมสานึกความสานึกในความเป็นไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้แก่ประชาชนทั่วไปทุกคน จึงส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้เรื่องเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน (การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) ตามผลที่ได้จากการ สารวจข้อมูลความต้องการของประชาชนและดาเนินการตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายโดยจัดโครงการ ดงั กลา่ วขึ้น

2 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ให้ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับการปลูกพืชผกั แบบเกษตรอนิ ทรียว์ ถิ แี บบพอเพยี ง 2. เพื่อให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมสามารถปลกู พชื ผักแบบเกษตรอินทรยี ว์ ิถแี บบพอเพียงได้ 3. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมนาความรู้ไปประกอบอาชีพหรือใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวันได้ 3. เปา้ หมาย เชิงปริมาณ ประชาชนท่ัวไป จานวน 7 คน เชิงคุณภาพ 1. ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการปลกู พืชผักแบบเกษตรอนิ ทรยี ์วถิ ีแบบพอเพียง 2. ผเู้ ข้ารับการอบรมสามารถปลูกพืชผักแบบเกษตรอนิ ทรยี ์วิถีแบบพอเพยี งได้ 3. ผเู้ ข้ารับการอบรมนาความรู้ไปประกอบอาชีพหรือใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวันได้ 4. วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมนิ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมท่ีมีต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพอ่ื การพฒั นาที่ยง่ั ยืน (การปลูกพชื ผกั แบบเกษตรอนิ ทรียว์ ิถีแบบพอเพียง) 5. ประชากร ได้แก่ ประชาชนท่วั ไป จานวน 10 คน 6. เคร่ืองมอื ท่ใี ช้เก็บรวบรวมขอ้ มูล เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน (การปลูกพชื ผักแบบเกษตรอินทรียว์ ิถแี บบพอเพียง)แบบสอบถามมี 3 ข้นั ตอน ตอนที่ 1 ถามข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 4 ข้อ ลักษณะแบบสอบถาม เปน็ แบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพอ่ื เรยี นร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตรพ์ ระราชาเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน(การปลูกพืชผัก แบบเกษตรอนิ ทรียว์ ถิ แี บบพอเพียง) จานวน 15 ขอ้ ซ่ึงประเมนิ 3 ดา้ น คอื ดา้ นบริหารจดั การ ดา้ นการจดั กจิ กรรม ดา้ นประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ ลักษณะแบบสอบถามเปน็ แบบมาตราส่วนประเมนิ ค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับดังนี้ 5 มากที่สดุ หมายถงึ มีความพึงพอใจมากที่สุด 4 มาก หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก 3 ปานกลาง หมายถึง มคี วามพงึ พอใจปานกลาง 2 นอ้ ย หมายถงึ มีความพึงพอใจน้อย 1 น้อยที่สดุ หมายถึง มคี วามพึงพอใจน้อยทส่ี ดุ

