ดังน้ันจะเหน็ ไดว้ ่าวิชาศลิ ปะสามารถมีสว่ นสำคญั และบทบาทในศตวรรษท่ี 21 ได้ หากครูผสู้ อนนำ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทสี่ อดคล้องกบั การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 มาใช้ในการจดั การเรียนการสอนโดย ใช้หลกั ที่วา่ เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ เพ่ือให้ผเู้ รยี นรู้จักคดิ วิเคราะห์ หรือเรียนรสู้ ่งิ รอบตัวด้วยเหตผุ ลองคค์ วามรทู้ ี่ผเู้ รียน สามารถสบื คน้ ดว้ ยตนเอง และใชส้ ง่ิ ท่ีเรียกวา่ สุนทรียศาสตร์ แทนคำวา่ วาดรปู สวย 44
อนาคตทางการศกึ ษาและการจดั การเรียนการสอนศิลปะในวกิ ฤตกิ ารแพร่ระบาด ของไวรัสโควดิ -19 จะเปน็ อยา่ งไรตอ่ ไป? พลพจน์ ฉ่ัวตระกลู จากวิกฤติการแพรร่ ะบาดของไวรัสโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญทที่ ำใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงของ การศึกษาทัง้ ในประเทศไทยและท่วั โลก แนวโนม้ ของการศึกษาไทยในอนาคตจะเปลี่ยนไปอยา่ งไรบา้ ง ใน ฐานะนกั ศึกษาครอู ยา่ งเราจะมีแนวทางการตั้งรับการเปลี่ยนแปลงนไ้ี ด้อยา่ งไร การระบาดของไวรัสโควิด-19 ทำให้ทัว่ โลกตอ้ งใชม้ าตรการเพม่ิ ระยะห่างทางสังคม ส่งผลกระทบ โดยตรงต่อสถานศกึ ษาที่ต้องปดิ ท่ีทำการชัว่ คราว การเรยี นการสอนแบบออนไลนถ์ ือเปน็ ทางเลอื กหนึ่งท่ี นำมาใชไ้ ด้ในข้อจำกดั ดังกล่าว แต่การสอนออนไลนใ์ นรายวิชาศลิ ปะปฏิบัตินน้ั มขี ้อจำกัดหลายดา้ น เชน่ ความ พร้อมของเคร่ืองมือ อปุ กรณ์การปฏบิ ตั ิงาน และสถานที่ในการปฏิบตั ิงาน ในขณะนท้ี ่สี ถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ระลอก 3 กลบั มาสรา้ งความต่นื ตระหนกให้กับ ประชาชนอีกครั้ง พว่ งด้วยผลกระทบทางดา้ นเศรษฐกิจ ความกา้ วหนา้ ของชวี ิต รวมไปถึงการเปดิ ภาคเรียนใหม่ ของปี 2564 ซึง่ การเรียนการสอนจะต้องกลับมาในรปู แบบออนไลน์อีกคร้งั แม้วา่ ในครัง้ นี้ ความรสู้ กึ ของ โรงเรียน ครู นกั เรียน ผู้ปกครองอาจเรม่ิ คุน้ ชนิ กบั สง่ิ น้ี แต่เราทเ่ี ป็นนักศึกษาครทู ่ีกำลงั จะออกฝึกปฏิบัตกิ าร สอนในปีการศกึ ศกึ ษานก้ี ย็ ังเห็นปัญหาที่เกดิ ข้ึนจากการเรียนออนไลนม์ ากมายผา่ นทางคำบอกเลา่ ของ ผ้ปู กครองและนักเรียนตามโซเชียลมเี ดียทอ่ี อกมาระบาย หรอื จากการบอกเล่าประสบการณก์ ารฝกึ ปฏบิ ตั ิการ สอนของรุ่นพีท่ ี่ได้ประสบปญั หาการแพร่ระบาดของไวรัสโควดิ -19 ในรอบแรก ทำใหเ้ ราตระหนักได้ว่าปญั หาที่ เกิดข้นึ จากการเรยี นออนไลน์กย็ ังคงมีอยู่ บางเร่ืองอาจไดร้ ับการแก้ไข บางเรือ่ งอาจเป็นปญั หาใหม่ บางเร่ืองไม่ เคยไดร้ ับการแก้ไขเลย ได้แต่ทน ๆ ทำไปเทา่ ทท่ี ำได้ ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารยป์ ระจำคณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่งึ ในอาจารย์มหาวทิ ยาลัยกลุ่มแรก ๆ ทเี่ ปลย่ี นมาใช้วิธกี ารสอนนกั ศึกษา ออนไลนต์ ้งั แต่ก่อนทรี่ ฐั บาลจะออกประกาศปิดสถานศกึ ษา ได้กลา่ ววา่ ไมใ่ ชท่ ุกวิชาหรือทกุ คณะจะเปลี่ยนมา สอนออนไลนไ์ ด้ทั้งหมด เพราะต้องคำนึงถึงความเหมาะสม และประสิทธิภาพของการสอนที่สำคัญท่สี ดุ คอื ห้องเรยี นออนไลนย์ ังทดแทน \"ห้องเรยี นออฟไลน\"์ หรือห้องเรยี นจรงิ ๆ ไมไ่ ด้ คือ \"ปฏิสัมพันธ”์ แนน่ อนว่าการเปิดเรียนอีกคร้ังก็อาจไมใ่ ช่ตวั เลอื กท่ดี นี ัก จากเคสตวั อย่างของประเทศเกาหลีใต้ที่ พยายามเปดิ เรยี นดว้ ยมาตรการการรักษาระยะห่าง แตเ่ พียงไม่กว่ี ันหลงั เปดิ เรยี นกต็ ้องยกเลิกไปเพราะมเี คส นักเรยี นตดิ เชอ้ื โควดิ -19 จากที่โรงเรียน เช่นเดียวกบั ประเทศไทย แนวโนม้ ของการระบาดระลอก 3 อาจไม่ได้ หายไปเรว็ เทา่ ท่เี ราหวังไว้ ดังนั้น เราจงึ ต้องยอมรับสถานการณ์น้ี หันหน้าเขา้ หาปัญหาและพยายามทำให้การ เรยี นออนไลนเ์ กิดผลมากท่ีสดุ เพ่ือท่จี ะยงั คงมอบโอกาสทางการศกึ ษาใหแ้ กเ่ ด็กไทย แต่จากการแพรร่ ะบาดมา 2 รอบแลว้ น้นั ทำให้พบว่า การเรยี นออนไลน์น้นั มีข้อจำกัดเรอื่ งความพรอ้ มส่วนบุคคลมากมาย โดยเฉพาะใน 45
โรงเรียนท่อี ยู่ตา่ งจังหวดั ท่ีครูก็ยังไมม่ ีความคุ้นชนิ กับเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ปัญหาอกี อย่างท่สี ำคัญคือนกั เรยี นไม่มี อุปกรณ์ ไม่มีความพร้อมท่ีจะสามารถเรยี นรู้ในรูปแบบออนไลน์ได้ ในการเรยี นการสอนวชิ าศิลปะน้ันโดยหลกั ๆ แลว้ จะเน้นไปที่การปฏิบัตคิ วบคู่ไปกบั การเรียนเน้อื หา ทฤษฎี เพื่อฝึกกระบวนการคิดสร้างสรรค์ซ่ึงการเรียนบางคร้งั อาจต้องไดร้ บั การแนะนำจากครูผ้สู อน ปัญหาที่ เห็นได้ชัดในการเรียนศลิ ปะในรูปแบบออนไลน์คือ เราไมส่ ามารถให้คำแนะนำใหก้ บั นักเรยี นไดอ้ ยา่ งทัว่ ถึง ซงึ่ เราอาจจะแก้ไขปญั หาโดยมาพูดคยุ แลกเปลีย่ นกันในตอนท้ายคาบกับเพื่อนและครวู ่าปัญหาท่ีแตล่ ะคนพบเจอ น้ันมอี ะไรบา้ ง แต่ในความเป็นจรงิ การเรียนออนไลนใ์ นช้ันเรียนศลิ ปะสามารถทำไดด้ ใี นระดับมัธยมปลายจนถึง อุดมศึกษา เพราะผู้เรียนมีความพร้อมทางเทคโนโลยี มวี ุฒภิ าวะและความรับผิดชอบมากพอทจ่ี ะเรียนแบบไม่มี คนคอยควบคมุ ได้ ในระดบั ทเ่ี ดก็ วา่ นน้ั อาจจะเปน็ ไปได้ยากที่จะทำไดถ้ ้าไม่ใชเ่ ดก็ ท่ีครอบครัวมีความพร้อม พอสมควร ความเหลือ่ มลำ้ ที่เกิดจากโอกาสในการเข้าถงึ เทคโนโลยที ี่ไม่เทา่ เทยี มมเี หน็ ได้มากมายในประเทศ ไทย การเรยี นออนไลนเ์ ปน็ หน่งึ ในวิธีแกป้ ญั หาอย่างเร็ว แต่การท่จี ะทำเชน่ นี้ได้ ประเทศนัน้ ต้องมีโครงการการ สอื่ สารและอนิ เทอร์เนต็ ท่ดี ีและราคาถกู ทุกคนเขา้ ถึงได้ แต่ตอ้ งยอมรับวา่ ในประเทศทย่ี งั ไมพ่ ัฒนา และ ประเทศกำลงั พัฒนา เชน่ ประเทศไทยที่ยงั ไม่ได้พัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานตอบรับเทคโนโลยีเหล่าน้ี การเขา้ มา ของการเรียนออนไลน์ ยง่ิ ทำให้เดก็ ยากจนและผู้ท่ีเข้าไม่ถงึ เทคโนโลยีน้นั ถูกละทิ้งและมองข้ามไป ท้ังการเรียนออนไลนแ์ ละในการเรียนในช้นั เรียนจรงิ ต่างก็จะมีข้อดแี ละข้อเสียทีต่ ่างกัน ทง้ั นท้ี ง้ั นนั้ ก็ ขนึ้ อยู่กับบริบทต่าง ๆ ว่าเหมาะสมกบั สถานการณโ์ ลกในปัจจบุ นั ความพร้อมทางเทคโนโลยี หรือบริบทของ โรงเรียน ครู นักเรียน และเนื้อในการเรียนการสอนอีกดว้ ย การเรยี นออนไลน์ไมใ่ ชเ่ ร่อื งยากถ้าหากเราทุกคน รู้จกั ปรับตัวตามสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนไป การระบาดของไวรัสโควดิ -19 นี้ ทำให้เราได้เตรียมความพร้อมสำหรบั การเรยี นการสอนในอนาคตให้เรว็ ขึน้ แตก่ ็ปฏเิ สธไม่ไดว้ ่าทั้งครูและนักเรียนนน้ั ล้วนคิดถึงบรรยากาศการเรยี น การสอนแบบเดมิ ที่ทกุ คนมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กนั เดก็ ๆได้เตบิ โตไปพร้อม ๆ กนั ตามชว่ งวัย ในอนาคตเราอาจจะไดเ้ ห็น รูปแบบห้องเรียนผสมผสาน ทั้งการเรียนแบบดัง้ เดมิ และการเรียนออนไลน์ควบคู่กันไปอย่างสมบรู ณ์ อ้างอิง AKSON. (ม.ป.ป.). เมื่อเกดิ ความเปล่ยี นแปลงของโลกการศึกษาจากวกิ ฤติ โควิด-19 แล้วอนาคตทางการศึกษา จะเป็นอย่างไรต่อไป? เรียกใชเ้ มอ่ื 7 มีนาคม 2564 จาก AKSON:https://ev.turnitin.com/app/ carta/en_us/?u=1116807667&s=&student_user=1&session-id=cb01360965b24ec1acf 47e3715 124ac6&lang=en_us&o=1563544978 gnite thailand. (28 มกราคม 2564). ไขความลับ(ท่ีไม่ลบั )…ทำไมตา่ งประเทศถงึ เรียน ‘ออนไลน’์ ไดส้ ำเร็จ? เรยี กใช้เมอ่ื 7 มนี าคม 2564 จาก ignite thailand: https://www.ignitethailand.org/content /6276/ignite?fbclid=IwAR0oG8ZoLHtnGzRQdRGRio3YDq 46
47
การศกึ ษาไทยหรือใครกนั ท่ีทำใหค้ ุณภาพเดก็ ไทยแย่ลง พิมลพรรณ แสนนาม จากการรับฟังข่าวที่เผยแพร่ทางสอ่ื มวลชนเกยี่ วกบั คุณภาพการศกึ ษาที่แยล่ งและแย่ยิง่ กว่าประเทศ เพอ่ื นบ้านไม่ว่าจะเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษแม้กระทัง่ วชิ าภาษาไทยซง่ึ เป็นภาษาของเรา เองกย็ ังแย่ และก็ยงั คิดวา่ ศลิ ปะเป็นวชิ าที่ไรส้ าระและไรป้ ระโยชน์ทง้ั ที่ศิลปะสามารถบรู ณาการได้กบั ในทุกๆ วิชาก็ตาม ทำใหว้ ชิ าศิลปะอาจจะถกู เบียดบังจากวชิ าอน่ื ตามไปดว้ ย เมื่อมาวิเคราะหด์ ูทำให้ทราบวา่ ครูเอาเวลาส่วนใหญไ่ ปทำงานอยา่ งอ่ืนทัง้ ทเ่ี ปน็ งานสว่ นตัวและงาน ราชการและนอกจากนี้หลกั สูตรการศกึ ษาของไทยในบางส่วนนน้ั ยงั มคี วามล้าหลังและไม่มีการอัพเดต ครูไม่ ศกึ ษาและพฒั นาให้ก้าวทนั ต่อโลกในยุคโลกาภวิ ัฒน์ ครเู อาเวลาไปทำผลงานทางวิชาการ เพอ่ื เสนอขอตำแหนง่ ทางวชิ าการ เช่นครูคศ.3 หรือ 4 และ 5 ทสี่ งู ขน้ึ ไปอกี แตเ่ ราลองมาคิดและมองดูอีกมมุ เปน็ เสมอื นภาพทยี่ อ้ น แย้ง เราคดิ ว่าถ้าโรงเรยี นมีครูท่เี ช่ียวชาญมากข้ึนนั้น ความสามารถในการสอนหรือสอนเก่งกจ็ ะทำใหเ้ ด็กเก่ง ตามไปดว้ ย แต่มองอีกมมุ ในบางโรงเรียนท่มี าครูคศ.3เยอะ แตท่ ำไมเดก็ ยังคุณภาพแยล่ งสวนทางกนั เด็กก็ยัง อา่ นไมอ่ อก เขยี นไม่ได้ คิดเลขไมเ่ ปน็ สดุ ท้ายแลว้ ผลของท่ีท่เี ราไดเ้ หน็ นน้ั กต็ กลงสู่นักเรียนท้ังสน้ิ การเป็นคศ.3 หรือ 4 และ 5 น้ันก็ไม่สาารถเป็นตวั กำหนดได้ว่าคุณจะเปน็ ครูท่ีมีคุณภาพและพัฒนาเดก็ ได้ และใครเป็นผู้สร้าง กฎเกณข์ ้อบงั คับนขี้ นึ้ มา ถา้ เรายอมรบั ได้ว่าการทำผลงานวิชาการของครูน้ันสง่ ผลเสยี ไปสตู่ วั นักเรยี นกค็ วรทีจ่ ะ ยกเลิกหรอื ไม่ หรือวธิ ใี ดท่จี ะคิดหาวิธปี ระเมินโดยไม่ตอ้ งให้ครทู ง้ิ ห้องเรียนไปทำงานราชการหรืองานส่วนตัว แตก่ ลับจะต้องอยูห่ อ้ งเรียนมากข้นึ ทมุ่ เทการสอนเด็กมากยิ่งขนึ้ อย่างต่อมาคือครเู อาเวลาไปทำงานท่เี กีย่ วกับการประกันคุณภาพการศึกษา ครูต้องใชเ้ วลาในการ รวบรวม เอกสาร หลกั ฐานต่าง ๆ (ทั้งจริงและสร้างข้นึ ) เพ่ือจัดทำเป็นรูปเล่ม เป็นแฟ้มตามมาตรฐานและตวั บง่ ชต้ี ่าง ๆ มากมาย ถา้ เปน็ โรงเรียนเล็ก ๆ ทีม่ จี ำนวนครูไม่กคี่ น ครูแต่ละคนกต็ ้องเอาเวลาไปทำตวั บ่งชแ้ี ล้วจะ เอาเวลาทไี่ หนไปสอนนักเรยี นหรอื วันไหนยิ่งเขา้ ใกลว้ ันประเมนิ บางโรงเรียนถึงกับต้องหยุดโรงเรยี นหยุดการ เรียนการสอนเพือ่ เตรียมการต่าง ๆ มากมายตอ้ นรบั กรรมการท่จี ะมาประเมิน ส่ิงท่กี รรมการสถานศึกษาเหน็ แต่ ละคร้งั คือผักช้โี รยหน้าการสร้างสรรคป์ ัน้ แตง่ ขึ้นมาทั้งนนั้ นอกจากครตู ้องใชเ้ วลาในการจัดทำเอกสาร รายงาน ตา่ ง ๆ สำหรบั รอรับการประเมินแล้ว ครตู อ้ งเขา้ ประชุมอบรมสมั มนาทง้ั โรงเรยี นภายในโรงเรียนภายนอกเพอ่ื สรา้ งหลกั ฐานตามตวั บ่งชี้ในมาตราฐานของการประกันคุณภาพการศึกษา จากที่กลา่ วมาเราจะเห็นได้ว่าครูจะ เอาเวลาท่ไี หนมาอยู่ในห้องเรียนกับเด็กให้ได้นาน ๆ เพราะไดเ้ อาเวลาไปทำอย่างอ่นื หมดแลว้ จะโทษใคร กฎ ระเบียบ คนออกกฎ ตัวสถานศกึ ษา หรือเขตพื้นที่การศึกษาทีม่ อบภาระงานมาใหค้ รูมากมายขนาดน้ี จนบางที ก็สงสัยว่ามันถกู แล้วหรอื มันดีแล้วหรือกับส่งิ ที่ต้องทำ ซงึ่ ตัวผูเ้ ขยี นกไ็ ดเ้ รยี นวิชาประกนั คุณภาพการศกึ ษา ก็ได้ 48
คดิ วา่ ถ้าครหู รือสถานศึกษาต่าง ๆ เอาเวลาท่ที ุ่มเท ผักชีโรยหน้า ไปทมุ่ เทในการสอนโดยไม่หวังผลของโรงเรียน แตเ่ ด็กคือคนท่สี ำคญั ที่สดุ ทีค่ วรพฒั นา ควรให้เวลา ใหค้ วามรู้ คุณภาพเด็กไทยจะดีมากขนึ้ กวา่ นี้หรือไม่ นอกจากนีต้ ัวหลักสตู รยงั ไมม่ ุ่งเน้นการพฒั นาในตวั ผู้เรียนทำใหใ้ นบางครั้งครไู มท่ ราบวา่ แท้จรงิ แลว้ นนั้ เด็กตอ้ งการอะไร และในการเรียนในสมัยน้หี ลกั สตู รการศึกษาไทยนัน้ ยังใช้เกณฑค์ ะแนนตา่ ง ๆ ของนักเรียนใน การสอบแตล่ ะครง้ั มาเป็นตัววัดผลของโรงเรียนวา่ โรงเรยี นในมีเด็ก เกง่ กลาง อ่อน มากกวา่ ทำให้ไม่ทราบได้ แทจ้ ริงวา่ เดก็ แตล่ ะคนต้องการอะไรเพราะนกั เรยี นทกุ คนไมใ่ ช่วา่ จะถนดั เหมือนกนั บางคนชอบงานชา่ ง บาง คนชอบวาดรูป บางคนชอบวิทยาศาสตร์ แต่หลักสตู รการศึกษาไทยนน้ั ใชม้ าตรฐานเดียวมาวัดนกั เรียนท้งั ประเทศ และในบางคร้ังกย็ ังมีบรรทัดฐานทางสงั คมมาวดั ตัวเดก็ อีกที ทีใ่ หเ้ ดก็ เรียนสาย วิทยค์ ณติ คือเกง่ แต่สาย ภาษาคอื อ่อน บางท่ีบอกให้เรยี นสายวิทยค์ ณติ เพ่ือจะได้เลือกคณะได้มากมายหลากหลายทั้งทใี่ นบางครั้งตัวเด็ก เองก็อยากทจี่ ะเรียนในสายภาษาและประเทศไทยยงั ให้คุณค่ากับอาชพี หมอมากกวา่ อาชีพอื่น ๆ หรอื แม้กระทั่ง ศิลปะคนสว่ นใหญ่กไ็ มอ่ ยากใหล้ กู เรียนเพราะคิดว่าจะเป็นศลิ ปนิ ไสแ้ ห้งจบไปแล้วจะทำงานอะไร ทำให้ครหู รือ ผู้ปกครองเห็นวา่ เด็กทส่ี อบติดคณะสายสขุ ภาพน้นั ถอื เปน็ สำคัญมากกว่าเดก็ ท่ไี ด้คณะอื่นอกี ด้วยทำให้ไม่มกี าร เปดิ กว้างและ รับฟงั ในหลักสูตรการศึกษาที่นา่ สนใจอนื่ ๆ อีกด้วย ทำให้ในบางคร้ังเด็กก็ไม่สามารถเชือ่ ม่นั ใน ความคิดตนเองแตเ่ ลอื กแตจ่ ะทำตามที่ครูหรือผู้ปกครองต้องการแม้จะเปน็ สง่ิ ท่ีไม่ถนัดและอาจจะถึงขัน้ ท้อและ ไม่อยากที่จะเรยี นต่อก็มี จากทก่ี ลา่ วมากอ็ ยากจะใหร้ าบว่า การศึกษาไทยหรือใครกันแนท่ ่ที ำให้คณุ ภาพของเด็กไทยแย่ลง สถานศกึ ษา ครู ผูป้ กครอง หรือตัวนกั เรยี นเองหรือประเทศไทยให้ความสำคัญกบั คำวา่ การพัฒนาการศึกษา มากกวา่ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน อา้ งอิง บญุ มี พันธ์ไุ ทย.2552.