3 ตอนท่ี 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนาต่อโครงการการจัดการศึกษา เพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน(การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) มีลักษณะเป็น แบบสอบถามปลายเปดิ 7. การเก็บรวบรวมข้อมลู ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร เ ก็ บ ข้ อ มู ล ห ลั ง จ า ก ก า ร จั ด โ ค ร ง ก า ร ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ เ รี ย น รู้ ห ลั ก ป รั ช ญ า ของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนา ที่ย่ังยืน(การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) ในวันที่ 7 มีนาคม 2563 เก็บแบบสอบถามได้ จานวนทั้งส้ิน 9 ฉบบั คดิ เปน็ ร้อยละ 100 8. การวิเคราะห์ข้อมลู นาแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ ท่ีดาเนินการสารวจเรียบร้อยแล้วมาตรวจสอบ ความสมบูรณข์ องข้อมูล แล้วนาไปวเิ คราะห์ดังน้ี 8.1 ตอนท่ี 1 ถามข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 4 ข้อ วิเคราะห์หาค่าความถี่ และค่าร้อยละ 8.2 ตอนท่ี2 ความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน (การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) นามาวิเคราะห์หาค่าเฉล่ียและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนามาแปลความหมายโดยการเทียบเกณฑ์ และนาเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรียง เกณฑ์การประเมนิ ค่าเฉลย่ี ของคะแนน แบง่ เปน็ 5 ระดบั ดังนี้ (ประคอง กรรณสูต, 2542 : 73) มากที่สดุ มคี า่ เฉลี่ย 4.50 – 5.00 มาก มคี า่ เฉลี่ย 3.50 – 4.49 ปานกลาง มีค่าเฉลีย่ 2.50 – 3.49 นอ้ ย มคี ่าเฉลย่ี 1.50 – 2.49 นอ้ ยท่สี ุด มีคา่ เฉลยี่ 1.00 – 1.49 8.3 ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ ใช้วิธกี ารวิเคราะหแ์ ละนามาประมวลใหเ้ ป็นข้อความ โดยสรุป 9. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ใ น ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ เ รี ย น รู้ ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ียง่ั ยืน (การปลกู พืชผัก แบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) ได้ดาเนินการรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้ารับการอบรมทุกคนโดยใช้ แบบสอบถามความพึงพอใจ ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรจานวน 9 คน ขอ้ มลู สรปุ ไดด้ ังน้ี

4 ตอนท่ี 1 ข้อมูลเกย่ี วกับผตู้ อบแบบสอบถาม ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสูศ่ าสตร์พระราชาเพ่ือการพฒั นาทีย่ ่ังยนื (การปลูกพชื ผักแบบเกษตรอินทรยี ว์ ิถแี บบพอเพยี ง) จาแนกตามเพศ เพศ จานวน/คน รอ้ ยละ ชาย 3 30.00 หญิง 7 70.00 จากตารางท่ี 1 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมเป็นผู้หญิง จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 70.00 และ เปน็ ผู้ชาย จานวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.00 ตารางท่ี 2 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ู่ศาสตร์พระราชาเพ่อื การพัฒนาทีย่ ่ังยนื (การปลูกพืชผกั แบบเกษตรอินทรยี ว์ ิถแี บบพอเพียง) จาแนกตามอายุ ชว่ งอายุ จานวน/คน ร้อยละ 15 - 29 ปี 1 10.00 30 - 39 ปี 0 000 40 – 49 ปี 4 40.00 50 – 59 ปี 2 20.00 60 ปีขึ้นไป 3 30.00 จากตารางท่ี 2 พบว่าผเู้ ขา้ รบั การอบรมส่วนใหญ่มีชว่ งอายุระหว่าง 40-49 ปี จานวน 4 คน คิดเป็น ร้อยละ 40.00 รองลงมามีช่วงอายุ 60 ปีข้ึนไป จานวนช่วงอายุละ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 ลาดับต่อไป มีอายรุ ะหวา่ ง 50-59 ปี จานวน 2 คน และสุดทา้ ยมชี ว่ งอายุระหว่าง 15-29 ปี จานวน1คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ10.00 ตารางท่ี 3 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน(การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์ วถิ แี บบพอเพียง) จาแนกตามระดบั การศึกษา การศกึ ษา จานวน/คน ร้อยละ ประถมศึกษา 3 18.75 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1 6.25 มัธยมศึกษาตอนปลาย 6 37.50 อนปุ รญิ ญา 0 0.00 ปริญญาตรี 0 0.00 อ่นื ๆ 0 0.00