ใครทำใหค้ ุณภาพเด็กไทยแย่ลง.[ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทีม่ า https://nawaporn.files.wordpress.com.( 09 เมษายน 2564 ) 49
ปญั หาของหลักสูตรและการจดั หอ้ งเรยี นศลิ ปะในปัจจุบัน รตั นมณี คงคูณ “การสอนของครผู สู้ อนศลิ ปะส่วนใหญ่ใช้วธิ สี อนที่เคยปฏบิ ตั ิมา หรือสอนตามประสบการณข์ อง ครผู สู้ อนโดยมักจะส่งั ใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ติ ามยดึ ครเู ปน็ ศูนย์กลาง นักเรียนจะไม่มีโอกาสได้แสดงออกท้งั ความคิด และการเร่ิมสรา้ งสรรค์” ในปจั จุบันปฏิเสธไม่ได้เลยวา่ ครผู สู้ อนส่วนใหญ่ยงั ไม่เปลยี่ นพฤติกรรมการสอนท่ียงั เนน้ ให้นกั เรียน ปฏบิ ัติตามคำสั่งไมส่ ่งเสรมิ ใหเ้ ด็กสร้างงาน ศลิ ปะตามความร้สู กึ นึกคดิ ของตนเองงานศลิ ปะที่แสดงออกจงึ มี ลักษณะคล้ายคลึงกนั เปน็ ส่วนใหญ่ เนือ่ งจากครผู สู้ อนไม่มีวิธีการโนม้ น้าวใหน้ ักเรียนเกิดความคิด เกดิ จนิ ตนาการซง่ึ ในการจัดการเรียนการสอนศิลปะนนั้ วริ ณุ ตั้งเจริญ (2542: 51) ให้ความเหน็ ว่า การจัด ประสบการณ์ทางศิลปะใน ระดับประถมศึกษาน้นั นอกจากจะสร้างสมรรถภาพทางความคิดและ ทักษะในการ สรา้ งสรรค์ศลิ ปะตามความสามารถเฉพาะตนแล้วยงั จำเปน็ ต้องสรา้ งเสริมทัศนคติอนั ถูกต้องแก่ผเู้ รยี นด้วย ศิลปวฒั นธรรม ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมส่ิงเหล่านี้ จะเสรมิ สรา้ งบคุ ลิกภาพอันดีงาม เกิดผลทางจริยธรรมใน สังคมและเป็นพฤติกรรมที ตอบสนองความ เจรญิ เตบิ โตทางร่างกายและสมองอีกดว้ ย มงุ่ เน้นผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลางให้ผู้เรยี นไดป้ ฏิบัตจิ ริงจากสื่อและวัสดกุ ารเรยี นรู้จากสภาพที่เป็นจรงิ มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นเตม็ ตาม ศักยภาพใหผ้ เู้ รียนเรียนอย่างมีความสขุ และผู้เรยี นเกง่ ดีมีความสุข ความสำคญั ของหลกั สตู ร หลักสูตรเปรียบเสมอื นตัวแม่บทหรอื หวั ใจของการศกึ ษาที่ถอื เปน็ แก่นสำคัญในการวางแนวทางการจดั การศกึ ษา เป็นตวั กำหนดทิศทางของการศกึ ษาในการท่จี ะใหค้ วามรู้ การเสริมสรา้ งเจตคติ เพ่ือผู้เรียนเกิดการ พฒั นารอบด้าน คุณภาพของประชาชนจะดีหรือไม่ขึน้ อยู่กับหลักสตู รน้ัน ๆ และหลกั สตู รเป็นโครงการและ แนวทางในการใหก้ ารศึกษาเพราะหลกั สูตรจะบอกให้ทราบวา่ การจกั การศกึ ษานัน้ มีวตั ถุประสงค์อย่างไร จะ จดั การเรียนการสอนอย่างไร หลกั สตู รจะบอกใหค้ รรู ู้ว่าควรพฒั นาผู้เรยี นดา้ นใดจะสอนด้วยเนอ้ื หาสาระอะไร และควรจดั กจิ กรรมหรือประสบการณ์ใดให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ทีว่ างไว้ หลกั สตู รศลิ ปศึกษา การจดั การเรยี นการสอนตามแนวคิดพหุศลิ ปศึกษาเชงิ แบบแผน (DBAE) แนวคดิ พหุศลิ ปศึกษาเชิง แบบแผน (DBAE) วา่ การศึกษาและศลิ ปศึกษากระแสสากลใน สหรัฐอเมรกิ าและยโุ รป ชว่ งกลางคริสต์ศตวรรษ ท่ี 20 เปน็ กระแสของการศกึ ษาแบบพิพฒั นาการนยิ ม (Progressivism) ทีส่ อดผสานกับกระบวนการเสรีภาพ ลัทธสิ มัยใหมใ่ นสังคมมีการเรียนการสอนแบบยึดเด็กเปน็ ศูนยก์ ลาง การสอนศลิ ปะในโรงเรยี น ควรเปน็ รปู แบบ บรู ณาการเน้ือหา ความรู้ ท้งั 4 แกน ได้แก่ ศลิ ปะปฏบิ ัติ (Art Production) สนุ ทรยี ศาสตร์ (Aesthetics) ศลิ ปะวจิ ารณ์ (Art Criticism) ประวัติศาสตร์ศลิ ปะ (Art History) หรอื เรยี กวา่ การเรียนการสอน แบบ DBAE 50
(Discipline-Based Art Education) เป็นศาสตรท์ ีเ่ กื้อหนุนกันและกัน Jones and Runyan (1986 : 42-43) กล่าวถงึ การพฒั นาหลกั สูตรศิลปะ สำหรับระดับอนบุ าลถึงมธั ยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนรัฐบาล ในเมอื ง เวอรจ์ ิเนียบีช โดยใช้ แนวทางพหศุ ิลปศึกษา (DBAE) มีเป้าหมาย 5 ประการ ที่สะท้อนให้เห็นถึงการบูรณาการ ทัง้ 4 แกน คือ 1. การรับรู้และความเฉียบไว (แกนสนุ ทรยี ศาสตร์) 2. การศกึ ษาศลิ ปนิ และผลงานศลิ ปะ (แกนประวัติศาสตรศ์ ิลป์) 3. การทำงานศิลปะ (แกนศิลปะปฏิบตั ิ) 4. ศลิ ปะวิจารณ์ (แกนศิลปะวิจารณ์) 5. ส่วนประกอบตา่ ง ๆ และองคป์ ระกอบของการออกแบบ ข้าพเจ้าได้ศึกษาเอกสารงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ งในกลุ่ม สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ สาระทัศนศิลป์ ซ่งึ เดมิ นน้ั จะเรียกวา่ วิชา ศิลปศกึ ษา และการจดั การเรียนการสอนสาระทศั นศิลป์สามารถสรปุ ได้ว่า กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ สาระทัศนศิลป์ เป็นสาระทมี่ ีบทบาทสำคญั ในการพัฒนารา่ งกายสตปิ ัญญา อารมณ์ และสังคมแก่เด็ก แต่สภาพการจดั การเรียนการสอนยงั คงมปี ัญหาอย่มู ากส่วนใหญ่เน่ืองจาก ครูผสู้ อนขาดความรู้ความสามารถ เฉพาะทาง ไมม่ ีทักษะในการปฏบิ ัติ ไม่นาํ เทคนิคการสอนที แปลกใหม่และเหมาะสมสัมพันธก์ ับบทเรียนมาใช้ ไมส่ ามารถสร้างส่อื การสอนท่ีมคี ุณภาพได้ การวดั และประเมินผลไม่ตรงกบั จดุ ประสงคข์ องหลักสตู รเป็นสาเหตุ ใหก้ ารจัดเรียนการสอนศลิ ปะในช้นั เรยี น และปัญหาสว่ นใหญท่ ีพ่ บในปจั จบุ นั มีดงั นี้ - ด้านหลกั สตู ร โรงเรียนขนาดเล็กมปี ัญหาระดับมากที่สุด ไดแ้ ก่ ปญั หาของครูในการปรับหลักสตู รไป ใช้ใหเ้ หมาะสมกับสภาพปจั จุบันไดน้ ้อย ปญั หาครูนาํ จุดประสงค์ท่ีกำหนดในหลักสูตรสาระศลิ ปะไปพัฒนา บคุ ลกิ ภาพ ปัญหาครไู มค่ ่อยเข้าใจการจัดกิจจกรรมกระตนุ้ เร้าใหอ้ ยากเรยี น ปัญหาโรงเรยี นมเี อกสารหลักสตู ร ไมเ่ พยี งพอ และปญั หา ครูไมเ่ ขา้ ใจความมุ่งหมายของหลักสูตร ซ่งึ ปัญหาทีก่ ลา่ วมาอยูใ่ นระดับมากทสี่ ดุ ส่วน โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีปัญหาอยู่ในระดับมาก - ด้านเนอ้ื หา โรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีปัญหาอยใู่ นระดับมาก และพบวา่ ครูไม่ เขา้ ใจเน้อื หาการป้นั และการแกะสลักในโรงเรยี นขนาดเล็ก - ด้านการสอนตามแผนการสอนโรงเรียนขนาดเล็กมีปัญหามากทีส่ ุดได้แก่ ปญั หาการกำหนดขัน้ ตอน ในการปฏบิ ัตเิ พื่อพัฒนาทักษะการทำงานน้อยครูวางแผนการสอนไมต่ รงกับจดุ ประสงค์ของหลักสตู รกิจกรรม การเรยี นการสอนไม่สอดคล้องกับเนื้อหาและเวลาท่ีกำหนดในโครงสรา้ งของหลกั สูตรกิจกรรมการเรียนการ สอนไมส่ ่งเสริมใหผ้ เู้ รียนเรียนรกู้ ระบวนการแกป้ ญั หาการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนไม่ครบเนื้อหาสาระตาม หลกั สูตรกำหนดและปญั หาโรงเรียนมีแหล่งคน้ ควา้ ความรดู้ ้านศลิ ปะไม่เพยี งพอ - ดา้ นสื่อการสอนโรงเรยี นขนาดเล็กมีปญั หามากทสี ุด ไดแ้ ก่ ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการ เตรยี มสอื่ นอ้ ยครใู ช้สอื่ ไม่สอดคลอ้ งกับเน้ือหาและกจิ กรรมการสอนครูไมม่ ีเวลาในการปรับปรุงส่อื ใหใ้ ชไ้ ด้อย่าง 51
มปี ระสิทธิภาพ ครูมเี วลาในการผลิตส่อื การเรยี นการ สอนน้อย และปัญหาสื่อการเรียนการสอนไม่ตรงกบั เนอ้ื หา - ดา้ นการวัดผลและประเมนิ ผลโรงเรยี นขนาดเล็กมีปญั หามากทีส่ ุด ไดแ้ ก่ ปัญหาครูไมน่ ําผลการ ประเมนิ มาปรับปรงุ การเรียนการ สอน ครไู มว่ ัดและประเมินผลกอ่ นเรียนทุกครงั้ ผูบ้ รหิ ารให้ความสำคญั เรื่อง การวัดผลและประเมนิ ผลสาระทศั นศลิ ป์น้อยมีการวดั และประเมนิ ผลทง้ั ภาคความรู้ภาคปฏิบัตแิ ละเจตคตสิ าระ ทศั นศลิ ป์น้อย และปัญหาการสงั เกตตดิ ตามการพฒั นาการทางศิลปะของผูเ้ รยี นน้อย ส่วนโรงเรียนขนาดกลาง ปญั หามากทีส่ ุด คือการสงั เกตตดิ ตามการพฒั นาการทางศิลปะของผเู้ รียนนอ้ ย เช่น เดยี วกันกบั โรงเรียนขนาด เล็ก วิชาศิลปะเปน็ วิชาที่ปลูกฝังให้ผเู้ รยี น มีคุณลกั ษณะทีด่ ีงามและมีจุดประสงค์เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การ พัฒนาคา่ นยิ ม เจตคติ พฤติกรรมและบุคลิกภาพเน้นเป็นคนช่างคิดช่างทำปรับตัวเข้ากบั การ กิจกรรมศิลปะ นําไปสกู่ ระบวนการเรียนรใู้ ห้เกดิ แก่เดก็ ในด้านตา่ งๆ เชน่ การพฒั นาความคิดสร้างสรรค์การรคู้ ณุ คา่ ทางศิลปะ รักความสะอาด รักความสวยงามและเป็นผู้มรี สนยิ มท่ดี ีศิลปะ ช่วยให้เกดิ การพฒั นาพฤตกิ รรมในการทำงาน สร้างสรรค์ เกดิ ความชาํ นาญในการทำงานมคี วามคล่องตัวในการคิดและแสดงออก การจัดกจิ กรรมการเรยี น การสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะโดยเฉพาะสาระทัศนศิลป์ในโรงเรียน จะสร้างความเช่ือม่ันในตนเอง จึงเป็น ลักษณะบูรณาการเขา้ กบั สาระอน่ื ๆ มุ่งสง่ เสริมการแสดงออกทางศลิ ปะอย่างเสรีเตม็ ความสามารถ มีการ ประยุกต์วัสดุในท้องถน่ิ และธรรมชาติมาใช้กบั งานศลิ ปะอย่างเหมาะสม ครูต้องลดบทบาทของการเปน็ ผูบ้ อก หรอื ออกคำสั่งมาเป็นผู้คอยกระตุ้นย่ัวยุและหาทางส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ ทุกคนไดแ้ สดงออกตามระดบั อายุและขดี ความสามารถ การสอนทัศน์ศิลป์ จงึ ไมจ่ าํ กัดอย่เู ฉพาะการวาดเขียนและการป้ันสลักเทา่ น้ันหากแต่ถือวา่ ทกุ ส่งิ รอบตวั เด็กเปน็ ศิลปะการประเมนิ ผลงานศลิ ปะของนักเรยี นน้ันจะพจิ ารณาจากกระบวนการทำงานของแต่ละ คนวา่ สอดคล้องกบั การพฒั นาทางศลิ ปะตามอายุเพยี งใด ขณะเดียวกันกใ็ ห้นักเรยี นมีโอกาส ประเมนิ ผลงาน ของตนเองดว้ ย ครจู ะไม่นําผลงานของเดก็ แตล่ ะคนไป เปรยี บเทียบกนั เพื่อตัดสินหรอื ใหค้ ะแนนตามความ เหมาะสม ดงั น้นั ศลิ ปะจงึ ไม่ใช่เพียงมีเป้าหมายอย่ทู ่ีตัวผลงานอย่างเดียว แตเ่ ป้าหมายหลกั อยู่ที่กระบวนการ แสดงออกมากกว่า ดงั นั้นการจดั การสอนศลิ ปะเด็กจึงเปน็ เพยี งการจดั ใหเ้ ดก็ ได้ แสดงออกดว้ ยวสั ดแุ ละวธิ กี าร ทหี่ ลากหลายโดยปล่อยให้พวกเขาได้ แสดงออกอยา่ งเสรีมิใชเ่ พยี งจัดหนุ่ ใหเ้ ขาเขยี นหรอื อธิบายหลกั การและ ทฤษฎที างศิลปะเพื่อให้เขาปฏิบัตติ ามอยา่ งการเรียนการสอนศิลปะของผู้ใหญ่เพราะโลกในการรับรู้ของพวกเขา ในช่วงวัยก่อนเหตผุ ลคือ จนิ ตนาการเท่าน้ัน 52
อา้ งอิง บรรจง บุญการี. สภาพและปัญหาการสอนศิลปศึกษาของครูประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัด สำนักงานการ ประถมศึกษาจังหวัดลพบุร.ี วทิ ยานิพนธ์ ค.ม. สาขาการบรหิ ารการศึกษา. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย กฤตศักดา เรือนนาค. ความคิดเหน็ ของครศู ลิ ปะเกี่ยวกับการสอนศิลปะในโรงเรียนประถมศึกษา ตามแนวชายแดนไทย – กัมพูชา. วิทยานพิ นธ์ ค.ม.สาขาการบริหารการศึกษา. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั 53
ศิลปะกับวิชาทถ่ี ูกมองข้าม ศริ ิยากรณ์ ทาทอง คา่ นิยมการศกึ ษาไทยส่วนใหญจ่ ะเหน็ ไดว้ า่ ผูค้ นจะให้ความสำคัญกับรายวชิ าท่เี รยี นจบไปแลว้ สามารถ ไปตอ่ ในคณะทเี่ ป็นที่ต้องการอยา่ งมากของเศรษฐกิจและสังคมได้เชน่ แพทย์ วศิ วะ บัญชี นติ ิ ฯลฯ ซ่งึ ถา้ พูดถึง รายวชิ าที่ทกุ คนคิดว่าไม่ค่อยมีความสำคญั หรือไมม่ ีบทบาทอะไรมากนกั ในระบบการศึกษาน้ันอาจจะมหี ลาย วชิ าทท่ี ุกคนต่างนึกถึง ซึง่ กลา่ วไดว้ า่ รายวชิ าศลิ ปะก็เป็นหนึ่งในรายวิชาทีถ่ ูกลดความสำคัญไปเชน่ กนั โดยส่งผล กระทบหลายด้านท้ังตัวผู้เรยี นและครผู ้สู อน ปจั จบุ นั สถานศึกษาได้มีการพัฒนาหลกั สตู รและสายการเรยี นให้ผเู้ รียนลงทะเบยี นในสายท่ีตนเอง สนใจในชัน้ มัธยมตอนปลาย จึงมีความจำเป็นในการเตรยี มความพร้อมของผู้เรยี นก่อนแต่ดว้ ยสงั คมไทยและ ระบบการศึกษา เราย่อมให้ความสำคัญกบั วชิ าการอย่างอ่ืนมาก่อนศิลปะอยู่แล้ว เนอ่ื งจากจำเปน็ ต้องใชใ้ นการ สอบเขา้ เพ่ือศึกษาต่อ จนกระทง่ั วิชาย่อย ๆ อย่างศลิ ปะ และวิชางานประดิษฐ์ การงานอาชพี ฯลฯ ถูกให้ ความสำคัญและมีการจดั ทำหลกั สตู รเพียง 1 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์เท่านน้ั รวมไปถึงการจดั สรรคง์ บประมาณ สนบั สนุนของสถานศึกษาในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทคี่ ่อนข้างน้อย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ของครทู ่ีไมน่ ่าสนใจ ซึ่งถอื ไดว้ า่ เปน็ เรือ่ งสำคัญทก่ี ่อใหเ้ กดิ ปัญหาท่สี ง่ ผลกระทบกับผู้เรียนโดยตรงอาจทำให้ ผูเ้ รยี นเกดิ ทศั นคติท่ีไมด่ ีกบั ศิลปะ ไมเ่ ข้าใจในความสำคญั ของศลิ ปะ ขาดความกระตอื รือรน้ ในการเรียน คดิ ว่า วชิ าศลิ ปะเรียนยาก สำหรบั คนทีว่ าดรปู ไม่สวยมกั จะโดนตำหนิเกยี่ วกบั การวาดภาพจากครูอยู่เสมอ ก็มักจะไม่ ชอบการเรยี นวชิ าศลิ ปะ และบางคนท่ีไมช่ อบเรียนศลิ ปะ เน่อื งจากไม่ร้วู า่ เรยี นไปแลว้ ได้อะไร มีประโยชน์ อย่างไรกับชวี ติ และไม่รวู้ า่ จะเอาไปทำงานอะไรไดบ้ า้ ง เม่ือศลิ ปะเป็นวชิ าที่ถูกมองข้ามและไม่คอ่ ยมี ความสำคัญอาจสง่ ผลทำใหผ้ ูเ้ รียนท่มี คี วามชอบความถนัดในศิลปะถูกมองวา่ ไมม่ ีความจำเปน็ ถกู ลดคา่ สง่ ผล เสียกับผูเ้ รียนในการคน้ พบความสามารถของตนเองและกลัวทจ่ี ะแสดงออกถงึ ตัวตนทแ่ี ท้จรงิ ทัง้ ทจ่ี ริงแล้ววชิ า ศิลปะนน้ั สรา้ งประโยชนม์ ากมายกับการศกึ ษาโดยจะเกิดข้ึนภายในใหก้ ับตวั ผู้เรียน เช่น พฒั นาทางด้าน ความคดิ อารมณ์ สติปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการเข้ากับวชิ าอ่นื ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ซ่ึงปัญหา ข้างตน้ สามารถแก้ไขไดโ้ ดยครูและบุคลากรทางการศึกษารว่ มมอื กนั พฒั นาตนเองและผู้เรียน ทำความเขา้ ใจ และยอมรบั ในตวั ผเู้ รียนและปลกู ฝงั คา่ นิยมที่ดกี ับการเรียนศลิ ปะและวชิ าอนื่ ๆให้กว้างขวางยิ่งข้ึน ดังนน้ั การทำใหผ้ ้เู รยี นเห็นความสำคัญในทุก ๆ รายวิชาจึงเป็นส่งิ ที่มีความจำเปน็ อยา่ งมากของ ผบู้ รหิ าร บคุ ลากรทางการศึกษา และผ้ปู กครอง เนือ่ งจากเดก็ ทกุ คนมีศกั ยภาพทีแ่ ตกตา่ งกันเพยี งแตค่ ้นใหพ้ บ และพฒั นาต่อในแบบที่เขาเป็น เพอื่ เปน็ การทำใหผ้ เู้ รียนเข้าใจและค้นพบความสามารถของตนเองและกล้าทจี่ ะ แสดงออก ถงึ จะเป็นส่ิงท่สี ำคัญที่สุดกบั ตวั ผเู้ รยี น ซ่ึงผ้เู รียนจะได้อาศัยประสบการณใ์ นการเรียนรู้เหลา่ นเ้ี พ่อื ใช้ ในการตัดสนิ ใจทีเ่ หมาะสมในอนาคต 54
อา้ งอิง ประโยชน์ของการเรียนศลิ ปะ เสน้ ทางสู่ศลิ ปนิ ดังในอนาคต!. (2563). ค้นเม่ือ 8 เมษายน 2564, จาก https://www.tueetor.com/blog/th/self-development/benefits-of-studying-art-the-path- to-famous-artists-in-the-future/ Marilyn Montgomery. ทำไมเราต้องเรียนศิลปะ. (2562).ค้นเม่ือ 8 เมษายน 2564, จากshorturl.asia/S6pa7 55
หลกั สตู รและการจดั การเรียนการสอนศลิ ปะกับความตอ้ งการของผเู้ รียน นรศิ รา บุญหวา ศลิ ปะเป็นกระบวนการการจดั การศึกษาให้แกน่ ักเรยี นเพ่ือชว่ ยส่งเสริมให้ผูเ้ รียนได้มีโอกาสประมวลเอา ความคดิ สร้างสรรค์ จากจินตนาการและประสบการณต์ ่าง ๆ ท่ไี ด้รับแสดงออกในรูปแบบของผลงานศลิ ปะ (วุฒิ วัฒนสนิ . 2541) ในปัจจุบนั สภาพการสอนศลิ ปะ พบว่าโรงเรียนสว่ นใหญ่มกั จะมีปญั หาหลายอย่างในการ จดั หลักสตู รและกจิ กรรมการเรยี นการสอน หลักสตู รและกิจกรรมการจดั เรียนการสอนโดยทวั่ ไปท่ีครูจดั ให้ยงั ไม่ เหมาะสมหรือยงั ไม่สอดคล้องกบั ความต้องการของผ้เู รยี นอย่างแทจ้ ริง สง่ิ ท่ีผูเ้ รยี นได้รับกลับไม่ใชส่ ิ่งทีผ่ ู้เรียน ตอ้ งการ ทำให้ผ้เู รยี นเกดิ ความรู้สกึ เบ่ือหนา่ ยและไม่กระตือรือรน้ ในการเรยี นรู้ ในการจัดทำหลักสูตรและออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาศิลปะ ผจู้ ัดทำหรือพัฒนาหลักสูตร และครผู ู้สอนวิชาศลิ ปะ ดา้ นทศั นศิลป์ สว่ นใหญย่ ังไม่คำนึงถึงความต้องการทแ่ี ท้จริงของผ้เู รยี น และยงั ไมม่ ี ความรหู้ รือความเข้าใจอย่างชัดเจนเกยี่ วกับเรื่องของความคิดสร้างสรรค์ เร่ืองของแนวทางการส่งเสรมิ และการ จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ศู ลิ ปะ ด้านทศั นศิลป์ที่จะสามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์อย่างไดอ้ ย่างเพียงพอ ครผู ู้สอนบางคนเนน้ การสอนในเรอื่ งของเนื้อหาการบรรยายมากกวา่ การให้นักเรียนได้ลงมือทำ ลงมือปฏบิ ัติ และยังไม่สามารถทำใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรยี นรูท้ ่ีแทจ้ ริงหรือบรรลวุ ตั ถุประสงคต์ ามทีม่ าตรฐานการเรยี นรูน้ น้ั กำหนดไว้ได้ ผู้สอนส่วนใหญม่ ักจะให้หวั ข้อและใหผ้ เู้ รยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ซง่ึ ใช้วิธกี ารน้ที ุกครงั้ ที่สอน ไม่ได้ใช้ สือ่ ประกอบ ไม่ได้กระตุ้นการส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นเกิดการคดิ สร้างสรรค์หรือเกิดการจนิ ตนาการในการสรา้ งสรรค์ ผลงานศลิ ปะ อีกท้ังไม่ได้ชีใ้ ห้ผ้เู รียนไดเ้ หน็ ถึงจุดเดน่ และจุดด้อยในผลงานของตนเอง มักจะให้คะแนนจาก ผลงานนักเรียนเลย วธิ กี ารเหล่านี้อาจทำให้ความสามารถทางการคิดสร้างสรรคข์ องผ้เู รียนลดลงเรื่อย ๆ ผลงาน ศลิ ปะของผเู้ รยี นส่วนใหญม่ ักจะมรี ูปแบบ วิธีการและเน้อื หาที่คลา้ ยคลงึ กนั ผ้เู รยี นมักจะใช้เทคนคิ วธิ กี ารทำ อยา่ งเดียวหรอื ประเภทเดยี วในการสรา้ งสรรค์ ผลงาน มีการลอกเลียนแบบกันเกดิ ขนึ้ ผเู้ รยี นขาดความม่ันใจ ในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ไมก่ ล้าทจี่ ะแสดงออก ไมก่ ลา้ ท่ีจะวิพากษ์วิจารณผ์ ลงาน ไม่กล้าท่จี ะอธบิ ายผลงาน ตนเอง เกดิ ความคิดทวี่ า่ ฉนั วาดไม่ได้ วาดได้ไมส่ วย ฉันไม่มีพรสวรรค์ วาดแล้วจะไดค้ ะแนนน้อย และเป็นผลให้ ผเู้ รียนล้มเลิกละทงิ้ การเรยี นและรู้สึกกลัววชิ าทัศนศลิ ป์ได้ หลกั สูตรและการออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอนจงึ เป็นปัจจยั สำคัญในการเรียนรู้ของผเู้ รียน หาก ผู้สอนสามารถจัดหลกั สตู รได้ตรงตามความต้องการของผเู้ รียนและออกแบบกจิ กรรมการเรยี นทสี่ ามารถดึง ศักยภาพและความคดิ สร้างสรรค์ของผเู้ รยี นแต่ละคนออกมาได้อยา่ งแท้จริง จะทำใหก้ ารเรียนการสอนนั้นๆ บรรลุผลได้ตามวัตถปุ ระสงค์และผเู้ รียนเกดิ ความกระตือรือร้นในการเรยี นรไู้ ด้ และยงั ต้องมีการพัฒนาและ ปรับปรุงหลักสูตรและมีการอัพเดตอย่างสม่ำเสมอ และสามารถนำไปปรับใชไ้ ด้อย่างเป็นระบบ การนำหลักสตู ร ไปใชค้ วรจะมีการเรยี งลำดบั เป็นข้ันตอน เพ่อื ใหม้ กี ารจดั ลำดับความคดิ เปน็ ขน้ั ๆ ไป หลักสูตรถึงแมจ้ ะทำให้ดู 56