5 จากตารางท่ี 3 พบว่าผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 รองลงมามีการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 และสุดทา้ ยมีการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 6.25 ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมท่ีตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน(การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์ วถิ ีแบบพอเพียง) จาแนกตามอาชีพ อาชพี จานวน/คน ร้อยละ รับจา้ ง 0 0.00 คา้ ขาย 0 0.00 เกษตรกร 10 100.00 ลกู จ้าง/ขา้ ราชการหน่วยงาน 0 0.00 ภาครัฐหรอื เอกชน 0 0.00 อน่ื ๆ จากตารางที่ 4 พบวา่ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร จานวน 10 คน คิดเป็น ร้อยละ 100 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจตอ่ โครงการการจดั การศึกษาเพ่ือเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตรพ์ ระราชาเพื่อการพัฒนาทย่ี ่ังยนื (การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) ตารางท่ี 5 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยนื (การปลกู พชื ผักแบบเกษตรอนิ ทรียว์ ถิ ีแบบพอเพียง) ในภาพรวม รายการ ค่าเฉล่ยี สว่ นเบีย่ งเบน ระดบั รอ้ ยละ X มาตรฐาน ความพงึ พอใจ ดา้ นบริหารจดั การ S.D 98.00 ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 4.98 มากท่สี ดุ 88.57 ด้านประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ 4.89 0.06 มากที่สุด 93.33 4.93 มากท่ีสดุ 93.30 รวมทุกด้าน 4.93 0.31 มากทส่ี ดุ 0.20 0.19 จากตารางท่ี 5 พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน(การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.93) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจ ในระดับมากท่ีสุดทุกด้าน

6 โดยด้านบริหารจัดการมคี ่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ ( X =4.98) รองลงมาคือ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ คือ ( X = 4.93) และสุดท้ายด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ ( X = 4.89) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ระหว่าง 0.06 - 0.31 แสดงว่าผู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามพงึ พอใจสอดคลอ้ งกนั โดยคิดเป็นร้อยละ 93.30 ตารางท่ี 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพอื่ การพัฒนาท่ยี ่งั ยนื (การปลูกพชื ผกั แบบเกษตรอินทรียว์ ิถแี บบพอเพยี ง) ดา้ นการบริหารจัดการ รายการ ค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบน ระดบั ร้อยละ X มาตรฐาน ความพงึ พอใจ อาคารและสถานที่ S.D 100.00 สง่ิ อานวยความสะดวก 5.00 0.00 มากทีส่ ุด 100.00 กาหนดการและระยะเวลา 5.00 0.00 มากที่สดุ 90.00 ในการดาเนนิ โครงการ 4.90 0.30 มากทสี่ ุด เอกสารการเรยี นเรอื่ งการปลูกพืชผัก 100.00 แบบเกษตรอินทรีย์วถิ ีแบบพอเพยี ง 5.00 0.00 มากทสี่ ดุ วิทยากรผใู้ หค้ วามรู้ 100.00 5.00 0.00 มากทส่ี ุด 98.00 รวมทุกด้าน 4.98 0.06 มากที่สดุ จากตารางท่ี 6 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพ่อื การพัฒนาทีย่ ั่งยนื (การปลกู พชื ผักแบบเกษตรอนิ ทรยี ์วถิ แี บบพอเพยี ง) ดา้ นการบริหารจัดการอยใู่ น ระดับ มากทสี่ ุด ( X = 4.98) เม่ือพิจารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ผเู้ ขา้ รับการอบรมมคี วามพึงพอใจ ในระดบั มาก ท่ีสุดทุกด้าน โดยอาคารสถานท่ี สิ่งอานวยความสะดวก เอกสารการเรียนเรื่องการปลูกพืชผักแบบเกษตร อินทรีย์วิถีแบบพอเพียงและวิทยากรผู้ให้ความรู้ มีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ ( X =5.00) รองลงมาคือกาหนดการ และระยะเวลาในการดาเนินโครงการ มีค่าเฉล่ียคือ ( X =4.90) โดยมสี ่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ระหว่าง 0.00 – 0.30 แสดงว่าผู้เข้ารบั การอบรมมีความพงึ พอใจสอดคล้องกัน โดยคดิ เปน็ รอ้ ยละ 98.00

7 ตารางท่ี 7 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพ่ือการพฒั นาที่ยั่งยืน(การปลูกพืชผักแบบเกษตรอนิ ทรียว์ ถิ แี บบพอเพียง) ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ รายการ คา่ เฉลย่ี ส่วนเบีย่ งเบน ระดับ ร้อยละ X มาตรฐาน ความพงึ พอใจ 90.00 S.D ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับการปลูกผักแบบ 4.90 มากทีส่ ดุ เกษตรอนิ ทรยี ์วิถีแบบพอเพยี ง 4.80 0.30 ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ 4.90 0.40 มากทสี่ ดุ 80.00 การเกษตรและประยุกต์ใช้ปรัชญาของ 4.90 เศรษฐกจิ พอเพียง 4.90 0.30 มากท่สี ุด 90.00 4.90 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปลูกพืชผัก 4.90 0.30 มากท่ีสดุ 90.00 แบบเกษตรอนิ ทรีย์วิถแี บบพอเพยี ง 4.89 0.30 มากท่ีสดุ 90.00 อนั ตรายจากการใชส้ ารเคมี 0.30 มากที่สดุ 90.00 0.30 มากที่สุด 90.00 ช่องทางการประกอบอาชีพการปลูก พืชผักแบบเกษตรอนิ ทรยี ์วถิ แี บบพอเพียง 0.31 มากทส่ี ดุ 88.57 ขัน้ ตอนการดแู ลรกั ษาและเก็บเก่ยี ว ป ร ะ โ ย ช น์ ก า ร บ ริ โ ภ ค พื ช ผั ก แ บ บ เกษตรอินทรีย์และปลอดสารเคมี รวมทุกด้าน จากตารางท่ี 7 พบว่าผู้เข้ารับกาอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน(การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.89) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในระดับ มากที่สุดทุกข้อ โดยเร่ืองความรู้ทั่วไปเก่ียวกับการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง อันตรายจากการใช้สารเคมี ช่องทางการประกอบอาชีพการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง ขั้นตอนการดูแลรักษาและ เก็บเกี่ยวและประโยชน์การบริโภคพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์มีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ ( X =4.90) รองลงมาคือ เรื่องการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับการเกษตรและประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีค่าเฉล่ียคือ ( X =4.80) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ระหว่าง 0.30 – 0.40 แสดงว่าผู้เข้ารับการอบรม มคี วามพึงพอใจสอดคล้องกนั โดยคิดเปน็ ร้อยละ 88.57

8 ตารางที่ 8 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพ่อื การพฒั นาที่ยงั่ ยืน(การปลูกพชื ผักแบบเกษตรอินทรยี ์วถิ ีแบบพอเพยี ง) ดา้ นประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ รายการ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบีย่ งเบน ระดับ รอ้ ยละ X มาตรฐาน ความพึงพอใจ S.D ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ 4.90 มากทีส่ ดุ 90.00 เก่ียวกับการปลูกพืชผักแบบเกษตร 4.90 0.30 อนิ ทรียว์ ถิ แี บบพอเพียง 5.00 4.93 0.30 มากท่สี ุด 90.00 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถปลูกพืชผัก 0.00 มากที่สดุ 100.00 แบบเกษตรอินทรยี ว์ ิถีแบบพอเพียงได้ 0.20 มากท่ีสดุ 93.33 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ ไปประกอบอาชีพหรือใช้ประโยชน์ใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ รวมทุกด้าน จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน(การปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียง) ด้านประโยชน์ท่ีได้รับอยู่ในระดับ มากที่สุด ( X = 4.93) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ทุกข้อ โดยผู้เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพหรือใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ มคี ่าเฉลยี่ มากท่ีสดุ คอื ( X = 5.00) รองลงมาคือผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกพืชผัก แ บ บ เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย์ วิ ถี แ บ บ พ อ เ พี ย ง แ ล ะ ผู้ เ ข้ า รั บ ก า ร อ บ ร ม ส า ม า ร ถ ป ลู ก พื ช ผั ก แ บ บ เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย์ วิถีแบบพอเพียงได้ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ( X = 4.90) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ท่ี 0.00 -0.30 แสดงวา่ ผ้เู ข้ารับการอบรมมคี วามพึงพอใจสอดคล้องกนั โดยคิดเปน็ ร้อยละ 93.33