เปน็ อิสระในการจัดการเรยี นการสอนแตก่ ย็ ังมขี ้อจำกัดไปตามหลกั สตู รสถานศึกษาและการจดั การเรียนการ สอนในวิชาทศั นศิลป์ของครูท่ีจะตอ้ งดดั แปลงใหต้ รงกับความตอ้ งการและบรบิ ทของผเู้ รียน ทำใหก้ ารจัดการ เรียนการสอนท่ัวประเทศไมเ่ หมอื นกนั เพราะฉะน้นั หลักสูตรและออกแบบกิจกรรมการสอนจงึ มีความสำคญั อยา่ งมากต่อการศึกษา อา้ งอิง การจัดการเรียนการสอนเชิงสรา้ งสรรค์ สบื คน้ เมอื่ 8 เม.ย พ.ศ 2564 จากเวบ็ ไซต์ : https://sites.google.com/site/edtechsukm/kar-cadkar-reiyn-kar-sxn-cheing-srangsrrkh ความสัมพันธ์ของหลกั สตู รและการออกแบบการเรยี นการสอน สืบคน้ เม่ือ 8 เม.ย พ.ศ 2564 จากเว็บไซต์ : https://sites.google.com/site/bthreiyn123/khwam-samphanth-khxng-hlaksutr-laea-kar- xxkbaeb-kar-reiyn-kar-sxn 57
58
โครงการสมั มนาวชิ าการทางศิลปศกึ ษา โดยนักศึกษาชั้นปที ่ี 4 หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 1. ช่ือโครงการ โครงการสมั มนาวชิ าการทางศิลปศึกษาในหัวขอ้ KEY to success of special needs children in Art classroom : ไขกุญแจห้องเรียนรวมศิลปะ 2. หลกั การและเหตุผล พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ระบุวา่ การจดั การศกึ ษา ต้องจัดใหบ้ ุคคลมสี ิทธิและโอกาสเสมอ กนั ในการรับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี รัฐต้องจดั ให้อย่างทั่วถึงและมคี ุณภาพโดยไม่เกบ็ คา่ ใช้จา่ ย และการจดั การศึกษาสาหรับบคุ คลซึ่งมีความบกพรอ่ งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สงั คม การส่ือสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรอื ทุพพลภาพหรือบุคคลซึง่ ไม่สามารถพง่ึ ตนเองได้ หรือไม่มี ผ้ดู ูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดงั กล่าวมีสทิ ธแิ ละโอกาสได้รับการศึกษาข้นั พนื้ ฐานเป็นพิเศษ จากหลักการน้จี งึ สง่ ผลให้ทุกหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องในการฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการให้ความตระหนักตอ่ การพฒั นาคนพิการ เปิดโอกาสให้คนพกิ ารได้รับการศึกษาและมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคมมากย่ิงข้นึ ซึ่ง เปน็ สิง่ สาคญั ท่จี ะช่วยใหค้ นพิการพฒั นาความสามารถในการพ่ึงพาตนเองและดาเนินชวี ิตในสังคมได้อยา่ งมี ศกั ดิศ์ รี (กระทรวงศึกษาธกิ าร: 2542) และก่อให้เกดิ การศึกษาแบบเรยี นรวม ทีย่ ดึ ปรชั ญาของการอย่รู วมกัน (Inclusive) คอื การศกึ ษาสาหรับทกุ คน การรับเด็กเข้ามาเรียนรวมกันต้ังแตเ่ ร่มิ เขา้ รับการศึกษา และจัดให้มี บรกิ ารพเิ ศษตามความต้องการของแต่ละบุคคล (Wilson , Kliewer, East, 2007) หน่ึงในองค์ประกอบสาคัญ ของห้องเรียนรวมน้ันคือครูซ่ึงมีหน้าทใ่ี นการจัดการชน้ั เรยี น ไมว่ ่าจะเป็น ดา้ น กายภาพ การจดั การศึกษา และดา้ นสังคม ทจ่ี ะต้องมีองค์ความรใู้ นการจดั การเรียนการสอน และการใช้ จิตวทิ ยาการศึกษาสาหรบั ห้องเรียนรวมเพื่อให้การจัดการเรยี นการสอนเกิดประสทิ ธภิ าพ อีกท้ังมีผลจากการทน่ี กั ศึกษาไดไ้ ปสงั เกตหอ้ งเรยี นรวมในรายวิชาศลิ ปะในช้ันเรยี นระดับตา่ งๆพบว่า มี ปัญหาในการจัดการชนั้ เรยี นหลายด้านซ่งึ เปน็ องคป์ ระกอบทีส่ าคญั ในการจัดการเรยี นการสอนศิลปะใน หอ้ งเรียนรวมใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพ คอื สภาพสังคมภายในห้องเรยี น ได้แก่ ความเข้าใจในความแตกต่างของ ผู้เรยี น การดูแลเอาใจใส่เดก็ พิเศษ บรรยากาศภายในหอ้ งเรียน การสร้างกตกิ าการอยูร่ ว่ มกนั การยอมรับและ การมปี ฏสิ มั พันธภ์ ายในห้องเรียน รวมถึงสภาพการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ ความเข้าใจในเร่อื งของการ จัดการเรยี นการสอนรวมถงึ การจดั สอื่ การเรยี นรู้ทเี่ หมาะสมสอดคล้องสาหรบั เดก็ พิเศษ การวดั และ ประเมินผลของผเู้ รียน 59
ดงั น้นั นักศึกษาช้ันปีท่ี 4 สาขาศิลปศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ จึงจะจัดทา โครงการ สมั มนา ในหัวข้อเรื่อง หัวข้อ KEY to success of special needs children in Art classroom : ไขกญุ แจสู่ ห้องเรียนรวมศิลปะ เพื่อใหผ้ ู้สัมมนามกี ารแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ซ่ึงกันและกัน สามารถนาไปแกป้ ัญหาและ หาแนวทางปฏิบตั ิร่วมกันในการจัดการเรียนรูใ้ นหอ้ งเรยี นรวมและเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ เพ่ือเป็นกุญแจ ไปสู่ความสาเร็จต่อไป 3. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นกั ศกึ ษาช้นั ปที ่ี 4 ปีการศกึ ษา 2/2562 ในรายวิชา ED214761 สัมมนาทางศิลปศกึ ษา สาขาวชิ า ศลิ ปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ จานวน 24 คน 4. อาจารย์ท่ีปรกึ ษาโครงการ 1. อ.ดร. อริยพร คโุ รดะ 2. ผศ.ดร. ปริณ ทนันชยั บตุ ร 5. ระยะเวลาการจดั สัมมนา วนั ที่ 3 พฤษภาคม 2564 6. สถานทีใ่ นการจัดสัมมนา เป็นการจัดสมั มนาแบบออนไลน์ (Webinar) 7. วัตถุประสงค์ 7.1 เพอ่ื ให้ครู ผปู้ กครองและนักศึกษาตระหนกั ในการทาหนา้ ที่และเหน็ ความสาคัญของการจดั กจิ กรรม ศลิ ปะสาหรับเด็กพิเศษในชั้นเรียนรวม 7.2 เพือ่ ให้ครู ผู้ปกครองและนกั ศึกษาใช้ความรู้ ความเข้าใจ ผู้ร่วมสมั มนาไดแ้ ลกเปลีย่ นวธิ ีการและ เทคนิค การจัดการช้นั เรียนรวมในห้องเรยี น 7.3 เพอ่ื ให้ครู ผ้ปู กครองและนักศกึ ษามีแนวทางในการเลอื กใชก้ ิจกรรมศิลปะทเ่ี หมาะสมในการพัฒนา เด็กพิเศษในชน้ั เรยี นรวม 8. วทิ ยากร 8.1 พญ.วนาพร วฒั นกลู แพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั โรงพยาบาลขอนแกน่ จังหวัดขอนแก่น 8.2 นายคธาวธุ อกั ษร (ครูการศึกษาพเิ ศษ) ศูนย์การศึกษาพเิ ศษเขตการศึกษา 9 จังหวัดขอนแก่น 8.3 นางชลรี ัตน์ เหลา่ จมู (ผูป้ กครองเดก็ พเิ ศษ) 9. เปา้ หมาย 9.1 ด้านเน้ือหา 1. บทบาทหนา้ ทแ่ี ละความสาคัญของการจดั กิจกรรมศลิ ปะเพือ่ สง่ เสรมิ ทกั ษะการอยู่รว่ มกนั ในสงั คม ระหว่างเด็กปกตแิ ละเดก็ พิเศษ 60
- การจัดการชัน้ เรียนรวมรายวชิ าศลิ ปะโดยพจิ ารณาองค์ประกอบทาง ด้านการจดั เน้ือหาสาระการ เรยี นรแู้ ละกิจกรรม ใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ทของผู้เรยี น การนากิจกรรมวชิ าศลิ ปะไปปรับใช้ในการจดั การ เรียนรู้ให้กับเด็กพิเศษสามารถเรียนรวมกบั เด็กปกติไดด้ ยี ่ิงขนึ้ - เทคนิควธิ ีการของการจดั เรียนรศู้ ิลปะในชนั้ เรียนรวม - ปัญหาท่ีเกิดขน้ึ ในช้นั เรยี นรวม - ความคาดหวังของผปู้ กครองตอ่ การจดั การเรยี นการสอนศลิ ปะสาหรับเด็กพิเศษในชั้นเรยี นปกติ8.2 จานวนคนเขา้ รับฟังสัมมนา - นักศกึ ษาคณะศึกษาศาสตร์ จานวน 20 คน - บคุ คลท่วั ไป จานวน 10 คน - นักศกึ ษาท่ีรับผดิ ชอบโครงการ จานวน 24 คน รวมผ้เู ขา้ รว่ มสมั มนา จานวนทงั้ ส้ิน 54 คน 10. ระยะเวลาดาเนินงาน มีนาคม – พฤษภาคม 2564 11. แผนการดาเนนิ การ วนั ท่ี การปฏบิ ตั ิงาน สถานท่ี 10-18 มี.ค. 2564 ประชมุ เพื่อวางแผน เลือกหวั ข้อในการสมั มนาและร่างโครงการ คณะศกึ ษาศาสตร์ สัมมนา 20-30 ม.ี ค. 2564 นาเสนอโครงการและปรับปรุงแกไ้ ข คณะศึกษาศาสตร์ 1– 20 เม.ย. 2564 จดั ทาบทความ และรวบรวมจัดทาเล่มบทความทางวิชาการ คณะศกึ ษาศาสตร์ 16 – 25 เม.ย. 2564 จดั ทาหนงั สอื เชิญผ้เู ขา้ ร่วมสัมมนาเชงิ วชิ าการ คณะศึกษาศาสตร์ 25 – 30 เม.ย. 2564 จัดทาเอกสารประกอบการสมั มนาและดาเนินการประชาสมั พันธ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ สมั มนาเชงิ วิชาการ (รปู แบบออนไลน)์ 3 พ.ค. 2564 จดั กจิ กรรมสมั มนาวิชาการทางศิลปศึกษา (รปู แบบออนไลน์) คณะศึกษาศาสตร์ 3 พ.ค. 2564 สะท้อนผลการจัดสัมมนาวิชาการ คณะศกึ ษาศาสตร์ 4 – 9 พ.ค 2564 จดั ทารูปเลม่ สรปุ โครงการและนาเสนอผลการจัดทาโครงการ คณะศกึ ษาศาสตร์ สมั มนาวชิ าการทางศิลปศึกษา 12. งบประมาณ คา่ ตอบแทนวทิ ยากร จานวน 3 คน ช่วั โมงละ 600 บาท จานวน 3 ชั่วโมง 6,000 บาท งบประมาณค่าใชจ้ ่ายรวมเปน็ จานวนเงินทงั้ สิ้น 6,000 บาท 13. ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ - ครูผูส้ อน ผปู้ กครอง และนักศึกษามีความตระหนกั ในบทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง ความสาคญั ของการจดั กิจกรรมศลิ ปะสาหรบั เด็กพเิ ศษในชนั้ เรียนรวม 61
- ครูผู้สอน ผ้ปู กครอง และนกั ศกึ ษา เกิดความเขา้ ใจ และได้แลกเปลยี่ นวธิ ีการและเทคนิค การจดั การชั้น เรียนรวมในหอ้ งเรยี น - ครผู สู้ อน ผปู้ กครอง และนกั ศึกษาสามารถนาแนวทางจากการฟงั สมั มนาไปใช้ในการเลือกใช้กิจกรรม ศลิ ปะทเี หมาะสมในการพฒั นาเด็กพิเศษในชั้นเรยี นรวม 14. การตดิ ตามและประเมนิ ผล 1. แบบสะทอ้ นผลการเรยี นรู้ของตนเองของผู้เขา้ รว่ มสัมมนา 2. แบบสังเกตความสนใจของผู้เขา้ ฟังสัมมนา 3. แบบประเมินความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารว่ มสัมมนา มปี ระเดน็ ความพงึ พอใจต้องมปี ระเด็นย่อย 62
สมาชิกรบั ผิดชอบโครงการ 1. ประธานโครงการ หน้าที่ ประสานงาน จัดทาโครงการ และติดตามผลการทางานแต่ละฝา่ ย โดย นางสาววลั ลภา เทียนทอง 2. เลขานกุ าร หน้าท่ี ประสานงาน จดั ทาโครงการ ดาเนนิ งานเอกสาร หนงั สอื ราชการ รวมทง้ั การติดตอ่ วิทยากร โดย นางสาวมณนี ุช อุดมลาภ 3. เหรัญญิก หน้าที่ ดูแลค่าใช้จ่ายภายในโครงการ ติดตอ่ ประสานงานกบั วิทยากรและเลขานกุ ารเพอ่ื ทา เอกสารการเบิกค่าใช้จ่าย เอกสารสาคญั ทางการเงิน โดย นางสาวพิมลพรรณ แสนนาม 4. ฝ่ายเอกสาร หนา้ ทรี่ วบรวมบทความ จัดทาเอกสารสัมมนาในรปู แบบออนไลน์ (E-book) และจดั ทา เลม่ สรปุ โครงการ โดย นางสาวพนิดา ภทู่ อง นางสาวรัตนมณี คงคูณ นางสาวศริ ิยากรณ์ ทาทอง นางสาวอุมาภรณ์ วงษ์ศรีแก้ว นางสาวสุกลั ยา เกตุธานี 5. ฝา่ ยประเมนิ ผล หนา้ ท่ี จัดทาแบบฟอร์มการประเมินการจดั กจิ กรรมสมั มนา รวบรวมประเดน็ ปญั หา จากกรรมการเพอ่ื ดาเนินการประเมินผล วเิ คราะห์ผลการประเมนิ การจัดกจิ กรรม จัดทาสถิติ และสรปุ ผล การดาเนนิ งานโครงการ โดย นางสาวกนกพร ไชยสทิ ธางกูร นางสาวฐิติมา ดวงสุวรรณ์ นางสาวณฐั นนั ฑ์ สตุ ะโคตร นายกรวิชญ์ อนั ทรินทร์ 6. ฝ่ายลงทะเบียน หน้าท่ี จัดทาแบบฟอร์มลงทะเบียนเขา้ ร่วมสัมมนา โดย นางสาวอรญั ญา ผิวทอง นายภาสกร กลางเหลือง 7. ฝ่ายประชาสัมพนั ธแ์ ละฝ่ายเทคโนโลยี หนา้ ที่ จดั ทาโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ ส่ือนาเสนอประกอบ สัมมนา ดูแลเพจโครงการและจดั ทา link สาหรับการสัมมนา ประชาสัมพันธ์ขา่ วสาร โดย นางสาวนริศรา บญุ หวา นายพลพจน์ ฉ่วั ตระกูล นายภัทรพรรณ ทองแย้ม นายเสาวภาคย์ เพช็ รหงษ์ 63
นางสาวธรี จ์ ฑุ า คิดฉลาด นางสาวจรุ ีรัตน์ โนราช นางสาวปาลติ า วรรณศิริ 8. ฝ่ายพิธกี ร หน้าท่ี ดาเนนิ รายการ ต้ังประเดน็ คาถาม เตรียมเน้อื หา สรุปประเด็นสัมมนา จดบันทึก ประเดน็ การสัมมนา โดย นายอษั ฎาวธุ โคตรมา นางสาวชญามินทร์ เกตุเมฆ นายภูรนิ ท์ กัลยารัตน์ 64
กาหนดการ โครงการสมั มนาวชิ าการศลิ ปศกึ ษา KEY to success of special needs children in Art classroom : ไขกญุ แจห้องเรยี นรวมศิลปะ วันที่ 3 พฤษภาคม 2564 ในรปู แบบออนไลน์ (Zoom) 08.30 – 08.50 น. เริ่มเขา้ โปรแกรม Zoom ตาม link ที่ได้รับจากการประชาสมั พนั ธ์ทางเพจ Facebook และ E-mail ตามที่ได้ลงทะเบยี น 08.50 – 09.00 น. พธิ กี ารเปิด โดย ดร.อรยิ พร คโุ รดะ อาจารย์ทป่ี รึกษาโครงการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ กล่าวเปดิ โครงการสัมมนาทางวิชาการศลิ ปศกึ ษา ในหวั ขอ้ KEY to success of special needs children in Art classroom : ไข กญุ แจห้องเรียนรวมศลิ ปะ 09.00 – 09.10 น. พิธีกรกลา่ วแนะนาโครงการ วทิ ยากร และพูดคยุ เก่ยี วกบั หวั ข้อทจ่ี ะสมั มนา 09.10 – 11.30 น. การสัมมนาวิชาการ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้กนั ในหัวขอ้ หัวข้อ KEY to success of special needs children in Art classroom : ไขกุญแจห้องเรียนรวมศิลปะ โดยวิทยากร พญ. วนาพร วัฒนกูล, ครคู ธาวธุ อกั ษร, นางชลีรัตน์ เหลา่ จูม และ ผ้เู ขา้ รว่ มสมั มนาร่วมกนั เสวนาเพ่มิ เติม 11.30 – 12.00 น. สรุปกจิ กรรม หัวข้อ “KEY to success of special needs children in Art classroom : ไขกญุ แจห้องเรยี นรวมศลิ ปะ” โดยวทิ ยากรและผเู้ ข้ารว่ ม สัมมนา และพธิ กี รกลา่ วปิดงาน 65
คากลา่ วของประธานในพธิ ี ( อาจารย์ ดร.อรยิ พร คุโรดะ อาจารยท์ ีป่ รึกษาโครงการ และประธานในพิธี ) โครงการสมั มนาเชงิ วิชาการทางศิลปศึกษา ภายใตห้ ัวข้อ “ไขกญุ แจหอ้ งเรยี นรวมศลิ ปะ (Webinar) Key to success of special needs children in art classroom” โดยนกั ศกึ ษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรศลิ ปศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ วันจนั ทร์ ท่ี 3 พฤษภาคม 2564 ดิฉันรู้สึกเป็นเกียรติและยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้รับเชิญมาเป็นประธานเปิดงานโครงการสัมมนาเชิง วิชาการในรูปแบบออนไลน์ ภายใต้หัวข้อ “ไขกุญแจห้องเรียนรวมศิลปะ (Webinar) Key to success of special needs children in art classroom” ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 3 พฤษภาคมนี้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ นกั ศกึ ษาได้สามารถนาเสนอปัญหาหลักท่เี กย่ี วข้องกับการเรียนการสอนศิลปะในระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ซึ่ง ได้มาจากการประเมินสภาพปัญหาจากการศึกษาค้นคว้า การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง และจากการร่วมกัน อภิปรายในชั้นเรียน เพื่อนาข้อสรุปที่เป็นปัญหานาเสนอแก่สาธารณชนในวงกว้างแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้ง โดยตรง และโดยอ้อม ได้แก่ ครู ผู้ปกครอง นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป การจัดการสัมมนาในครั้งนี้ได้รับ เกียรติจากวิทยากรผูม้ ีความรู้ และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ทั้ง 3 ท่าน ในนามของอาจารย์ประจารายวิชา และประธานการเปิดการสัมมนาในครั้งนี้ ใคร่ขอขอบพระคุณวิทยากรทุก ท่าน นักศึกษาสาขาวิชาศิลปศึกษา ชั้นปีที่ 4 ที่ได้ร่วมกันจัดการให้เกิดการจัดสัมมนาวิชาการด้วยความทุ่มเท และต้ังใจ และคาดหวงั วา่ ผลของการสมั มนา “ไขกญุ แจหอ้ งเรียนรวมศิลปะ” ประจาปีการศกึ ษา 2563 น้ี จะ ได้สรา้ งความเปล่ียนแปลง เกิดตระหนักในการทาหน้าทแี่ ละเห็นความสาคัญของการจัดกิจกรรมศิลปะสาหรับ เด็กพิเศษในชั้นเรียนรวม อีกทั้งครู ผู้ปกครองและนักศึกษาใช้ความรู้ ความเข้าใจ จากการแลกเปลี่ยนวิธีการ และเทคนิค การจัดการชั้นเรียนรวมในห้องเรียน แนวทางในการเลือกใช้กิจกรรมศิลปะที่เหมาะสมในการ พัฒนาเด็กพเิ ศษในชั้นเรยี นรวมตอ่ ไป บัดนี้ได้เวลาอันเป็นมงคลฤกษ์แล้ว ดิฉันขอเปิดงานโครงการสัมมนาเชิงวิชาการ(อ อนไลน์) ภายใต้ หัวข้อ “ไขกุญแจห้องเรียนรวมศิลปะ (Webinar) Key to success of special needs children in art classroom” อย่างเปน็ ทางการ และขออวยพรใหก้ ารจัดงานในคร้ังนี้ สาเร็จลุลว่ ง บรรลุวัตถุประสงค์ อาจารย์ ดร.อรยิ พร คุโรดะ อาจารยท์ ป่ี รึกษาโครงการ และประธานในพธิ ี 66
คากลา่ วของประธานโครงการ ( นางสาววัลลภา เทยี นทอง ประธานกรรมการโครงการสัมมนาเชงิ วชิ าการ) โครงการสัมมนาเชงิ วิชาการทางศิลปศึกษา ภายใตห้ ัวข้อ “ไขกุญแจหอ้ งเรียนรวมศิลปะ (Webinar) Key to success of special needs children in art classroom” โดยนักศึกษาชน้ั ปที ี่ 4 หลักสูตรศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ วันจันทร์ ท่ี 3 พฤษภาคม 2564 กราบเรยี นท่านประธานในพิธีและผเู้ ขา้ รว่ มสมั มนา ดิฉัน นางสาววลั ลภา เทยี นทอง ประธานโครงการ สัมมนาเชิงวิชาการทางศลิ ปศึกษา ด้วยทางสาขาศิลปศึกษา ได้จดั กิจกรรมสมั มนาเชิงวชิ าการออนไลน์ ภายใต้ หวั ข้อ”ไขกุญแจห้องเรียนรวมศลิ ปะ (Webinar) Key to success of special needs children in art classroom” สาขาศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มีความยินดีเปน็ อยา่ งยิ่งทไี่ ด้รับเกยี รติจากท่านประธาน ท่าน วทิ ยากร และผูเ้ ขา้ ร่วมสมั มนาทกุ ท่าน ท่ีไดใ้ ห้เกียรติมาในงาน โดยการจดั กิจกรรมครั้งน้ี มวี ัตถุประสงค์ เพ่ือให้ ครู ผปู้ กครองและนักศึกษาตระหนกั ในการทาหนา้ ที่และเหน็ ความสาคัญของการจัดกิจกรรมศิลปะสาหรับเดก็ พิเศษในชัน้ เรยี นรวม เพื่อใหค้ รู ผปู้ กครองและนักศึกษาใชค้ วามรู้ ความเข้าใจ ผู้ร่วมสมั มนาได้แลกเปลีย่ น วธิ ีการและเทคนิค การจดั การชน้ั เรียนรวมในห้องเรยี น และเพ่อื ใหค้ รู ผปู้ กครองและนกั ศึกษามีแนวทางในการ เลอื กใช้กจิ กรรมศลิ ปะทีเ่ หมาะสมในการพัฒนาเด็กพเิ ศษในช้ันเรยี นรวม ในการจดั สัมมนาเชิงวิชาการออนไลนค์ รั้งน้ี ไดร้ ับเกยี รติจากท่านวทิ ยากรทัง้ หมด 3 ท่าน ได้แก่ พญ. วนาพร วัฒนกลู แพทยเ์ วชศาสตร์ครอบครวั โรงพยาบาลขอนแกน่ จงั หวดั ขอนแกน่ นายคธาวธุ อกั ษร ครู การศึกษาพเิ ศษ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษเขตการศึกษา 9 จงั หวดั ขอนแก่น นางชลรี ตั น์ เหลา่ จูม ผปู้ กครองเด็ก พิเศษ ซง่ึ ในวนั น้ี ทา่ นวิทยากรจะได้แลกเปลย่ี นประสบการณ์เกีย่ วกับ เด็กพเิ ศษ อาทิ ความสาคัญ ความรู้ความ เข้าใจ การดแู ล ปัญหาอุปสรรค การจัดการเดก็ พิเศษในห้องเรยี นรวมท่แี ตกตา่ งกนั การใช้กิจกรรมศลิ ปะท่ี เหมาะสมในการพัฒนาเด็กพิเศษในห้องเรยี นรวม ฯลฯ งานในครงั้ นจี้ ะสาเรจ็ ลลุ ว่ งไม่ไดห้ ากขาดผู้สนับสนนุ จาก คณาจารย์ หน่วยงาน วทิ ยากร และท่านผู้เข้า รม่ สมั มนาทุกท่านทไี่ ด้ให้การสนบั สนุนสง่ เสรมิ การจดั สัมมนาเชงิ วชิ าการ จึงใคร่ขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี นางสาววลั ลภา เทยี นทอง ประธานกรรมการโครงการสัมมนาเชิงวชิ าการ 67
Search