9 แผนภูมแิ สดงความพงึ พอใจของผู้เขา้ รบั การอบรม โครงการการจดั การศกึ ษาเพอ่ื เรยี นรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ู่ศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน(การปลกู พชื ผักแบบเกษตรอินทรียว์ ิถีแบบพอเพยี ง) กศน.ตาบลหลกั สอง แผนภมู ิท่ี 1 แสดงจานวนรอ้ ยละของผูเ้ ข้ารบั การอบรมโดยจาแนกตามเพศ แผนภมู ิท่ี 2 แสดงจานวนรอ้ ยละของผูเ้ ข้ารับการอบรมโดยจาแนกตามอายุ

10 แผนภมู ิที่ 3 แสดงจานวนร้อยละของผเู้ ขา้ รับการอบรมโดยจาแนกตามระดับการศึกษา แผนภูมิที่ 4 แสดงจานวนร้อยละของผู้เขา้ รับการอบรมโดยจาแนกตามอาชีพ

11 แผนภูมิที่ 5 แสดงจานวนร้อยละความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อโครงการการจัดการศึกษา เพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติ สู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาทย่ี ่ังยนื (การปลกู พชื ผักแบบเกษตรอนิ ทรีย์วถิ ีแบบพอเพยี ง)

12 ตอนที่ 3 ข้อคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ จุดเด่น และจุดท่ีควรพัฒนาต่อโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพ่ือการพฒั นาทยี่ ั่งยนื (การปลูกพืชผกั แบบเกษตรอินทรยี ์วถิ ีแบบพอเพียง) ขอ้ คดิ เหน็ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งนี้ จัดในรูปแบบของการฝึกอบรมประชาชน เพ่ือให้ผู้เข้ารับ การอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์วิถีแบบพอเพียงสามารถปลูกพืชผัก แบบเกษตรอนิ ทรยี ว์ ิถีแบบพอเพียงได้และนาความรไู้ ปประกอบอาชพี หรือใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวันได้ ขอ้ เสนอแนะ การปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์แบบวิถีพอเพียงเป็นการเพิ่มเติมความรู้แก่ ผู้เข้ารับการอบรม เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวิธีการใหม่ ซึ่งจะเห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมให้ความสนใจ เปน็ อยา่ งมากและสามารถนาไปปรับประยุกต์ใชไ้ ด้จริงในชีวิตประจาวันได้อีกด้วย จดุ เดน่ ของโครงการ / กจิ กรรม ในครั้งนี้ - ผเู้ ขา้ รบั การอบรมใหค้ วามสนใจและตง้ั ใจปฏิบัตดิ ี - วิทยากรเปน็ ผูม้ ีความรูค้ วามสามารถเหมาะสม - สถานท่จี ัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม - กิจกรรมทีจ่ ัดตรงตามความตอ้ งการของประชาชนท่สี นใจ - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถได้นาความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ให้เป็นประโยชน์กับวิถีชีวิต และการประกอบอาชพี เกษตรกรรมของตนเองได้ดว้ ย - ผู้เขา้ รับการอบรมมคี วามพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมอยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ จดุ ท่คี วรพัฒนาของโครงการ / กิจกรรม ในครง้ั นี้ - ไม่พบจดุ ท่ีควรพัฒนา ลงชื่อ ผู้รายงาน (นางสาวสรุ นิ ธร นาคคมุ้ ) ครู กศน.ตาบลหลักสอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook