คำนำ การแสดงออกในสิ่งใดสิง่ หน่ึงที่กอ่ ใหเ้ กิดการสื่อสาร จากผู้หนง่ึ ถงึ อีกผูห้ นึ่งเป็นกระบวนการท่ีสำคัญใน การดำรงชวี ิตของมนุษย์ท่อี ยู่ร่วมกนั ในสงั คม หนึ่งในน้ันเป็นวิธีท่ีใชม้ าตัง้ แต่อดีตจนถงึ ปัจจุบนั คอื การจดบันทกึ หรือการเขียนขอ้ ความ เปน็ การใช้ภาษาท่ีข้ึนอยู่กบั บุคคลทีจ่ ะส่อื สารและบุคคลท่รี บั สาร ท่ตี อ้ งรู้จักเขา้ ใจใน ภาษาท่ีใชใ้ นการเขียนสอ่ื สารคร้ังน้ันๆ การเขยี นเหล่าน้ีมีประโยชน์อยา่ งมากต่อศาสตร์วิชาตา่ ง ๆ ซึ่งหน่ึงในนัน้ คือวชิ าดา้ นศิลปะ ท่ีจะรว่ มเอาการถา่ ยทอดการสอนและการวจิ ารณ์ศลิ ปะในแง่มุมต่างๆ ท่จี ะตอ้ งอาศัยผู้ทีม่ ี ประสบการณ์ แนวคิด การแก้ไขปัญหา การมองหาทางออกร่วมกนั ท่ีจะตอ้ งเปน็ ผู้ที่มีประสบการณ์ ผู้ถ่ายทอด แนวคิดผา่ นงานเขียนที่ตอ้ งใชภ้ าษาทช่ี ดั เจน เหมาะสม ส่ือสารเข้าใจง่าย ซึ่งเรยี กอีกช่อื หนง่ึ วา่ บทความทาง วชิ าการ บทความคือการกลั่นกรองภาษาการเขียนที่เกิดจากทัศนคติ ประสบการณ์ แนวความคิดเหน็ ที่มีต่อ เร่อื งนั้น ๆ สงิ่ ตา่ ง ๆ เหล่านส้ี ำคญั อยา่ งมากทจ่ี ะมาประกอบกันเข้าไปเปน็ บทความ ส่วนบทความน้ันมีหลาย ประเภทท่สี ามารถเขยี นข้ึนได้ ซง่ึ แต่ละประเภทของบทความนนั้ ต่างก็ทำหน้าทใี่ ห้ประโยชนต์ ่อผ้อู ่านไม่มากก็ นอ้ ยในเรอ่ื งนั้น ๆ บทความมีหน้าท่ใี นการสรา้ งความคิดสร้างแรงบันดาลใจให้กบั ผู้อา่ น แลว้ ยงั เปน็ ข้อมลู ท่ดี ใี น การเป็นแนวทางแกป้ ญั หาทเ่ี กิดขน้ึ และยังเปน็ แนวทางการรบั มอื กับปัญหาตา่ งๆ ที่อาจจะเกดิ ข้ึนมาในภายภาค หนา้ จากความคิดที่ของผเู้ ขยี นบทความแตล่ ะคน ผู้อ่านจะไดท้ ราบถึงมมุ มองในการมองปญั หาทห่ี ลากหลาย ท้ัง การอ่านบทความยงั ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ นิสยั รักการอา่ นอีกด้วย ในสว่ นของเลม่ รวบรวมบทความสัมมนานี้ นน้ั จะรวมบทความเกยี่ วกบั ศลิ ปศกึ ษาหรือการจัดการเรยี น รใู้ นกลุ่มสาระศลิ ปะรวมไปถงึ การจัดการชั้นเรยี นรวม การเสนอแนวคิดในการจดั การเรยี นรู้รูปแบบใหม่ ๆ การ นาํ ปญั หาเดิมท่ีเกดิ ขนึ้ ระหวา่ งการจัดการเรยี นรู้ศิลปะมาให้แนวทางการแก้ไขหรือการแสดงจดุ ยืนและแสดง ความเห็นที่เปน็ อยกู่ บั ความเป็นศิลปศึกษา ทง้ั ในอดตี ทเี่ คยลองผิดลองถูก ปัจจบุ ันท่ี กําลังพฒั นา และอนาคตท่ี กําลังใกลจ้ ะถงึ โดยนกั ศึกษาสาขาศิลปศึกษาช้ันปีท่ี 4 ได้รวบรวม บทความทเี่ กยี่ วข้องกับศลิ ปะในด้านต่างๆ 5 ด้าน ได้แก่ ปัญหาดา้ นปรัชญา(Philosophical Area) ด้านสังคมวทิ ยา(Sociological Area) ดา้ นเนื้อหา(The Content Area) ดา้ นการศึกษาและจติ วิทยา หรือ การเรียนการสอน(The Educational- Psychological or teaching and learning Area) ด้านหลักสตู ร(The Curriculum or Program Area) เพ่ือศึกษาและนาํ ไปปรับ ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู ้งั ในสาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะหรือบรู ณาการกบั สาระการเรียนรู้อนื่ ๆ ใหผ้ เู้ รยี น เกิดการเรยี นรู้มากยิง่ ข้นึ ฝา่ ยเอกสาร
สารบญั หนา้ 1 เนื้อหา 3 - ครูเดก็ พิเศษ คือครธู รรมดาทม่ี ดี วงตาพิเศษสอนอยา่ งปกติด้วยความเข้าใจ 5 ธรรมชาตขิ องเดก็ นั้น 6 (พ.ญ.วนาพร วฒั นกูล) 7 - จากใจผปู้ กครองเดก็ พิเศษ 9 (ชลีรัตน์ เหลา่ จมู ) 11 1.ดา้ นปรชั ญา (Philosophical Area) 13 14 - ความแปรผนั 16 (กรวชิ ญ์ อนั ทรินทร์) - ความรักในศิลปะที่จางหายไป 18 (สุกลั ยา เกตุธานี) 19 - ศิลปะพดู ได้? 21 (อุมาภรณ์ วงษศ์ รีแก้ว) 23 - ศิลปะของเขา ศลิ ปะของเรา (มณนี ชุ อุดมลาภ) - ศิลปะ ขับเคล่อื นชีวิตมนุษย์ (ณัฐนันฑ์ สุตะโคตร) - ศิลปะเกยี่ วข้องกับเราไดอ้ ยา่ งไร (วลั ลภา เทยี นทอง) - หากคณุ ตอ้ งการชัยชนะ คุณจะแพใ้ หก้ ับตัวเอง (อษั ฎาวธุ โคตรมา) 2.ดา้ นสงั คมวิทยา (Sociological Area) - ศิลปะกบั การสรา้ งสรรคส์ งั คม (กนกพร ไชยสทิ ธางกูร) - รางวลั ของศิลปะ (ชญามินทร์ เกตเุ มฆ) - ศลิ ปะ...กระจกสะท้อนความจริง (ฐิตมิ า ดวงสวุ รรณ์)
สารบญั (ตอ่ ) หน้า 25 เน้ือหา 27 - ศิลปะเชือ่ งโยงกบั สังคมอย่างไร ไกล หรือ ใกล้ตัว 29 (อรญั ญา ผิวทอง) 30 - สารท่ีส่งไปไม่ถึงเปรยี บได้เหมือนกบั อัตลักษณ์ท่ียงั ไมไ่ ด้แสดงออก 32 (เสาวภาคย์ เพช็ รหงษ์) 34 36 3.ด้านเนอื้ หา(The Content Area) 37 - ความเปน็ ตวั ตนกับศิลปะในโรงเรยี น (พนดิ า ภู่ทอง) 38 - วิชาศิลปะกับการถูกละเลย (ธีร์จฑุ า คดิ ฉลาด) 41 - ศิลปะใช้ไดจ้ รงิ (หรอื ?) 43 (จรุ รี ตั น์ โนราช) 45 - ศลิ ปะกับกิจกรรมการเรียนการสอนทสี่ ง่ เสริมพฒั นาการของผเู้ รียน ตามแตล่ ะช่วงวัย (ปาลิตา วรรณศริ ิ) 4.ด้านการศกึ ษาและจติ วทิ ยา หรอื การเรยี นการสอน (The Educational- Psychological or teaching and learning Area) - การเรียนการสอนศลิ ปะ เพ่ือการเรียนรู้ทมี่ งุ่ ใหผ้ เู้ รียนสามารถดำรงชีวติ อยรู่ ่วมกับผู้อืน่ ในสงั คมพหุวัฒนธรรมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ (ภัทรพรรณ ทองแย้ม) - ทำไมเด็กต้องเรียนรศู้ ิลปะ (ภาสกร กลางเหลอื ง) - ศลิ ปะกับConstructivism มคี วามสำคญั อยา่ งไรใน ศตวรรษท่ี 21 (ภูรินท์ กลั ยารตั น์) - อนาคตทางการศกึ ษาและการจดั การเรียนการสอนศิลปะในวิกฤติการแพรร่ ะบาด ของไวรสั โควดิ -19จะเป็นอย่างไรตอ่ ไป? (พลพจน์ ฉัว่ ตระกลู )
สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 47 เนือ้ หา 48 50 5.ด้านหลกั สตู ร(The Curriculum or Program Area) 54 - การศกึ ษาไทยหรือใครกันท่ีทำใหค้ ุณภาพเด็กไทยแย่ลง 56 (พมิ ลพรรณ แสนนาม) - ปญั หาของหลกั สตู รและการจัดห้องเรียนศิลปะในปจั จุบัน 58 (รตั นมณี คงคูณ) 59 - ศลิ ปะกบั วิชาท่ีถูกมองขา้ ม 65 (ศิรยิ ากรณ์ ทาทอง) 66 - หลกั สตู รและการจัดการเรียนการสอนศลิ ปะกับความต้องการของผเู้ รียน (นรศิ รา บญุ หวา) 67 ภาคผนวก - โครงการสัมมนาวิชาการทางศิลปศกึ ษา “KEY to success of special needs in Art classroom : ไขกุญแจสู่ห้องเรยี นรวมศิลปะ” - กำหนดการ โครงการสมั มนาวิชาการ “KEY to success of special needs in Art classroom : ไขกญุ แจสู่ห้องเรียนรวมศลิ ปะ” - คำกล่าวของประธานในพิธี โครงการสมั มนาวิชาการ “KEY to success of special needs in Art classroom : ไขกุญแจสู่ห้องเรียนรวมศิลปะ” - คำกล่าวของประธานโครงการ โครงการสัมมนาวชิ าการ “KEY to success of special needs in Art classroom : ไขกุญแจสู่ห้องเรยี นรวมศลิ ปะ”
“ครูเด็กพเิ ศษ คอื ครธู รรมดาที่มีดวงตาพิเศษ สอนอยา่ งปกตดิ ้วยความเข้าใจธรรมชาติของเด็กนนั้ ” พ.ญ.วนาพร วฒั นกลู (ขอ้ ความทผี่ ้เู ขยี น รวบรวมจากความปรารถนาทีจ่ ะใหส้ ง่ิ นี้ปรากฏ) ในมุมมองผูเ้ ขยี นเดก็ พิเศษ คือ เด็กตามธรรมชาติ เกดิ มาตามกลไกอนั เป็นปกติ หากวา่ มีความตอ้ งการ การดแู ลทแ่ี ตกต่าง อาจเพราะเด็กพิเศษเป็นประชากรกลุ่มนอ้ ย ต่างจากความคาดหวังจากคำนิยาม ‘เป็น ปกต’ิ ของสังคมโดยทวั่ ไป และดเู หมือนวา่ ความเปน็ ธรรมชาตินน้ั สรา้ งความไม่สะดวกสบายให้ผคู้ นรอบข้าง อาจไม่ถกู ยอมรบั ไม่ไดร้ ับความเขา้ ใจและไมไ่ ด้รับโอกาสจากคนบางกลุ่มหรือบางพ้ืนที่ แต่นัน้ ยอ่ มไม่ใช้กับ ครู โดยเฉพาะกับครูของเดก็ พเิ ศษ ครขู องเดก็ พิเศษ คือ ครธู รรมดา ทมี่ คี วามรู้ความสามารถในการสอน มีดวงใจแหง่ ความเมตตาตอ่ ศิษย์ และมคี วามปรารถนาให้ศิษย์เรียนรู้ พฒั นาและเติบโต ทว่า ความพเิ ศษในตัวครู คอื มี ‘ดวงตาพิเศษ’ ทีส่ ามารถ มองเหน็ สงิ่ ท่ีคนทว่ั ไปอาจมองไม่เห็น คือ เหน็ ถึงความปรารถนาทเี่ ด็กทุกคนต้องการ อันไดแ้ ก่ ความรัก ความ อบอุน่ ความปลอดภยั การยอมรบั และความตอ้ งการการหลอ่ เลยี้ งเพื่อการเติบโต นอกจากน้ี ครยู ังสามารถ ออกแบบการเรยี นรทู้ ่สี อดคล้องกลมกลืนกบั ความเปน็ ธรรมชาติของเด็กแต่ละคนอย่างพอดี พองาม ดว้ ยเด็กพเิ ศษ มคี วามหลากหลายในตัวเอง จากประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องกำหนด ประเภทและหลักเกณฑข์ องคนพกิ ารทางการศกึ ษา พ.ศ.2552 แบ่งเด็กพเิ ศษออกเป็น 9 ประเภท ครจู งึ ตอ้ ง ศึกษาและทำความเขา้ ใจเด็กพเิ ศษแตล่ ะกลุ่ม รู้จกั ลักษณะของความเป็นพิเศษและความตอ้ งการของเดก็ แต่ละ กลุม่ นน้ั เป็นพ้นื ฐาน อยา่ งไรก็ตาม ต้นไม้ในปา่ แม้พนั ธเุ์ ดยี วกนั ก็มิได้เติบโตได้พร้อมกนั หรอื มลี ักษณะ เหมือนกันทุกประการ แต่ละตน้ มีการแตกกิ่ง แตกตา แตกตา่ งกัน ฉนั ใดก็ฉนั นน้ั เดก็ พิเศษแม้นจะจัดอยูใ่ น กลมุ่ เดยี วกัน แต่กม็ คี วามแตกต่างกนั ในแต่ละคน ครจู ึงมิอาจจัดการสอนแบบเหมาโหล สอนดว้ ยรปู แบบ เดยี วกันได้หมด ครเู ด็กพเิ ศษ ควรฝกึ ทักษะ ‘การสงั เกต’ ความเป็นธรรมชาตขิ องเด็กแตล่ ะคน สังเกตพฤตกิ รรมการ แสดงออก สีหนา้ ทา่ ทาง แววตา การพดู การสือ่ สารท้ังวาจาและภาษาท่าทาง ในอริ ิยาบถต่าง ๆ อยา่ งละเอยี ด และมคี วามประณตี ในการพจิ ารณาวเิ คราะห์ ความหมายของการปรากฏการณ์เหลา่ นน้ั นอกจากน้ี ครูตอ้ งมี ทักษะใน ‘การส่ือสาร’ กบั ผู้คนรอบข้างของเดก็ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง ผปู้ กครองของเด็กพเิ ศษท่ีอาจมีความคิด ความกงั วล ความต้องการ ความคาดหวงั ทีแ่ ตกต่างจากความคาดหวังของครู การส่อื สารทเ่ี ปดิ เผยอารมณ์ ความรสู้ ึก ความต้องการ การไดบ้ อกเลา่ ถงึ ข้อติดขัดหรืออุปสรรคในการพฒั นาเดก็ นา่ จะชว่ ยให้เกดิ ความ เขา้ ใจระหว่างผู้ปกครองและครมู ากขึ้น และจะส่งผลดตี ่อการพัฒนาเด็กในทส่ี ดุ 1
จากประสบการณ์ของผู้เขียน เมอื่ มโี อกาสจดั การอบรมศิลปะใหก้ ับเด็กพิเศษกลุ่มออทิสติกและ ผ้ปู กครอง พบว่า ความแตกต่างของเด็กแต่ละคนคือความสวยงาม เดก็ พเิ ศษทุกคนสามารถพัฒนาไดไ้ มท่ างใดก็ ทางหน่งึ การเปดิ ใจ เปดิ โอกาสใหเ้ ราได้ไปสัมผัสความเปน็ มนษุ ยแ์ บบเขาอย่างแท้จริง อาจเปน็ วาระอันวเิ ศษ สุด เพราะช่วยใหเ้ ราได้เหน็ โอกาสแหง่ การพฒั นาตวั ตน และนัน้ คือ ของขวัญสดุ วเิ ศษ ทเ่ี ดก็ พเิ ศษไดม้ อบให้เรา ทุกคนค่ะ 2
จากใจผปู้ กครองเด็กพเิ ศษ ชลีรัตน์ เหลา่ จมู วิทยากรรบั เชญิ ลกู ชายคุณแม่เป็นออทสิ ติกค่ะ น้องธนัชชนม์ เหลา่ จมู ชอื่ เล่น ธนะ ปจั จบุ นั อายุ 17 ยา่ ง 18 ปี ได้รับ การวนิ จิ ฉัยว่าเป็นออทสิ ติกเมื่ออายุ 3 ขวบคร่งึ ตอนเด็ก ๆ นอ้ งพูดไม่ได้ ไมส่ บตา ต่นื ตวั ตลอดเวลา รกั ใครไม่ เป็น ไม่สนใจสง่ิ แวดลอ้ ม ทานนอ้ ย นอนน้อย หงดุ หงดิ งา่ ย อาละวาดตลอดเพราะสื่อสารไม่ได้ พูดไม่ออก บอก ไม่ถูกว่าตวั เองรู้สึกอยา่ งไร ระบบประสาทสมั ผสั ทั้งห้ารับร้ผู ิดปกติไม่เหมือนคนทว่ั ไป (เป็นแผลเดนิ เลอื ดหยดใน บ้านไม่รู้สกึ เจ็บ) ทำให้ ธนะ มีพฤติกรรมท่แี ปลกแตกต่างจากคนทวั่ ไป ทำให้การเลีย้ งดูค่อนขา้ งยาก เมอ่ื น้องไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ด้วยการฝึกจากโรงเรยี นศูนย์การศกึ ษาพิเศษเขต 9 และ ฝึกกับนักแก้ไข การพูด นักกจิ กรรมบำบัด และพบคุณหมอพัฒนาการเด็ก และการฝึกอย่างตอ่ เนื่องจากทางครอบครัวเป็น ประจำ นอ้ งมพี ฒั นาการทด่ี ีขึ้นอย่างช้า ๆ ในทุก ๆ ด้าน คุณแม่เฝ้าสังเกตุธนะตลอดเวลาว่าควรชว่ ยเหลอื ด้าน ไหน นอ้ งยงั บกพร่องดา้ นไหนอยู่ กจ็ ะเพิ่มการฝกึ ในสว่ นนั้น โดยปรึกษา นักกจิ กรรมบำบัดเปน็ หลกั ในดา้ น สมองและรา่ งกาย และกลับมาฝึกต่อท่ีบา้ นอย่างต่อเนื่อง ที่โรงเรยี น ได้รับความช่วยเหลือจากคุณครูผ้ดู ูแล จาก ศนู ยว์ จิ ยั ออทิสติก มข. ใหส้ ามารถเรยี นร่วมในช้นั เรยี น ซง่ึ มีปญั หาเกิดขนึ้ ทีโ่ รงเรียนเร่ือย ๆ ในช่วงอนบุ าล ประถม กไ็ ด้รับการช่วยเหลือจากคุณครูทต่ี ามเข้าไปชว่ ยเหลือในชั้นเรียนรวม ใหส้ ามารถเรยี นรวมกับเพ่ือน ๆ ได้ ส่วนทางบ้านกพ็ ยายามฝกึ ให้นอ้ งใช้ชีวิตประจำวนั ทำกิจวัตรส่วนตัวไดเ้ อง และเสริมดา้ นต่าง ๆ ที่ บกพร่อง เช่น ไมม่ สี มาธิ หุนหนั พลนั แล่น คุณแมก่ ็พาไปวดั ทำบุญ ไปหาหลวงปฝู่ กึ นั่งสมาธิ ซึ่งนอ้ งฝึกน่ังสมาธิ ต้ังแต่ปี 2558 เรมิ่ จากหา้ นาที นงั่ กอ่ นนอนทุกคืนและเพิ่มเวลานง่ั สมาธเิ รือ่ ย ๆ จนปัจจุบันน้องนั่งสมาธิ วนั ละ 1 ชม. ก่อนนอนทกุ คนื โดยใช้โทรศพั ท์จบั เวลา น้องธนะชอบพต่ี นู บอด้สี แลม เมื่อปี 2560 นอ้ งฝนั อยากวงิ่ มาราธอนเหมือนพ่ีตนู ทางครอบครัวก็ สนับสนนุ ทนั ที โดยมคี ณุ พ่อพาวิ่ง ซ่งึ นอ้ งก็ซ้อมว่งิ ทุกเยน็ หลงั เลิกเรยี นและวนั หยดุ และลงงานว่งิ ตา่ ง ๆ ได้ถ้วย หลายรายการ และในทีส่ ุดนอ้ งธนะก็ว่งิ มาราธอน 42 กม.ได้สำเรจ็ เม่ือวันที่ 27 มีนาคม 2564 โดยมโี ค้ชหมกี ับ โคช้ โตโต้เป็นบ๊ดั ด้พี าไปจนจบมาราธอน นอ้ งธนะตีกลองได้ แต่เรยี นแบบไม่ร้โู นต๊ โดยมคี รูมาสอนท่ีบา้ นสัปดาห์ละครงั้ น้องธนะ ทำขนมได้ ทำอาหารได้ มีคุณแมฝ่ ึกทำตัง้ แตน่ อ้ งอยู่ชั้น ป.4 นอ้ งธนะชว่ ยทำงานบา้ นได้ ซักผ้า ซักถงุ เท้า ตากผ้า ลา้ งจาน ล้างรถ รดนำ้ ต้นไม้ ให้อาหารแมว ดแู ล แมว (ความรู้สึกรักและสงสารสัตว์ เกดิ ข้ึนได้ จากทีไ่ ดเ้ ล้ียงแมว) 3
งานศิลปะ น้องไม่ไดส้ นใจและชอบตัง้ แตแ่ รก คุณแม่คิดว่า สมาธิ ดนตรี ศลิ ปะ จะช่วยให้น้องนิง่ ขึน้ สงบขึน้ จึงตัง้ ใจสง่ เสรมิ โดยฝึกนอ้ งวาดภาพตามแบบ (ให้วาดเองน้องคิดไม่ออก วาดไม่เป็น ตอ้ งวาดตามแบบ เท่าน้นั ) วาดตามแบบแล้วระบายสี วาดสวยไมส่ วยไม่เปน็ ไร แตค่ ุณแม่พาทำซ้ำเร่ือย ๆ หาแบบอนื่ ๆ จากยูทูป มาลองทำเรือ่ ย ๆ น้องก็ทำออกมาดขี นึ้ นง่ิ ขึน้ ตง้ั ใจขึ้น และ สงบในช่วงเวลาทท่ี ำงาน ในการท่ีอยู่กับธนะตลอดเวลา คณุ แมเ่ ร่ิมเข้าใจและรจู้ ักลูกชายตวั เองมากข้นึ น้องธนะเหมอื นฟองน้ำ ท่พี ร้อมจะดูดซับสง่ิ ท่ปี ้อนเข้ามา ทัง้ ดีและไม่ดี พร้อมรับตลอด ซ่งึ ต้องเลือกใหท้ ำแตส่ ่ิงที่ดี และพยายามตดั สื่อ ที่ไมด่ ีไมเ่ หมาะสมออก เพราะน้องธนะจะจำและเอาไปใช้ไม่ถูกกาละเทศะ สงิ่ ทค่ี ุณแม่เหน็ พัฒนาการของนอ้ งธนะ เม่ือให้โอกาสพาทำซำ้ บ่อย ๆ จะเกิดความชำนาญและทำไดด้ ี ขึ้นเร่อื ย ๆ พฒั นาข้นึ ไดต้ ลอดเวลา คณุ แมร่ วู้ า่ ลูกชายตัวเองไม่มีพรสวรรค์ใด ๆ เลย แตส่ ง่ิ ท่ีธนะทำได้เกิดจากการพาทำบ่อย ๆ ใสใ่ จ ให้ เวลา ใจเยน็ ให้โอกาส และคอยเปน็ โค้ชทด่ี ีให้ ให้กำลังใจ ชมเชย จะทำใหธ้ นะสามารถกา้ วขา้ มขดี จำกดั ของ ตวั เองในหลายๆ เร่ืองได้ สำหรบั ความคาดหวังในช้นั เรียน คณุ แม่อยากใหส้ อบถามพัฒนาการเดก็ พิเศษจากครู iep หรือ ครทู ใ่ี ห้ ความชว่ ยเหลือในช้ันเรียน ว่านอ้ งทำงานได้แค่ไหน ให้งานทเี่ หมาะกับพัฒนาการตอนน้ัน งานไม่ยากเกนิ ความสามารถเกินไปเพราะจะเกิดความเครียดและมีปญั หาพฤติกรรมตามมา คุณครูชว่ ยเปน็ โค้ช แนะนำ และ ให้กำลังใจด้วยการชมงานครั้งตอ่ ไปอาจจะใหง้ านยากกว่างานเดิมทีละน้อย กจ็ ะเปน็ โอกาสในการค่อย ๆ พัฒนาต่อไปค่ะ 4
5
ความแปรผัน กรวชิ ญ์ อนั ทรินทร์ เวลาน้ศี ลิ ปะทีเ่ ราชอบมากท่ีสุดคือเสยี งเพลง เสยี งดนตรที ่ีฟังได้ตลอดเวลา ได้ฟังทไี รกร็ ู้สึกเหมือนเป็น การได้ผ่อนคลาย มีอารมณ์ความสดใส ความสุข สบายใจ บางทีกเ็ ศรา้ ได้ตามที่ใจตอ้ งการ แทนทเี่ มื่อก่อนที่มี ความชื่นชอบในเรื่องของทัศนศลิ ป์ การวาดภาพระบายสี ที่ไม่รู้ทำไมความช่นื ชอบหรอื ความอยากทำมนั ค่อย ๆ เลอื นลางจางหายไป จากทกี่ ่อนเคยอยากจับดนิ สอและสีมาวาดภาพส่ิงที่อยากวาด แตต่ อนน้ีความร้สู กึ นน้ั แทบไม่มีอยูเ่ ลย ถึงเราจะคิดวา่ ไมร่ ู้ทำไมถงึ เป็นแบบนี้ แตเ่ อาเขา้ จริง ๆ แล้วเราก็พอจะรสู้ าเหตซุ ่ึงอาจจะเปน็ เพราะว่าเราได้มา ทำสงิ่ ท่ีเราอยากจะทำ แตส่ งิ่ ท่ีทำเหมือน “ไม่ใชส่ ิ่งท่ตี ้องการ” ซ่งึ ความต้องการของเราจริง ๆ แล้วคือการวาด และทำสงิ่ ท่ีเราชอบเพียงเทา่ นัน้ แต่ตอนนกี้ ลายเปน็ วา่ เรานำสงิ่ ท่เี ราชอบเข้ามามบี ทบาทในชวี ิตมากเกินไป มี ตวั กำหนด กฎเกณฑ์ มีคะแนน มีการแข่งขันทเ่ี พิม่ เขา้ มา และมีความร้สู ึกโดนเปรยี บเทยี บเรอื่ งของทักษะ โดย บางทีมนั อาจจะเกิดจากความคิดไปเองของเรา ซึ่งท่ีกลา่ วมาทั้งหมดน้ีกถ็ กู แลว้ เพ่ือที่เราจะได้มกี ารพฒั นาและมี ศักยภาพเพิ่มขน้ึ บนเส้นทางท่ีเราเลือก แต่ไม่เคยคิดมาก่อนวา่ สิ่งที่เราเคยชอบหรือสนใจมนั ได้หยดุ ไวแ้ ลว้ ในตอนนี้ เราสามารถวาดมนั ได้แตค่ วามรสู้ ึกในขณะท่ีทำน้นั ไมไ่ ด้รู้สกึ อยากทำมันเลย และเราคดิ ว่าหรือมัน อาจจะกลับมาก็ไดใ้ นตอนที่เราท้งิ มันไปนาน ๆ และอยากจะทำมันอีกครง้ั เมื่อที่ใจตอ้ งการโดยทไี่ ม่ต้องคำนึงถงึ ความถกู ต้องหรือถูกมองวา่ จะเป็นยงั ไงในสายตาของคนอน่ื และตอนน้ีอยา่ งท่ีบอกว่ามคี วามชื่นชอบใน เสยี งเพลงซงึ่ มันกเ็ ปน็ เร่ืองท่ีค่อย ๆ ซึมซับมาตง้ั แต่เดก็ เชน่ กัน เราตดิ ตามศลิ ปนิ นกั ร้อง ผูแ้ ตง่ สไตลเ์ พลงท่ีเรา ชนื่ ชอบ เรยี นรู้การทำงานของเขาจนเป็นแรงบันดาลใจ เมื่อได้เปน็ ผรู้ บั แล้วก็อยากมีสกั คร้ังทม่ี ีผลงานเปน็ ของ ตัวเอง ชว่ งท่ีผ่านมาเราจำเป็นที่ต้องทำงานด้านทัศนศิลปอ์ กี ครง้ั แต่เรามองไม่เห็นแนวทางท่เี ราชน่ื ชอบเลย ณ เวลานน้ั ไม่มอี ะไรทงั้ น้ันที่อยากจะทำ จนพอถงึ เวลาที่ต้องตัดสนิ ใจแน่ ๆ จรงิ ๆ แล้ว ก็พอมีเศษเสีย้ วของความ สนใจอยู่บา้ ง บวกกับวิธีหาแรงบัลดาลใจ ศึกษาแนวทางตามหาผลงานทีเ่ ราประทับใจ เหมอื นกบั ท่เี ราสนใจ เสียงเพลงทเ่ี ราชอบ ทำใหเ้ ราไดม้ องเห็นส่งิ ที่คดิ ว่าน่าจะเหมาะกบั เรามากทสี่ ุดในตอนนี้แล้ว ซง่ึ น่นั ก็คอื ศิลปะ ลัทธิอิมเพรสช่ันนิสม์ (Impressionism) เป็นงานที่เราเห็นวา่ มีชวี ติ ชีวา ดูสนกุ มคี วามสดใส สร้างความ ประทับใจให้กับตวั เอง กเ็ ลยอยากจะทำงานศิลปะแบบนี้ออกมาเป็นผลงานของตัวเองบา้ ง จะเหน็ ว่าไมว่ ่าจะทำอะไรกต็ ามเราตอ้ งมแี รงบนั ดาลใจเสมอเพ่ือท่จี ะเป็นแรงจงู ใจในการทำสิ่ง ๆ นนั้ ออกมาได้ เพียงแค่เราค่อย ๆ หา สงิ่ ทท่ี ำนนั้ ไมจ่ ำเปน็ ต้องเปน็ ท่ีนยิ ม หรอื เปน็ ทที่ คี่ นส่วนใหญ่ยอมรับแตเ่ ป็นส่งิ ทเ่ี ราพอใจสบายใจท่ีอยากจะทำมันออกมา และมคี วามสุขกับมนั โดยไม่ไดส้ ร้างความเดือดร้อนใหก้ บั ผู้อ่ืน แตช่ ว่ งนี้ขอพักงานวาดภาพไว้กอ่ น มีอารมณส์ นุ ทรียเ์ ม่ือไหร่ค่อยกลับมาเจอกันอีกคร้ัง เราสามารถหนไี ปหา ส่งิ ใหม่ ๆ ที่เราชอบได้ตลอดเวลา แต่ก็ต้องไมท่ ้ิงหน้าทข่ี องเราในปัจจบุ ัน 6
ความรกั ในศิลปะท่ีจางหายไป สุกลั ยา เกตุธานี ในวนั ท่ีเราเรมิ่ รู้สกึ หมดใจในการทำงานศิลปะ มันไดก้ ลายเปน็ ปญั หาทก่ี ่อตัวขน้ึ มาเพื่อทำลายแรง บนั ดาลใจในการทำงานของเรา และคิดว่านีค่ งไม่ใชท่ างทีเ่ ราถนดั อีกตอ่ ไปแลว้ แตค่ วามเป็นจรงิ มันขน้ึ อยทู่ ี่เรา เลอื กเองต่างหาก วา่ จะหันหน้ากลบั มาสูต้ ่อหรือจะยอมแพ้ให้กบั จิตใจที่ออ่ นแอของตวั เอง ไม่มที างเลือกไหนที่ ผิดหรอก เพราะมนั เปน็ ชีวติ ของเรา คนเราเกิดมาก็มักจะมีทัง้ เรอื่ งท่ดี ีและไม่ดีปะปนอยู่ในชีวติ ของเราอย่เู สมอ ในบางครัง้ จิตใจของเราก็เต็มเปยี่ มไปด้วยความสุข ความม่งุ มั่นในการทำงานเปน็ อยา่ งมาก แต่บา่ งชว่ งจังหวะ ของชีวติ เราทกุ คนย่อมมโี อกาสท่ตี ้องเจอกับอุปสรรคปญั หาท่ีจะเข้าบัน่ ทอนกำลังใจและพลังกายของเราไดเ้ ปน็ เรื่องธรรมดาอยแู่ ลว้ และเมื่อปัญหาทางความรู้สึกมันได้เกิดข้ึนมาแลว้ กจ็ ะรู้สึกวา่ ทุกอย่างมนั กำลงั มาถงึ ทาง ตัน คดิ หาทางออกไม่ได้ ไม่ร้วู ่าจะทำยงั ไงต่อไปดี จะทำอะไรก็เหมือนกบั วา่ มนั ซ้ำ ๆ เดิม ๆ จมอยกู่ ับท่ี เอาแต่ คดิ วนเวียนอยู่อย่างนน้ั จนลืมคดิ ไปเลยว่า เรากำลงั ปล่อยให้เวลาทมี่ ีคุณค่ากับชวี ิตให้ลว่ งเลยไปอย่างนา่ เสยี ดาย ในบทความน้ีผู้เขียนจงึ อยากชวนใหค้ ุณลองย้อนมองจิตใจของตนและพิจารณาใหช้ ัดเจน เมอ่ื ต้อง ประสบกบั ปัญหาทางความร้สู ึกเชน่ น้ี หากตอนนีง้ านศลิ ปะท่คี ุณกำลงั ทำอยู่นน้ั มนั ย่ิงทำให้คณุ รู้สกึ หา่ งไกลกบั ความรักทีเ่ คยมีในศลิ ปะคุณก็ ลองหยดุ แลว้ มองให้ชัดก่อนเถอะว่า จติ ใจของคุณตอนนเี้ ป็นเช่นไร คณุ ยังอยากทจี่ ะทำมันอย่ไู หม ถ้าตอนนยี้ งั ไม่อยากทำกห็ ันไปทำอย่างอื่นก่อน เพราะถา้ ฝืนท่ีจะทำต่อไป มันอาจทำให้คุณหมดใจจากมันไปอยา่ งถาวรก็ได้ และถ้าหากมนั ยงั เป็นความรักของคณุ จรงิ ๆ คุณจะโหยหาเมื่อขาดมนั ไปเอง แล้ววันนนั้ คณุ จะรับรไู้ ด้อย่างเต็ม หวั ใจวา่ สง่ิ ทีค่ ณุ กำลังร้สู ึกเบื่อหน่ายอย่นู ้ัน มันจะช่วยเยียวยาจติ ใจหรอื เปน็ ตวั ทำลายความสขุ ของคุณอยู่กันแน่ คณุ ยงั นกึ ถึงความรสู้ ึกแรกท่ีคุณเริ่มทำงานศิลปะไดห้ รือไม่ จุดม่งุ หมายในการทำงานศิลปะของคุณคืออะไร คณุ ยงั จำมนั ได้อยไู่ หม เราเชื่อวา่ ตอนนนั้ ทคี่ ุณไดเ้ รม่ิ เข้ามาทำงานศิลปะ มนั เต็มไปด้วยแรงบันดาลใจ ความสนุก ความมุ่งมน่ั และมีพลังทจ่ี ะถ่ายทอดความคิด ความรูส้ ึก ออกมาผา่ นผลงานได้เป็นอยา่ งดี มีคนมากมายทเี่ ลือก ทางเดินของตวั เอง และมคี วามสขุ อยู่กับสิ่งทีต่ นเลือก แตเ่ มื่อเระยะเวลาผ่านไปซักพัก ความสนกุ ความมุ่งมนั่ มนั กลบั แปรผันไปเป็นความเบ่ือหนา่ ยลงในทส่ี ุด และมันมักจะทำใหเ้ ราต้องหันกลบั มาต้ังคนถามกบั ตวั เองอีก คร้ังว่าทางทเี่ ราเลอื กเดนิ มาน้ัน เราเลือกผดิ เองหรือไม่ ถ้าหากคุณกำลงั ตกอยกู่ ับภาวะความรู้สึกแบบนี้ เราอยากจะชวนให้คุณคดิ ทบทวนอีกนิด และลอง ยอ้ นกลับไปนกึ ถึงความรสู้ ึกที่เมื่อคุณไดล้ งมอื ทำมนั คุณมีความสขุ มากแคไ่ หน ลองคิดดวู า่ กวา่ จะเดนิ ทางมาอยู่ ตรงน้ไี ด้นนั้ คุณผา่ นความรู้สึกอะไรมาบ้าง ลองคิดดูสิว่าคุณเกง่ ข้ึน หรอื พัฒนาตัวเองมาไดม้ ากแค่ไหนแลว้ จาก จุดเรม่ิ ตน้ ลองหยดุ แลว้ พิจารณาความรู้สกึ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง อยา่ งคนท่ีมีสติ วา่ ทางเดินท่ีเราเลอื กนี้ เป็น ทางทเ่ี ราเลือกผดิ จรงิ หรอื เพียงแคม่ ีปจั จยั บางอย่างทีเ่ ข้ามาทำใหเ้ ราเหน่ือยลา้ ลงเท่านั้น 7
อา้ งอิง Ataman Thongyou. (2561). ถา้ คณุ หมดไฟมาทางน้ี นี่คือวธิ จี ุดไฟในตัวคณุ อีกครั้ง. สบื คน้ วนั ท่ี 10 เมษายน พ.ศ.2564, จาก https://www.salika.co/2018/03/13/take-the-new-inspirations/ 8
ศลิ ปะพดู ได้? อมุ าภรณ์ วงษ์ศรีแก้ว ในอดีตจนถึงปจั จบุ ัน คำวา่ “ศิลปะ” ไดม้ ีผ้ใู ห้ความหมายไวห้ ลากหลายรปู แบบ ในบทความน้ีผเู้ ขยี น ขอยกเอาความหมายท่ีวา่ “ศิลปะ คอื สิ่งท่ีมนษุ ย์สร้างข้ึนเพือ่ แสดงออกซ่ึงอารมณ์ ความรสู้ กึ ปญั ญา ความคิด หรือความงาม” ซ่ึงตรงกบั ส่งิ ท่ศี ลิ ปินดังระดับโลกอยา่ ง ปาโบล ปกิ าโซ ได้กลา่ วไวว้ า่ “ฉันไมไ่ ดพ้ ดู ทุก ๆ ส่ิง แต่ ทุกๆ สงิ่ ของฉันได้ถูกพูดผ่านศิลปะ” (“I don’t say everything, but I paint everything”) ดงั นัน้ ผู้เขยี นจึง ได้หยบิ ยกเอาประเด็นนมี้ านำเสนอวา่ “ศิลปะพดู ได้อย่างไร?” “ศิลปะพดู ได”้ คำว่า “พูด” ในทีน่ ไ้ี ม่ได้หมายถงึ กริ ิยาท่ีเปล่งเสียงออกมาเป็นถ้อยคำ แต่เราได้ เปรียบเทียบความหมายของการพูด คือการส่ือสารและการแสดงออก ทั้งในด้านอารมณ์ ความรสู้ กึ ปัญญา ความคดิ หรือความงาม โดยใชง้ านศลิ ปะเปน็ ตวั เล่าเร่ืองนน้ั ๆ งานศลิ ปะทเี่ กิดมาในรปู แบบท่ีหลากหลายไมว่ ่า จะเป็น งานจิตรกรรม งานประตมิ ากรรม งานภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ฯลฯ งานศลิ ปะเหล่าน้ีลว้ นสามารถนำมาใช้ เพอ่ื เป็นสื่อกลางในการส่ือ-สาร แสดงออกและสะท้อนอารมณ์ ความคดิ ความรสู้ กึ ของผู้สรา้ งผลงานได้ ผสู้ รา้ ง งานแตล่ ะคนลว้ นมีจุดประสงคแ์ ละจุดมุ่งหมายของการสรา้ งผลงานศลิ ปะ ที่หลากหลายแตกตา่ งกนั ออกไปตาม บทบาทและความต้องการ เช่น การวาดภาพชีวประวตั เิ พื่อเปน็ ส่ือใหค้ วามรู้ การวาดภาพรณรงค์ LGBT เพ่ือ เป็นสือ่ กลางในการเรียกร้องความเปน็ ธรรมให้กบั บุคคลกลุ่มนี้ และศลิ ปินดังระดบั โลกหลายคน ท่ีไดใ้ ชว้ าดภาพ เพือ่ เป็นการสอ่ื สารความรสู้ ึกนึกคิดของเขา ยกตวั อย่าง เช่น ผลงาน “The Starry Night” ของวนิ เซนต์ แวน โกะ๊ ห์ ซงึ่ เปน็ ภาพที่มชี อื่ เสียงมากภาพหนงึ่ ของโลก วินเซนต์ แวนโก๊ะห์ ไดถ้ ่ายทอดอารมณค์ วามรูส้ ึกของเขา ผ่านภาพ The Starry Night ท่ีเขาส่ือถงึ ความเหงา ความโดดเด่ียว ความทุกขท์ รมาน และพลงั ความ เคลอ่ื นไหวท่ีอยู่ในความหยุดนิง่ ของบรรยากาศ ตลอดจนเป้าหมายที่ต้องการจะเดินทางไปสู่สรวงสวรรค์ด้วย ความตาย เป็นตน้ การส่อื สารเป็นสิง่ ท่ีจำเปน็ อย่างมาก ไมว่ ่าจะเป็นมนษุ ยห์ รือสัตวเ์ อง กจ็ ำเปน็ จะต้องใช้การสือ่ สาร ดว้ ยกันทง้ั นน้ั การสื่อสารเองจงึ มีจดุ ประสงค์และจดุ มุง่ หมายท่หี ลากหลาย แตกต่างกันออกไปตามความบรบิ ท และความต้องการ เชน่ การสือ่ สารเพ่ือการอย่รู อดของสัตว์ การสือ่ สารเพื่อให้ความรแู้ ละเพือ่ โน้มนา้ วใจของ มนุษย์ ฉะนน้ั จึงเห็นไดว้ ่าเร่ืองราว อารมณ์ ความรสู้ ึก ปญั ญา ความคิด ความงามหรือไมว่ ่าจะเป็นประเด็นใด ๆ น้นั จงึ ไม่มีความจำเปน็ ทจี่ ะต้องแสดงออกและสอ่ื สารดว้ ยการพูดทเ่ี ป็นการเปลง่ เสยี งออกมาเปน็ ถ้อยคำเทา่ นนั้ เพราะนอกจากการสอ่ื สารรูปแบบอื่นแล้ว ศลิ ปะกย็ ังเปน็ อีกหน่ึงหนทาง ในการ“พูด”จากผสู้ ร้างสรรค์ศิลป์ ไปสผู่ ูเ้ สพศิลป์ 9
อา้ งอิง สมาพร คล้ายวเิ ชียร. ภาษาภาพ : คืนทมี่ ีดาวพราวฟ้า VISUAL LANGUAGE : THE STARRY NIGHT [ออนไลน์]. ปี 2552. แหล่งท่ีมา : http://www.samaporn.com/?p=1334 [10 เมษายน 2564] โรงเรยี นศลิ ปะเดก็ ไทยสร้างสรรค.์ ความหมายและคำนิยามของศลิ ปะ [ออนไลน]์ . ปี 2556. แหลง่ ทีม่ า :http://www.dekthaischool.com/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=3&Id= 538977593 [10 เมษายน 2564] Quotefancy. Pablo Picasso Quotes [ออนไลน์]. ปี 2548. แหล่งทมี่ า : https://quotefancy.com/quote/ 884251/Pablo-Picasso-I-don-t-say-everything-but-I-paint-everything [10 เมษายน 2564] 10
ศิลปะของเขา ศลิ ปะของเรา มณีนุช อดุ มลาภ “ศลิ ปะ เปน็ คำท่ีมีความหมายทัง้ กวา้ งและจำเพาะเจาะจง” ดูเปน็ คำอธิบายทย่ี ้อนแยง้ แต่เปน็ ความ จรงิ ท่ีทัศนะของนกั ปราชญ์แต่ละคน หรอื ศิลปินแต่ละคน รวมทง้ั ความเชื่อแนวคิดในแตล่ ะยคุ สมัยนัน้ มีความ แตกตา่ งกันจนกลายเปน็ ขอ้ โต้แยง้ หรอื ข้อถกเถียงกันไดต้ ลอดเวลา อะไรคือศิลปะกันแน่? จะนำศิลปะไปใชใ้ นแวดวงที่กว้างขวางหรือจำกัดได้อยา่ งไร? ท่ผี ่านมาเรามองว่าศิลปะ คือการถ่ายทอดความคดิ ประสบการณ์ หรือคำพูดของเราออกมาเป็น ผลงาน และเรยี กสงิ่ นน้ั วา่ ศลิ ปะ แตก่ ็มีหลายครั้งทผ่ี ู้คนไมไ่ ดม้ องวา่ ผลงานของเราเป็นศิลปะ อาจเนื่องด้วย เหตุผลท่ีวา่ ผลงานนนั้ เข้าใจยากเกินไป ผลงานนน้ั ซบั ซ้อนเกนิ ไป หรอื แมแ้ ต่ดไู ม่มีคุณคา่ อะไรเลยดไู มใ่ ชศ่ ิลปะ เลย แล้วอะไรล่ะ? คือศิลปะท่ีแทจ้ ริง ในวัยเดก็ ศลิ ปะสำหรับเราคอื การแสดงออกอย่างอิสระเสรี เต็มไปด้วยจนิ ตนาการและความคิด สรา้ งสรรค์ ความบรสิ ทุ ธิ์ จริงใจ เปดิ เผย และตรงไปตรงมา แมจ้ ะเป็นการขีดเขยี นบนกระดาษท่ีไม่เป็นรปู ทรง ชดั เจน เพียงเพราะยงั มปี ระสบการณ์ไม่เพยี งพอ ยังไมส่ ามารถถ่ายทอดจนิ ตนาการในหัวออกมาใหผ้ ใู้ หญ่เหน็ ได้อย่างชัดเจน คุณจะตัดสินเลยหรอื ไม่ ว่านัน่ ไมใ่ ช่ศิลปะ เพราะเมื่อมาถงึ วยั ผ้ใู หญ่ ความเป็นศิลปะของหลายๆ คนถกู เปลี่ยนแปลงไปให้ศิลปะเป็น ความงดงาม ความเป็นเลิศ ศลิ ปะต้องดูอลังการ มีกระบวนการสร้างงาน หรอื มีแนวคดิ ทีล่ กึ ซ้งึ และซบั ซ้อน ศิลปะแบบน้สี ิ จงึ จะมีคุณค่า ศลิ ปะแบบน้สี ถิ ึงจะมีมูลค่ามหาศาล นส่ี ิ คอื ศิลปะทแี่ ท้จริง ดังนั้นแลว้ ศิลปะท่ีไม่มีความงดงาม ไม่มีความซบั ซ้อน ลกึ ซ้งึ จงึ ไม่ได้ถกู มองเป็นศิลปะอย่างงั้น เหรอ ผใู้ หญ่มักบอกเด็ก ๆ ว่าหา้ มระบายสอี อกนอกเส้น หา้ มระบายสที ้ิงสขี าวไว้ ต้องระบายไปทางเดียวกนั ต้องระบายให้เนยี นกว่าน้ี โดยท่คี ุณอาจไมร่ ูเ้ ลยว่า เด็กอาจอยากให้งานของเขามสี ีขาวก็ได้ เด็กอาจอยากให้งาน ของเขาไมอ่ ยู่ในเส้นกไ็ ด้ คุณบอกแบบนัน้ เพราะคุณกำหนดไวแ้ ล้วว่าศิลปะของคณุ ต้องเป็นแบบน้ัน ซง่ึ น่าแปลก ท่ีเมอ่ื เด็กๆโตข้ึน พวกเขาจะได้พบกับภาพสาดสี ภาพจุดสแี ดงจดุ เดยี วบนเฟรมใหญ่ โถฉ่ี การยนื แกผ้ า้ อยู่เฉย ๆ การเอาแก้วมาปาให้แตกลงพ้ืน เอากล้วยมาตดิ บนผนัง ภาพกระป๋องซุป ถังขยะ และอีกมากมายทก่ี ็เป็นศลิ ปะ เหมือนกันน.ี่ ..แลว้ ท่ผี ู้ใหญเ่ คยบอกล่ะ ไหนล่ะ...งานท่ีอยู่ในเส้น ไหนล่ะ...งานที่ไมม่ สี ีขาว ทำไมต้องให้เด็กมา เรยี นรู้เอาตอนโตดว้ ยละ่ วา่ ศิลปะมคี วามหลากหลายขนาดไหน แทนทจ่ี ะได้รู้ไดเ้ หน็ ต้ังแตแ่ รก พวกเขาจะได้ไม่ ตกใจมาก เราเองกจ็ ะได้ไม่ตกใจมากว่าไมต่ ้องอยู่ในเส้นก็เป็นศิลปะได้ ไม่ต้องปิดขาวทัง้ หมดกเ็ ป็นศลิ ปะได้ ให้ เขาได้รู้ว่าทุกอย่างมนั เป็นศิลปะได้เหมือนกันนะ เป็นความง่ายที่เราหยิบมาบอกเลา่ เป็นหลกั ฐานถึงความ 11
สวยงามของโลกทีเ่ ราอยู่ ไดส้ นุกไปกบั ความสร้างสรรค์บนโลก และอะไรอกี มากมายที่กส็ ามารถมีคุณค่าในตัว ของมันได้เหมือนกัน ตัวเราในฐานะคนที่ทำงานด้านศลิ ปะ เราสนใจในการเปลี่ยนแปลงทางแนวคิดน้ีอยตู่ ลอดเวลา เพราะ ศิลปะแตกแขนงไปหลากหลาย เราจำเป็นต้องคดิ เปดิ กวา้ ง มีหตู ากวา้ งไกล และสำนึกไว้เสมอวา่ ศลิ ปะก็เกิด จากความคิดของผูค้ น ศิลปะของเราก็มีเพยี งเราทีเ่ ขา้ ใจความงามไดอ้ ย่างแทจ้ ริง ศลิ ปะของเขาก็มเี พียงเขาท่ี เข้าใจความงามได้อย่างแทจ้ ริงเช่นกัน ดงั นัน้ ให้ชนื่ ชมและเพลดิ เพลินไปกบั สิ่งทผ่ี ูค้ นถ่ายทอดออกมานัน่ แหละ ส่วนการตัดสนิ ก็ใหค้ นสร้างงานเขาเปน็ คนตดั สนิ ไปแลว้ กัน เพราะ \"ศลิ ปะ\" ไม่ได้ต้องการคำยอมรบั จากคนท่ไี ม่เขา้ ใจศิลปะ แตเ่ ป็นบคุ คลท่ใี ช้เวลากับศลิ ปะเพอื่ ศลิ ปะเท่านั้นจึงจะเข้าใจความงามอยา่ งแท้จริง อา้ งอิง Virunphat Bangroy. ความหมายของศลิ ปะ. จาก https://sites.google.com/site/virunphatart/khwam- hmay-khxng-silpa ประกิต กอบกจิ วฒั นา. Art IS Art Art IS Not Art อะไร(แมง่ )กเ็ ป็นศลิ ปะ. จากhttps://minimore .com/ b/art-is-art/1 12
ศลิ ปะ ขับเคล่ือนชวี ิตมนษุ ย์ ณฐั นันฑ์ สุตะโคตร ศลิ ปะ คือ ผลงาน รวมถงึ กระบวนการที่มนุษยเ์ ฉกเชน่ พวกเราไดส้ ร้างขึ้น เพอื่ ถา่ ยทอด ส่ือสาร แสดง ถงึ อารมณแ์ ละแนวคิดออกมาให้ผชู้ มงานไดต้ ีความ จากความหมายขา้ งตน้ ของคำว่าศลิ ปะอาจจะดเู ป็นเคร่อื งมือทแ่ี สดงแนวคิด เพ่ือสื่อสารต่าง ๆ แต่ แทจ้ ริงแลว้ ศิลปะ เป็นตัวแปรสำคญั ในการขับเคล่ือนชีวิตมนษุ ย์ ลองนึกภาพตามว่าในขณะท่เี ราอยยู่ ุคดิจิทลั มกี ารวาดภาพบนจอแสดงผล มีเทคโนโลยีไวส้ รา้ งผลงานออนไลน์ ไว้อำนวยความสะดวกติดตอ่ ส่ือสาร แต่เรา เรม่ิ จากยคุ สมยั สองพันปกี ่อนยงั ใช้แค่เลือดของสัตวใ์ นการส่ือสารและประดิษฐต์ วั อักษรขึ้นมา ศลิ ปะเป็นเครื่องมอื ในการขบั เคลื่อนสังคม หรอื เรยี กได้ว่า ศลิ ปะเปน็ ปัจจยั หนึ่งในการดำรงชีวติ โดย อาศยั มนุษยเ์ พื่อให้ศลิ ปะนั้นถูกเรียกว่าเปน็ ศิลปะอย่างสมบูรณ์ ศลิ ปะเปน็ ผลงานที่มีการบนั ทึกผา่ นภาพท่ีเขียน จากฝาผนัง ผืนผ้าใบ ตลอดจนบนหน้าจอเคร่ืองมือส่ือสาร ถ่ายทอดถงึ ความคดิ จติ ใจ เหตุการณส์ ำคัญ สะท้อน มายังสงั คมให้ตระหนักถงึ คณุ ธรรม ค่านิยม การดำรงชีวิตในแต่ละวนั ตลอดจนมีการพัฒนา การปรบั ปรงุ แก้ไข เพอ่ื ใหส้ ่ิงแวดล้อมและมนุษยชนมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น โดยยังสานต่อสงิ่ ที่ควรมไี วใ้ นยคุ สงั คมปัจจบุ ัน เปรยี บเทยี บคือ ศลิ ปะอย่ใู นทุกแห่งทุกสาขา เศรษฐกจิ การงาน อาชพี การศึกษา สังคม รวมถงึ คุณธรรม จริยธรรม ล้วนแล้วถกู ศลิ ปะเข้ามาแทรกแซง เข้ามายกชูให้เจริญขึ้น หากจะคิดภาพให้ง่าย ๆ เช่น การพูดโนม้ นา้ วจติ ใจคนกเ็ ป็นศิลปะการพูด วาทกรรม หรอื จะเปน็ การ ทำธรุ กิจผลติ สินค้าก็ต้องใชค้ วามงาม คุณภาพของผลติ ภณั ฑ์ หรือ การออกแบบตามความต้องการของผูบ้ ริโภค รวมไปถึง การชุมนุมเพื่อสทิ ธเิ สรภี าพ ก็เป็นศิลปะการแสดงออกเชิงสญั ลักษณ์ ก็เรยี กไดว้ ่าเปน็ ศิลปะ ซ่งึ จะ สง่ ผลทางสงั คมทั้งทางตรงและทางออ้ ม จุดเลก็ ๆทีร่ วมกนั เป็นหลายจดุ ต่อกันเป็นเส้น เช่ือมโยงรวมกันเป็น รปู ร่างข้ึนมา เปน็ โครงสรา้ งเป็นรากฐานเพื่อต่อยอดพัฒนาต่อไป แต่อย่างไรกต็ ามศิลปะเปน็ เพียงเครอื่ งมอื หนึง่ ทีม่ นุษย์นำมาใชเ้ พ่ือให้สงั คมเกิดการขบั เคลื่อน โดย ขึ้นอยกู่ ับผสู้ ร้างศิลปะผู้นนั้ อยู่ต้องการให้สงั คมขบั เคล่ือนไปในทศิ ทางใด โดยเปน็ ไปไดท้ ้ังเชิงบวกและเชิงลบ จุดประสงคข์ องผลงานกเ็ ป็นไปตามการดำเนนิ การของผู้สร้าง ศลิ ปะจะไม่ถกู เรยี กว่าศลิ ปะ หากขาดความคดิ สรา้ งสรรค์ ขาดความหมายในการทำงาน และขาดกระบวนการทำงานของมนษุ ยเ์ ฉกเชน่ พวกเรา 13
ศลิ ปะเกีย่ วข้องกับเราไดอ้ ยา่ งไร วัลลภา เทียนทอง หากจะกล่าวถึงจุดเร่ิมต้นในโลกของศลิ ปะแล้ว คงต้องย้อนไปเมื่อหลายพันปีก่อนท่มี นษุ ยเ์ ร่ิมประดษิ ฐ์ สง่ิ ของเครอ่ื งใช้ อุปกรณ์ล่าสตั ว์ สร้างส่ิงอำนวยความสะดวกและเพ่อื ความปลอดภยั สำหรับการดำรงชีพและ การอยู่ รอดของมนุษย์ เหน็ ได้จากภาพวาดฝาผนัง หรอื ภาพเขยี นโบราณท่ีถกู คน้ พบภายในถำ้ นอกจากไม่ เพียงแต่เปน็ ชา่ งเขยี นแล้วยงั เป็นช่างในทางจิตรกรรมและการแกะสลกั อีกด้วย ทั้งน้ียังในเรือ่ งของความเชอ่ื ความกลวั ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มก่อใหเ้ กิดพิธกี รรม การรวมกลุม่ กันจนเกิดเป็นสงั คม การคดิ ริเรมิ่ การรบั รู้ ในส่งิ ท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อจิตใจ การอยากตอบสนองความต้องการของตัวเอง ทำให้เกดิ การสรา้ งสรรค์และการ แกป้ ญั หาในการสรา้ งศิลปวตั ถทุ ี่ แตกต่างไปจากลักษณะของธรรมชาติ เป็นรากฐานทำใหม้ นุษยแ์ ต่ละสมยั เกดิ แรงกระตนุ้ และแรงบันดาลใจในการ ทำงานศลิ ปะต่อไป นับว่าเปน็ การเร่ิมตน้ ของการสร้างสรรค์งานศิลปะใน ยคุ ต่าง ๆ (วริ ตั น์ พิชญไพบลู ย.์ 2524) ศิลปะ คืออะไร? ทำไมคนเราถึงตอ้ งเกย่ี วข้องกับศิลปะ ซ่ึงจริงๆแลว้ ศลิ ปะเกิดขึน้ มาได้ก็เพราะเปน็ สิ่งท่ี มนษุ ย์คดิ ค้นขึ้นมาโดยแสดงออกมาจากความรู้สึก อารมณ์ จากจินตนาการ การเลียนแบบตน้ แบบ หรือการ สร้าง จากความคิดท่คี ดิ ขึ้นมาเอง มกี ารใช้ความรู้ความสามารถ ความเข้าใจ การคิดวเิ คราะหแ์ ก้ปัญหา ความคดิ สรา้ งสรรค์และเป็นเครอ่ื งมือระบายถา่ ยทอดมนั ออกมา ในเรื่องของสุนทรยี ภาพ ความประทับใจ เร่ืองราว และมี ความสำคัญเปน็ อย่างมาก ศิลปะจะมีสว่ นช่วยเสริมสรา้ งจิตใจของมนุษย์ให้สงู ข้นึ กลอ่ มเกลาจติ ใจให้ อ่อนโยนทำให้เกดิ ความกลมกลนื ความรักสามคั คีต่อกนั ในขณะเดียวกันก็มสี ่วนช่วยเสรมิ สร้างและพัฒนา สตปิ ัญญาของมนุษย์ ด้วย เม่อื หนั มาทบทวนดจู ะพบวา่ ลึกๆแล้วชวี ติ ของตวั เราก็มีความเกยี่ วข้องกับศิลปะ ซ่งึ เรามีโอกาสสมั ผัสกับศลิ ปะ ทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมทง้ั ได้รับอิทธิพลจากสิ่งรอบตัว ครอบครวั สังคม เศรษฐกจิ การเมอื ง วัฒนธรรม ศาสนา ธรรมชาติ ทัศนคติ ความเชือ่ คา่ นิยม ความชอบ ความไมช่ อบ ทำให้ มนษุ ย์มีการรับรู้ในเรื่องศิลปะ สนุ ทรียภาพในจติ ใจ เพยี งแต่ไมเ่ ท่ากนั ทำให้มนษุ ย์มีความหลากหลาย แหลาย คนก็ไมเ่ ห็นความสำคัญของศิลปะ อาจเพราะดว้ ยประสบการณ์ ความพร้อมอะไรหลายๆ อยา่ งท่ีไมเ่ อื้อต่อการ รบั รู้เกยี่ วกบั ศลิ ปะ ทำให้ไมเ่ ข้าใจ แบ่งแยกเอาศลิ ปะออกจากชวี ิต ทง้ั ๆ ที่มันศลิ ปะกบั ชีวิตกค็ ือ สิ่งท่ีเก่ียวข้อง กัน ศลิ ปะที่เห็นได้งา่ ยๆในชีวิตประจำวันเกย่ี วของในเรื่องของความงามท่สี ามารถมองเหน็ ได้ด้วยตา เช่น การส่ือสาร ไม่ว่าจะเปน็ การพูด การใช้ท่าทาง การใช้สญั ลกั ษณ์ เป็นการใช้ศลิ ปะในการส่ือสารเพ่ือให้เกิดการ สอ่ื สารทด่ี ี เขา้ ใจ ส่ือความหมายไดอ้ ย่างเจนและยังสรา้ งทศั นคตใิ นเชงิ บวกให้เกดิ ขึ้นไดด้ ้วย ซง่ึ หากส่ือสารไม่ดี ก็อาจจะทำใหเ้ กดิ ปัญหาตามมา, การแตง่ กาย เป็นสิ่งท่ีอยู่ภายนอก บ่งบอกถึงลกั ษณะของผ้ใู ส่ ช่วยส่งเสรมิ 14
เรื่องของรูปลักษณ์ บคุ ลิกภาพ ช่วยใหม้ น่ั ใจ ใหด้ ดู ีขนึ้ ได้ ซ่ึงแตล่ ะคนก็มีสไตลก์ ารแต่งตวั ของตวั เองที่เกดิ จาก ความชอบ ความเหมาะสม ความจำเปน็ ของผู้ใส่ ศลิ ปะกจ็ ะมาชว่ ยในเร่อื งของการออกแบบเคร่ืองแต่งกาย เพอื่ ใหเ้ หมาะกับแต่ละบคุ คล รวมไปถึงข้าวของเครื่องใช้ท่มี ีหลากหลายให้เลือก, ดนตรี เพลง หนงั ภาพถ่าย ภาพวาด วรรณกรรม นยิ าย ประตมิ ากรรม สงิ่ เหลา่ น้กี เ็ กิดจากการใชค้ วามรู้สกึ อารมณ์ การสรา้ งสนุ ทรียภาพ ข้ึนมาใหเ้ กดิ เปน็ งานศิลปะชนิดหน่ึงเพื่อจรรโลงใจ ให้ขอ้ คิด ใหจ้ ินตนาการ ถ่ายทอดอะไรบางอยา่ งออกมาสู่คน ทฟี่ ัง ดู และอ่าน, วัฒนธรรม ประเพณี ทเี่ กิดขึน้ ประจำท้องถ่นิ ประจำชาติ ก็เป็นศิลปะท่ีเกย่ี วข้องกบั ชีวติ ของ คนในชุมชน เกิดเปน็ ภมู ิปญั ญา งานช่างหลาย ๆ แขนง การสรา้ งสง่ิ กอ่ สร้าง/สถาปตั ยกรรมต่าง ๆ นอกจากจะ สร้างเพือ่ เป็นท่อี ยู่อาศยั แล้วก็ยังต้องนึกถึงความงามดว้ ย เพื่อเป็นการสรา้ งบรรยากาศให้น่าอยู่ เหมาะสมกับ สภาพพ้ืนท่ี เปน็ ตน้ จะเหน็ ได้วา่ จรงิ ๆ แลว้ ถงึ เราจะไมร่ ู้ตัววา่ ศิลปะเข้ามาอยู่กับเราต้งั แต่เมอ่ื ไหร่ แต่มันก็เป็นส่งิ ทีอ่ ยู่กับ เรามาตลอด มีความเก่ยี วข้องกบั มนษุ ยเ์ ราและมีความสำคัญทจ่ี ะทำใหช้ ีวิตเรามีการพฒั นาไปในหลาย ๆ ดา้ น ในทางท่ดี ีขน้ึ อ้างอิง วริ ตั น์ พชิ ญ์ไพบลู ย์. (2524). ความเข้าใจศิลปะ (พิมพค์ รงั้ ท่ี 1). กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัทสำนักพิมพ์ ไทย วัฒนาพานชิ . ศิลปะมาจากไหน. (มปป). สบื คน้ เมือ่ วน้ ท่ี 8 เมษายน 2564 จากhttps://sites.google.com/site/phorjan 05/silpa-ma-2 ต้นกำเนดิ ของศิลปะ. (มปป). สืบคน้ เมือ่ วนั ที่ 8 เมษายา 2564 จาก https://sites.google.com/site/artistryl ifesnakubz/bth-thi1-tn-kaneid-khxng-silpa ศิลปะคืออะไร. (มปป). สบื คน้ เมอ่ื วันที่ 8 เมษายน 2564 จาก https://sites.google.com/site/reuxngphes suk/silpa-khux-xari 15
หากคุณต้องการชยั ชนะ คุณจะแพใ้ หก้ บั ตัวเอง อัษฎาวธุ โคตรมา สังคมในปจั จบุ นั เต็มไปด้วยการแขง่ ขนั นบั ต้งั แตต่ ่นื เชา้ จนถึงการพักผอ่ นในเวลากลางคนื เราต้องคอย คดิ แผนการหรอื วิธกี ารตา่ ง ๆ มากมายเพอ่ื ท่จี ะแข่งขนั กบั ผู้อน่ื อยทู่ ุกวนั และเวลา แมก้ ระทง่ั ในวงการการศึกษา ก็ยงั มกี ารแขง่ ขนั บางครง้ั เราก็ชนะและบางครง้ั เราก็แพ้เช่นเดยี วกัน และทุกอย่างลว้ นมีผลทต่ี ามมา เราทกุ คนบนโลก ส่วนใหญ่โหยหาชยั ชนะ และเกลยี ดความพ่ายแพ้ เพราะความรสู้ ึกชนะมันช่างรู้สึกดี เสียเหลือเกิน มนั ทำให้เราได้ทุกส่ิงทเ่ี ราต้องการ ไมเ่ หมอื นกับการพ่ายแพ้ มันช่างรู้สกึ หดหู่ เดียวดาย ไม่เป็นที่ ตอ้ งการของสงั คม ความร้สู ึกเหลา่ น้ีลว้ นมีตน้ กำเนดิ มาจากการถกู ปลกู ฝงั ตงั้ แต่เดก็ ๆ เชน่ การวงิ่ แขง่ การแข่ง ทักษะวิชาการ การประกวดกิจกรรมต่าง ๆ ความคาดหวงั ของครอบครัว เป็นต้น ทำให้เกิด “ภาวะแพ้ไม่เปน็ ” ซง่ึ อาจจะทำให้เราใช้ชีวิตลำบากมาก ๆ เมื่อเราเรมิ่ เปน็ ผใู้ หญ่ และยังหาทางกำจัดความรสู้ กึ น้ไี มไ่ ด้ ความรู้สกึ แพ้ไม่เปน็ จะสร้างตัวตนหน่งึ ของเราขึ้นมา เมอ่ื เราได้ทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื เราจะคอยสังเกตคน รอบขา้ งอยู่ตลอด เพราะเมอื่ ไหร่ที่คนคนน้ันมีผลงานดเี ด่นมากกว่าของเราในช้ันเรียนหรือในกลมุ่ เราจะเร่ิมนับ คนคนนั้นเป็นคู่แข่งที่ต้องเอาชนะทันที ส่งที่ตามมานั้นคือความเครียด เครียดที่จะต้องหาทางว่า ทำอย่างไร ผลงานเราจึงจะเหนือกว่าคนคนนั้น จนทำให้เราลืมความเป็นเพื่อนกับคนคนนั้นไป และหากทุก ๆ วันมีคนที่ ผลงานดี ๆ เพม่ิ ข้นึ ศัตรขู องเราก็จะเพิ่มมากขน้ึ จนในที่สดุ เรากก็ ลายเปน็ คนที่ไมม่ ีเพ่ือน จมอยู่กับความพ่าย แพ้ที่ติดในจิตใจ ส่งผลกระทบต่อร่างกายและการทำงานที่มีประสิทธิภาพลดลง แต่ทุกสิ่งล้วนมีทางออกเสมอ เพยี งแตเ่ ราต้องตัง้ ใจทจี่ ะเปลย่ี นแปลงตัวเองเพ่ือบางสง่ิ เราไม่มีทางลืมสิ่งใด ๆ ได้ แต่เราสามารถเรียนรู้ที่จะอยู่กับมันได้ การแก้ไขความรู้สึกแพ้ไม่เป็นมีอยู่ หลากหลายวิธี แต่วิธที ่ผี เู้ ขียนจะนำเสนอคือ 1. การมเี หตแุ ละผลให้มากข้ึน กลา่ วคอื การนำความรสู้ ึกของเรามาวิเคราะห์ว่า อะไรทำให้เราคิดท่ีจะ เอาชนะ และเราจะได้อะไรนอกจากความรูส้ กึ เหนือกว่า แลว้ สงิ่ ท่ไี ดพ้ ฒั นาอะไรในตัวเราได้ 2. การเรียนรู้จากคนที่ประสบความสำเร็จ คือการศึกษาชีวประวัติ หรือแนวความคิด แนวทางการใช้ ชวี ิต แล้วนำเอาสว่ นนน้ั มาปรับใชก้ บั ตนเอง 3. การสร้างแรงบันดาลใจให้ตนเองในการใช้ชีวิต จากการดูหรือฟังวิทยากรหรือผู้มีความรู้ หมอ และ ส่ือออนไลน์ เพอื่ การสรา้ งความเขา้ ใจ และดึงเอาคุณค่าที่มอี ยู่ในตนเองออกมา การคิดที่จะเอาชนะ หากเราชนะ ความรู้สึกมันช่างหอมหวาน แต่ถ้าแพ้เราก็จะเศร้าและผิดหวังใน ตัวเอง ตัดพ้อและอยากจะชนะให้ได้ ความทะเยอทะยานนั้นเป็นสิ่งที่ดี แต่หากเราใช้ไม่ถกู วธิ ี มันอาจจะสร้าง ผลร้ายมากกว่าผลดีแก่เราได้ เราไม่จำเป็นที่จะต้องชนะทุกคนที่อยู่รอบตัวเรา แต่จงชนะจิตใจที่แข็งกระด้าง ของเราให้ได้ และเปล่ียนให้เปน็ จิตใจที่อ่อนโยน สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนได้ เราจะไมโ่ หยหาชัยชนะเพื่อชิงความ 16
เป็นใหญ่ แต่เราจะทำให้ตัวเองมีความสุขระหว่างการใช้ชีวิตนี้ให้มากที่สุด สิ่งที่ผู้เขียนได้แนะแนวทางในการ ปรบั เปลยี่ นตวั เอง อาจไม่ใช่สำหรับบางคน แตผ่ ู้เขียนกห็ วงั วา่ บทความน้ีจะสามารถชว่ ยได้ไมม่ ากกน็ ้อย 17
18
“ศิลปะกบั การสรา้ งสรรคส์ ังคม” กนกพร ไชยสิทธางกรู ความสุข ที่ได้เรียนรู้ ไดท้ ำงานในส่ิงท่ีตนเองรักนั้นก็เปรียบเสมอื นกบั การไดร้ ดนำ้ พรวนดินให้กบั ดอกไม้ที่ตนเองรัก ตอ้ งคอยดูแลเอาใจใส่ ฟมู ฟัก ประคบประหงม และในซักวันดอกไมน้ ้ันก็จะออกดอกผลิบาน งดงาม เช่นเดียวกบั การท่เี ราน้ันไดพ้ ยายามทำในส่งิ ทีม่ ีความสขุ ไม่ว่าจะเป็นงานอะไรในภายภาคหนา้ ถ้าเรานั้น ไดพ้ ยายามมากพอ ผลจากความพยายามทีม่ าจากความรักนน้ั จะทำให้เราประสบความสำเร็จได้อยา่ งแนน่ อน ส่วนพลงั หรอื ความสามารถของผู้ทจ่ี ะไขวค่ ว้าความสุขมาเป็นของตัวเองไดน้ น้ั ขึ้นอยู่กับสมรรถภาพของตวั เอง และสมรรถภาพของสงั คม ซ่ึงหมายถึงวา่ พลงั นั้นจะเกดิ ขึ้นไดม้ ากน้อยแค่ไหน ต้องอยูท่ ีค่ วามรว่ มมอื ของคนใน สังคมและตัวตนของแต่ละบุคคลเปน็ สำคัญอยา่ งเร่ืองของศิลปะ ทค่ี นสว่ นมากน้นั ตระหนักดีวา่ มันเป่ยี มล้นไป ดว้ ยความงาม ดังนนั้ ศิลปะ จึงสามารถนบั เปน็ ปจั จยั หน่ึงท่ีสรา้ งสรรคป์ ระเทศ ลดความเหลื่อมล้ำและสร้าง ความเปน็ ธรรมในสังคมได้เป็นอย่างดี ที่มนุษยชาติน้นั ไมค่ วรปลอ่ ยให้มนั ไร้คุณคา่ ภายในสังคมมีการพัฒนา กา้ วหน้าของเทคโนโลยี หรือโลกาภิวัฒน์ ศลิ ปะและสังคมของมนษุ ย์นัน้ ไดม้ กี ารเกดิ ขึน้ มาพรอ้ มกันในทกุ ยุคทุกสมัย อย่างเช่นการดำรงชีวติ ของ มนุษย์ในยคุ โบราณหรือยคุ หินน้นั ได้มีการทำเครื่องมอื จากเศษวัสดุทที่ ำขึน้ มาจากธรรมชาตแิ ละสง่ิ รอบตวั เอา มาเหลาใหแ้ หลมคมคล้ายบั มีดพรา้ ทำให้จบั ถนดั มือเพื่อเอาไว้ใชใ้ นการทำมาหากนิ เช่น ลา่ สัตวห์ ุงหาอาหาร ป้องกนั ศตั รู ป้องกันตวั จากสัตว์ร้าย เป็นต้น เม่ือไดส้ ัตวม์ ากจ็ ะนำเลือด มาขีดเขยี นไว้ภายในทอ่ี ยู่อาศยั ของตน เช่น ภายในถำ้ จะเหน็ ไดว้ ่าภาพเขยี นฝาผนงั ในถำ้ ทหี่ ลากหลายในแต่ละประเทศนั้น มกี ารใช้ สจี ากเลือดของ สตั ว์ ยางไม้ ดิน และสีจากธรรมชาติอื่น ๆ อีกมากมาย สงั คมไทยในปัจจุบนั น้นั ได้มีพัฒนาการเกดิ ขน้ึ เปน็ อย่างมาก ซง่ึ ผลท่ีตามมาน้ันกค็ ือเกิดการเหลอ่ื มล้ำ ขน้ึ ภายในสังคม ไมเ่ ว้นแม้กระทัง่ ในดา้ นของศลิ ปะ ซ่ึงการพัฒนาศิลปะและตัวบุคคลคือศลิ ปนิ เองนั้นจะตอ้ งมี การพัฒนาควบคกู่ ันไปตามยุคตามสมัยใหท้ นั โลก เน่ืองจากมนุษยเ์ ราแตกต่างจากสตั ว์อน่ื อีกท้ังยังมีสมองทเ่ี ลอ เลศิ มคี ุณภาพสูงสุดกว่าสัตวท์ ุกชนิด ทำให้สามารถประดิษฐ์คิดค้นอะไรออกมาได้อย่างมากมายมหาศาล ไมว่ า่ จะเป็นไปได้หรอื ไม่ได้ การเกิดขน้ึ ไดย้ ่อมมีความเป็นไปไดส้ ูงกว่าล้มเหลว ต้องดำรงตนไปตามแนวคิดทีย่ ึดถือได้ ว่าดว้ ยความเปน็ จรงิ ความดี ความงามหรือสนุ ทรียศาสตร์ และนจ่ี งึ เป็นสง่ิ ท่ีพิสจู นไ์ ดว้ า่ มนุษย์น้นั สามารถใช้ งานศลิ ปะมาเปล่ยี นแปลงสงั คมได้ ดังนนั้ จึงมีการรวมตัวของกลุม่ ศิลปินผู้สรา้ งงานศลิ ปะขน้ึ พวกเขาไดต้ ้งั ปณิธานที่จะเดนิ สายสญั จรไป ทัว่ ประเทศเพ่ือใชค้ ณุ ค่าทางศิลปะสรา้ งสรรคแ์ ละพัฒนาสังคมและตวั บุคคลใหเ้ กิดความสขุ ในชวี ติ ข้ึนมา (ปานมณ,ี 2554) 19
สุดท้ายแล้วกส็ รุปได้วา่ ศลิ ปะกบั การสร้างสรรคส์ งั คมนั้นเป็นของคู่กนั มาตงั้ แต่อดีต เชือ่ มโยงไปกบั ทุกยุคทกุ สมัย และศิลปะจะเปน็ ตัวขบั เคลอ่ื นสังคมให้ไปในทศิ ทางใด ขน้ึ อยกู่ ับความก้าวหน้าและการพฒั นา ของคนในยุคน้นั ๆ ซ่ึงยคุ สมยั นี้นั่นก็คือการทน่ี ำเอาเทคโนโลยเี ข้ามามีส่วนชว่ ยเหลือให้ศิลปะนัน้ มีการเติบโต และยกระดับขน้ึ จากแต่ก่อนทใี่ นอดตี ศลิ ปะน้ันยังไม่ถกู พิสูจนแ์ ละถกู เพิกเฉยวา่ มนั เปน็ สิ่งท่ไี มจ่ ำเปน็ ต่อ สังคมไทย แตใ่ นยุคสมยั น้ศี ลิ ปะกลบั ถูกพูดถงึ และนำมาเป็นตัวช่วยในการขับเคล่ือนและสรา้ งสรรค์สงั คมเพมิ่ มากยิง่ ขึ้น การสรา้ งศลิ ปะเพ่ือสะท้อนปัญหาในสงั คม เช่น การทำงานศลิ ปะที่เกีย่ วข้องกับโรคระบาด covid- 19 ในปัจจบุ นั ขึน้ มา เพื่อใหผ้ ู้ท่เี สพงานหรือพบเห็นงานศิลปะชน้ิ นี้ ไดย้ ำ้ เตือนสติ ตระหนักถึงการป้องกนั ตัวเอง การเฝ้าระวงั และการร่วมมอื กันข้ามผา่ นวกิ ฤตในครั้งน้ไี ปให้ได้ นี่เปน็ เพียงสว่ นหนึ่งทก่ี ลา่ วถงึ การนำศิลปะมาประยุกตใ์ ช้ใหเ้ ข้ากบั สงั คมไทยในปจั จบุ ัน ยังมีประเดน็ อีกหลาย ๆ ประเดน็ ที่ยังไมถ่ ูกพูดถึงและยกมาตั้งคำถาม ตั้งข้อสงสัยและข้อสังเกต การอ้างถงึ หรือการหา คำตอบอกี มากมาย อา้ งอิง “ความงดงามทางศิลปะ จรรโลงใหโ้ ลกเต็มไปด้วยความสุข” , หนังสอื พมิ พ์แนวหนา้ โดย ปานมณี, (2554) วนั ท่ีสืบค้น 9 เมษายน 2564 [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.thaihealth.or.th/ “ศลิ ปะกบั สังคมมนษุ ย์” , วรี ะยุทธ โพธิศ์ รี, (2554) วันทีส่ ืบคน้ 9 เมษายน 2564 [ออนไลน]์ เข้าถงึ ไดจ้ าก https://arnantana.wordpress.com/ 20
รางวลั ของศิลปะ ชญามนิ ทร์ เกตุเมฆ ศลิ ปะเปน็ ส่งิ ทช่ี ว่ ยพัฒนาความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ของมนษุ ย์ เป็นการแสดงออกอย่างเสรี แตน่ ่า เสยี ดายท่ีในสังคมปจั จบุ ันผู้คนส่วนหนึ่งมองวา่ ศิลปะมไี วเ้ พื่อแข่งขันเพ่ือรางวลั เพราะศิลปะมกั จะมีรางวัลเปน็ ส่งิ ล่อใจ โดยเฉพาะครูศลิ ปะบางคนทีย่ งั ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาศลิ ปะและมักจะเขา้ ใจผดิ คิดว่าการจะ พัฒนาเด็กต้องให้เดก็ แขง่ ขนั กันเองโดยใช้รางวัลมาล่อ เพือ่ กระตุ้นใหเ้ ดก็ เข้าร่วมการแขง่ ขัน ครูบางคนวาด ภาพขึน้ มาเปน็ ตัวอยา่ งเพือ่ ให้เดก็ ๆ ลอกตาม โดยไม่คำนึงถงึ ความคดิ จริง ๆ ของเด็กเลยดว้ ยซ้ำ เพียงเพื่อท่ี ชนะการแข่งขนั ด้วยค่านยิ มแบบนนี้ เี่ องที่ทำใหเ้ ด็ก ๆมองชีวิตเปน็ การแข่งขนั แข่งขนั กบั คนอื่นยงั ไม่พอ ยงั ต้องแขง่ ขนั กับตวั เองดว้ ย โดยทัว่ ไปรางวลั เปรียบเหมือนเปน็ ดาบสองคม มที ั้งคณุ และโทษ ขึ้นอยู่กับผูใ้ ชว้ ่าจะมีสติปญั ญารู้จัก เลอื กใชใ้ ห้เกดิ คุณประโยชนห์ รอื ไม่ ในสว่ นของ ข้อดี คือ รางวัลอาจเป็นตัวกระตุ้นใหเ้ กดิ แรงผลกั ดัน เกิดการสร้างแรงจูงใจ (Motivation) เพื่อชกั จงู ให้เกิดการรว่ มงาน เป็นตัวเร่งเรา้ ให้เกิดความกระตือรอื รน้ นอกจากนี้ รางวัลยงั เปน็ สัญลกั ษณข์ องการยอมรับและยกย่องในด้านฝีมอื และความสามารถ โดยเฉพาะคนบางคนทม่ี ีปมดอ้ ยต้องการ ลบลา้ งปมด้อยเหลา่ นน้ั เพือ่ สร้างปมเดน่ ให้กับตนเอง ซึ่งเป็นเร่อื งท่ีดีท่เี พราะถือวา่ เป็นการพฒั นาตนเองไปใน ตวั เป็นการเพื่อทดแทนในส่ิงทต่ี วั เองยังไม่มีหรือสว่ นทข่ี าดไป ทำใหเ้ กิดความภาคภมู ใิ จและมั้นใจในตนเอง มากขึ้น และในส่วนที่เปน็ ข้อเสยี คอื ทำให้คนเหน็ แกต่ ัว คดิ ว่าตวั เองเหนอื กวา่ ผู้อื่น ทำอะไรกจ็ ะคำนงึ ถงึ แต่ ผลประโยชน์ จนอาจลืมไปว่าจดุ ประสงคท์ ี่แทจ้ ริงของการทำงานศิลปะคอื อะไร สง่ ผลเสียใหแ้ ก่ศลิ ปะโดย ส่วนรวม นอกจากน้ยี งั เปน็ การแบ่งแยกคนท่ีรักศลิ ปะออกเป็น 2 ฝ่าย มีท้ังฝ่ายชนะ และฝ่ายแพ้ คนท่ีชนะก็ รู้สกึ อยากจะชนะไปเรอ่ื ย ๆ คนท่ีแพ้ก็รูส้ กึ เกลยี ดศลิ ปะไปเลยกไ็ ด้ การให้รางวัล มีอทิ ธิพลหรือกอ่ ใหเ้ กดิ เป็น แรงจงู ใจทจ่ี ะกระตุ้นให้เด็ก ๆ ทุ่มเทกำลงั กายและเวลาปฏิบัติงานอย่างเตม็ กำลัง มขี วญั กำลงั ใจที่ดี รกั และ หวงแหนผลงาน ถึงอยา่ งไรก็ตาม การทเ่ี ด็กมุ่งเน้นถงึ รางวัลมากจนเกินไปอาจเป็นการสร้างคา่ นยิ มผิดๆทำให้ สงั คมมองศิลปะเป็นเรื่องยากและไกลตัวมากขึน้ ไปอกี การใหร้ างวลั จึงตอ้ งให้อย่างเหมาะสมและระมัดระวัง เพอ่ื ให้มคี ุณค่า มีความความหมายตอ่ ผู้ท่ีไดร้ ับ ไม่เช่นนั้นจะเกิดความแตกแยก เพราะมุ่งรางวลั มากกวา่ การ ทำงานดว้ ยใจรกั ดังนนั้ การใหร้ างวลั จะต้องเช่ือมโยงใหเ้ กิดความตระหนักเห็นคุณคา่ ของตนเองต่องานศิลปะ และท่มุ เทการทำงานอย่างเต็มที่ เดก็ บางคนท่ีได้รางวลั จะรู้สึกภาคภมู ิใจตัวเอง เมอ่ื ไดร้ างวลั มาครัง้ หน่งึ แลว้ ก็ อยากจะได้อีกเปน็ ครงั้ ทสี่ องและสามทำให้เกดิ ความคาดหวังและกดดนั กับตัวเอง จงึ กลายเปน็ ว่าการแขง่ ขัน 21
ไมไ่ ดท้ ำให้เด็กวาดภาพอยา่ งมีความสขุ อกี ต่อไป รางวัลจากฝมี ือของครศู ลิ ปะทีท่ ำลายความคดิ จนิ ตนการ ความบรสิ ทุ ธ์ไร้เรยี งสาของเด็กเพื่อแลกกบั ชอื่ เสยี ง รางวลั โล่ ใบประกาศนยี บัตรเอามาติดประดบั ไวใ้ นตู้โชว์ ของโรงเรียน บรรยากาศของการแขง่ ขันในปจั จบุ นั ประกอบกับมีการใช้ทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจกันมากขนึ้ ก็เรม่ิ มี การใหร้ างวลั เป็นการกระตนุ้ เพ่ือให้ผู้คนเกดิ ความสนใจ เขา้ ร่วมการแขง่ ขัน ซง่ึ ก็เปน็ การดีไมไ่ ดผ้ ดิ อะไร แต่ก็ ตอ้ งระวัง เพราะถา้ มากไปไม่มีความพอดี ก็อาจทำให้หลกั การเพย้ี นไปได้ เพราะหลายต่อหลายครั้งกลายเปน็ ว่าถา้ ไม่มีรางวัลเปน็ ตวั จูงใจก็จะไม่คอ่ ยให้ความสำคญั กบั การศิลปะหรอื การใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ จนลืมไปว่า บางจุดประสงค์ทแ่ี ท้จริงของการแขง่ ขนั นั้นเพ่ืออะไร นเ่ี ปน็ บทความที่บอกใหร้ วู้ ่ารางวัลยอ่ มเปน็ ดาบสองคมมที ้ังขอ้ ดแี ละข้อเสยี ข้ึนอยกู่ บั ผู้รับและผูใ้ หพ้ ึง ใช้สติปญั ญาคิดใคร่ครวญใหถ้ ่ีถว้ น อยา่ หลงระเริง งมงายยึดติดกับสงิ่ ของท่ีอยู่นอกกาย การแขง่ ขันน้ันจดั ข้ึนไม่ ผิดอะไรแต่จดุ ประสงคท์ ี่แทจ้ รงิ ของการแข่งขนั คอื อะไร ไม่ใช่การพัฒนาตนเองหรอกหรือ แข่งขันกบั คนอน่ื ก็ ยังมตี วั เองเป็นเพ่ือน แตแ่ ข่งขันกบั ตนเองแล้วจะมีใครเปน็ เพื่อนอกี อนั รางวัลใด ๆ ในโลกนัน้ ล้วนสร้างข้นึ เพื่อ จงู ใจเป็นแรงกระตนุ้ ในการสร้างสรรค์ เปน็ ผลพลอยไดเ้ ท่าน้ัน แต่จุดหมายที่แทจ้ ริง คือการพัฒนาความคิด จินตนาการอนั ไร้ขอบเขตจำกัด (Infinity) น่ันเอง อา้ งอิง “ศิลปะเด็ก : ดอกไม้ในกำมือของผใู้ หญ่”โดยรองศาตราจารย์เลิศ อานนั ทนะ ,วันทส่ี ืบคน้ 9 เมษายน 2564 [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.thaiartstudio.com 22
ศลิ ปะ...กระจกสะท้อนความจริง ฐิตมิ า ดวงสุวรรณ์ ศลิ ปะเกิดข้ึนมาเมื่อใด อาจจะไม่มีใครหาคำตอบและท่มี าของจุดกำเนิดของศลิ ปะได้แนช่ ดั แต่สง่ิ ท่ีผูก ตดิ มาด้วยกันกับศลิ ปะอย่างหนึ่งทเี่ ราเห็นได้อยา่ งชดั เจนน้ันกค็ อื สังคม ถือไดว้ ่าศลิ ปะและสังคมเปน็ สว่ นหนึ่ง ของกันและมาโดยตลอดยากทีจ่ ะแยกออกจากกนั ได้ หากจะยอ้ นกลบั ไปหาคำตอบถึงทมี่ าของศิลปะ ก็คงต้อง หาคำตอบของจดุ เรมิ่ ต้นของคำวา่ สงั คมก่อน แตก่ ระนน้ั เกิดข้ึนเมื่อใด อาจไมส่ ำคัญมากนัก แตป่ ระเดน็ ทเ่ี ปน็ จดุ นา่ สนใจคือ ศิลปะกบั สงั คมเกิดขน้ึ เพราะอะไร? ภายใตว้ ิถชี ีวิตผู้คนในสงั คมปัจจบุ ันเราต่างพบเจอกบั ปัญหามากมาย ไม่ว่าจะน้อยหรือใหญ่ ไม่วา่ จะ เปน็ คณุ ภาพชวี ติ ความเหลื่อมลำ้ ทางสงั คม,สภาพแวดล้อมที่เสอื่ มโทรม, ปญั หาขยะพลาสติก, โรครา้ ยแปลก ใหม่ ปญั หาอาชญากรรม, ปญั หาทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ปัญหาด้านการเมือง,หรือแม้แต่มิตรภาพของผคู้ นทจ่ี ืดชดื แห้ง แลง้ เป็นตน้ ปัญหาเหลา่ นี้ตา่ งถกู นำมาเป็นประเด็นในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะโดยใช้ศิลปะเปน็ เคร่ืองมือ เพือ่ สะท้อนสงั คม ดังนน้ั เราจึงมักจะสังเกตเห็นไดว้ า่ “ศิลปะท่ไี ดร้ บั อิทธิพลจากสภาพความเป็นจริงของสังคม ที่ศลิ ปินไดส้ ัมผัสดว้ ยตวั เอง ซึ่งศิลปินได้นำเอาความรสู้ ึกเหล่านัน้ มานำเสนอ และถา่ ยทอดอารมณค์ วามรู้สกึ โดยผ่านผลงานศิลปะในรปู แบบต่าง ๆ และสอดแทรกเนื้อหาแนวความคดิ ทีส่ ะท้อนใหเ้ ห็นถึงสภาพ หรือเหตุ ความเป็นจรงิ ทีเ่ กิดขึ้นในสงั คม และปลกู จิตสำนึกเพ่ือกระต้นุ เตอื นให้ผ้คู นไดต้ ระหนกั ถึงคุณค่าของคุณธรรม ความดงี าม ความถูกตอ้ ง ซง่ึ เปน็ สิ่งทีข่ าดไมไ่ ด้ และมีความจำเป็นต่อสงั คม” (วิละสัก จนั ทลิ าด, 2562) ซงึ่ แต่ ละศลิ ปินก็มีแนวทางในการส่ือสารปญั หาออกมาในรูปแบบทหี่ ลากหลายและแตกต่างกัน แตเ่ มอ่ื มีความจรงิ ท่ี ปรากฏข้ึนจากการสะทอ้ นนั้นก็ยอ้ มมที งั้ ผทู้ ีร่ ับความจรงิ ไดแ้ ละรับความจรงิ ไมไ่ ด้ งานศลิ ปะบางอย่างที่มเี นอื้ หา กระทบกับใครคนหน่ึงหรือเป็นการเรยี กร้อง การตีแผ่ สะท้อนออกมาเปน็ ผลงานศิลปะ อาจไมไ่ ด้เป็นอสิ ระเสรี ในการแสดงออกต่อไป งานศิลปะบางอย่างท่ีมีผคู้ นกลมุ่ หน่ึงไมย่ อมรบั ศิลปะจึงถูกกดทับภายใต้กฎเกณฑ์ที่มี คนสร้างขน้ึ มา “เราทำงานศิลปะเหมือนลมหายใจ เราทำประจำ ทำทุกวัน ทำตลอดเวลา แตแ่ ลว้ วันหนึง่ มีคน สั่งห้ามเราทำงานศลิ ปะ มันเหมอื นมีคนอดุ จมูกไมใ่ ห้เราหายใจ” (มือบอน, 2563) ศิลปะเปน็ อาวธุ ทางปญั ญาอย่างหนง่ึ ท่ที ำใหเ้ ราเห็นภาพรวมของความเปน็ จรงิ และหากนำมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เราจะเหน็ ไดว้ า่ ประโยชนข์ องศลิ ปะนอกจากจะเป็นเหมือนกระจกสะท้อนภาพออกมาใหเ้ ราได้ ตระหนกั เหน็ ถึงปญั หาแลว้ ส่ิงทสี่ ำคัญคือมนุษยจ์ ะยอดรบั มองเหน็ ปัญหาและนำไปแก้ไขปญั หาที่เกิดข้นึ ได้ ศิลปะคืออาวุธทางปญั ญาเปน็ สง่ิ ทท่ี ำให้เราสามารถตระหนักคิดและมองเห็นถึงปัญหาทเี่ กิดขน้ึ จรงิ ได้ “ศลิ ปะมปี ระโยชนแ์ ละมีหลายฟงั กช์ นั คือไม่ได้ทำได้แคเ่ สนอความงามเท่านนั้ แต่สามารถให้ปญั ญา คน หรือทำให้คนรนุ่ ใหม่ได้มองเหน็ ปญั หาและเขา้ ใจสิง่ ทเ่ี กิดขนึ้ ในสังคม ดังนนั้ ศลิ ปนิ หรือศิลปะจึงคลา้ ยกับ กระจกที่ส่องสะท้อนภาพของสงั คม” (สาธติ า เจษฎาภัทรกุล, 2563) ปญั หาทีส่ ะทอ้ นออกมามีท้งั คนทมี่ องเห็น สามารถยอมรับ เปดิ ใจกับสิง่ ท่ีสงั คมกำลังเผชญิ อยู่ และตระหนกั เพือ่ แก้ไขปัญหาเหล่านั้นใหด้ ขี นึ้ และผทู้ ี่ไม่ 23
มองเห็น หรอื อาจจะมองเหน็ อยู่ แตไ่ มไ่ ด้ใส่ใจและให้ความสำคญั และสุดท้ายอาจมีผู้ท่ไี ม่ได้เห็นดว้ ยและ ยอมรบั กับปญั หาท่ีสะท้อนออกมา ศลิ ปะทส่ี ะท้อนออกมาอาจถกู วิพากษ์วิจารณ์ ถูกทำลายใหส้ นิ้ แม้กระทง้ั ผลงานศลิ ปะท่ีเปน็ ทรัพยส์ นิ ส่วนบคุ คลกอ็ าจถกู ขโมย หรอื ถูกนำมัดใสถ่ งุ ดำไปทิ้งจากกลุ่มคนท่ีไมย่ อมรับในการ แสดงออกของศลิ ปะและไมไ่ ด้มองเหน็ คุณคา่ เคารพในผลงานของศลิ ปิน กระจกบานนน้ั ที่ศิลปนิ สรา้ งข้นึ มา อาจไม่ได้มคี วามหมายและใช้ไมไ่ ด้ผลกบั ผคู้ นบางกลุ่ม แลว้ คุณมองเหน็ ภาพสงั คมปัจจุบันในกระจกเปน็ อย่างไร อา้ งอิง “ศลิ ปะล้อเลยี นสังคม” , วิละสกั จันทิลาด, (2562) วนั ทสี่ ืบคน้ 9 เมษายน 2564 [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jfa/article/view/163578 “ศิลปนิ กบั ศลิ ปะคือกระจกสะท้อนภาพของสังคม” – มือบอน , สาธติ า เจษฎาภัทรกลุ , (2563) วนั ท่สี บื ค้น 9 เมษายน 2564 [ออนไลน์] เข้าถึงไดจ้ าก https://www.the101.world/mue-bon-interview/ 24
ศิลปะเชอ่ื งโยงกับสังคมอย่างไร ไกล หรอื ใกล้ตัว อรัญญา ผิวทอง ศิลปะกับสังคมนั้น อยู่คู่กันมาช้านานทุกยุคทุกสมัยทุกหนทุกแห่ง รอบตัวเรา ตั้งแต่ผนังโบสถที่ สวยงาม ไปจนถึงกำแพงงวัด หรือศิลปะแขนงอื่นๆ ที่คอยขัดเกลาจิตใจมนุษย์ และสร้างความจรรโลงใจให้แก่ โลกที่โหดร้ายใบน้ี ไม่ว่าจะเป็นการใช้รูปวาดบันทึกเรื่องราว จารึกบุคคล ในประเทศฝั่งตะวันออกนั้น ให้ ความสำคญั กับศลิ ปะมากแตม่ ีหลายคนบอกว่างานศลิ ปะเข้าใจยาก เป็นเรือ่ งไกลตวั หลายคนกลวั ศลิ ปะ หลาย คนไม่เคยเข้าหอศิลป์ และอีกหลายคนอาจลืมไปว่าชีวิตของมนษุ ย์ล้วนมคี วามสนุ ทรยี ภาพทีเ่ กิดจากศิลปะเข้า มาเกีย่ วขอ้ งเสมอ จึงทำให้สังคมไทยในปัจจบุ ันมแี ต่ศลิ ปินท่สี ร้างงาน แต่กลบั มีคนดหู รือเสพงานศิลปะน้อยลง ทกุ ที คุณชลิดา เอื้อบำรุงจิต ผู้อำนวยการหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ได้กล่าวว่าศิลปะในประเทศเรา นั้นถูกผลักออกไปอยู่ข้างๆเสมอ เหมือนถูกมองว่าเป็นสิ่งที่ฟุม่ เฟือยของชวี ติ แต่จริงๆแล้ว ศิลปะเป็นสิ่งที่เปน็ พน้ื ฐานของทุกอย่าง ไมจ่ ำเปน็ ท่ีจะต้องมาแยกมองว่าจำเป็นหรือไม่ เพราะจำเป็นอยู่แล้ว และก็สามารถอยู่กับ ทุกคนได้ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งมองว่าตวั เองเปน็ คนตสิ ท์ (artist) หรือวา่ เด็กศิลปห์ รือเปลา่ แต่จะทำยังไงให้พ้ืนที่ของ ศิลปะเป็นพื้นที่ที่มคี วามสำคัญ “ ถ้ามองในมุมของ หน่วยงานภาครัฐก็จะต้องรับใช้ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี แต่ ในยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ศลิ ปวฒั นธรรมแทบจะไมม่ ที ่ีอย่เู ลย การเชอื่ มโยงจึงเปน็ เรื่องท่ียาก เพราะ บางทีส่ิงที่ ไม่ไดอ้ ยใู่ นนโยบายก็จะยากที่จะขบั เคลือ่ น จากเหตุการณ์ความไม่ชัดเจนบีบรัดด้วยข้อจำกัดเวลา และเส้นตายขีดไว้ที่เดือนสิงหาคม 2564 ท่ีกรุงเทพมหานคร ต้องตัดสินใจว่า จะให้มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร บริหารจัดการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หรือ หอศิลป์กรุงเทพฯ ต่อหรือไม่ ทำให้หลายคนที่ติดตามข่าวเริ่ม วิตกกังวล ถึงอนาคตชีพจรของหอศิลป์ใจกลางเมืองแห่งนี้ว่าจะเดินต่อ หรือถอยหลัง หรือจะเปลี่ยนถ่ายไปสู่ พ้ืนที่ศิลปะในรูปแบบใดต่อจากน้ีไป ทั้งนี้อนาคตของ หอศิลป์กรุงเทพฯ ไม่ได้มีความสำคัญแค่ว่าใครจะเข้ามา นั่งแท่นบริหาร แต่อนาคตของ หอศิลป์กรุงเทพฯ ยังเป็นคำตอบสำคัญของการจัดการพื้นที่ศิลปะในเมืองไทย รวมทั้งยังเปน็ บทพสิ ูจนว์ ่า ศิลปะน้นั ยืนยาวกว่าชวี ิตดังวลีคลาสสิกจรงิ หรือไม่ (ลกั ขณา คณุ าวิชยานนท์.2564) และเหตุการณ์ในครั้งนี้อาจกำลังตอกย้ำว่าการทำให้คนสามารถเข้าถึง เชื่อมโยง และบูรณาการศิลปะเข้ากับ ศาสตร์อื่น ๆ หรือการทำให้คนเข้าใจและเห็นคณุ ค่าของศิลปะ อาจเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการสรา้ งอนาคต และ ต่อลมหายใจให้กับวงการศิลปะไทยให้คงอยู่ต่อไป การสร้างคนดูงานศิลปะ จึงเป็นสิ่งหนึ่งที่ควรทำให้เกิดข้ึน ซึ่งหอศิลป์เป็นพื้นที่ปลอดภัยในทางสุนทรียภาพ ของคนในสังคม หมายความว่าการมีชีวิตอยู่ในประเทศ หรือ เมืองเมืองหนึ่ง มีหลายมิติ เช่นมิติในการดำรงอยู่ได้ในเชิงเหตุผลและเหตุผล อีกอย่างหนึ่งคือเหตุผลทาง ศีลธรรมและอนั ทสี่ าม เปน็ เหตุผลทีส่ ำคัญกบั การมชี วี ติ ของมนษุ ย์ คือเหตุผลในเชิงสนุ ทรียศาสตร์ สุนทรียภาพ ซึ่งไม่ใช่เหตุผลในเรื่องของผิดหรือถูกแต่มันเป็นเรื่องของรถสนิยม เป็นเหตุผลว่าเราชอบอะไร ไม่ชอบอะไร 25
พนื้ ที่แบบนี้เปน็ พนื้ ท่ที ี่ไม่ไดถ้ ูกใช้บ่อยในเมืองของเรา ประเทศของเรานัก หอศิลป์เป็นพนื้ ที่ที่ปลอดภัยในไม่กี่ท่ี ทท่ี ุกคนมีสทิ ธิท์ จี่ ะเขา้ มาดงู าน สอ่ื สาร แลกเปลย่ี นความคิด ปญั หาหลกั ทที่ ำให้คนในสังคมมองวา่ ศลิ ปะเป็นเรือ่ งไกลตัว อาจเป็นเพราะเขา้ ใจแค่วา่ ศลิ ปะคือการ แสดงออกซึง่ ความคิด ความรู้สึกของคนทำ และเป็นความสวยงาม แตส่ ิง่ ท่เี พ่มิ ข้ึนมาท่ีหลายคนอาจจะมองข้าม คือส่วนที่สามส่วนตัวมองว่าศิลปะเป็นสิ่งที่เชื่อม การเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจ ระหว่างกัน ทั้งในระดับสังคม ระดับเพื่อนบ้านหรือไม่ก็ทั้งในระดับประเทศ ศิลปะนั้นมีความสำคัญในตัวของมันอยู่แล้วแต่ แต่ความรู้ความ เข้าใจเหล่านี้มันยังไม่สง่ ถึง ยังไปไม่ถึงคนทั่วๆไป คนทั่วไปยังเข้าใจอยู่ว่า คนที่ทำงานศิลปะหรือชมงานศิลปะ เป็นคนที่มีความติสท์ซึ่งมองว่ามันไม่ควรจะมองแบบนี้จะต้องเข้าใจว่าศิลปะเป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถคิดได้ สร้างสรรคไ์ ด้ ทำได้เหมือนกันไมใ่ ช่แค่ตัวศลิ ปนิ สงิ่ ที่จะตอ้ งทำก็คือ จะต้องทำใหท้ ุกคนรับรู้และเข้าใจว่าศิลปะ เป็นเรื่องของทุกคน ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ ทุกคนสามารถเป็นได้ทั้งสามบทบาทคือ การเป็นศิลปินผู้ สร้างสรรค์งาน บทบาทท่ีเปน็ ผ้ชู มผลงานรบั รู้ผลงาน และผูอ้ ำนวยกระบวนการระหว่างตรงกลาง ศลิ ปะควรถูก มองวา่ เปน็ สิง่ ท่เี ข้าถงึ ไดจ้ ับตอ้ งได้ สิ่งที่เป็นปัญหาอีกคือ อาจเป็นเพราะการเรียนการศึกษาของเราด้วย ตั้งแต่ประถมจนถึงมัธยม เรา สอนศิลปะใหเ้ ด็กวาดรปู เตน้ นาฏศลิ ปไ์ ทย หรอื ต่าง ๆ นานา แตเ่ ราไม่เคยสอนให้เดก็ เน้น art appreciation เราเลย ไม่สามารถเช่ือมโยงศิลปะเข้ากับวิชาอื่น ๆ ได้ พอพื้นฐานเราเป็นแบบนี้ หอศิลป์จึงเปน็ ตัวกลางสำคัญ ที่ทำให้คนทั่วไปเห็นว่ามีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอย่างอื่นด้วย เพื่อให้คนที่มองเห็นสามารถได้ใช้สมองทั้งสอง ดา้ น หอศลิ ป์ก็เปรียบได้กบั ห้องสมุดแหง่ ประสบการณ์ ทไ่ี มไ่ ดเ้ กิดจากการอา่ นเพยี งอยา่ งเดยี ว แต่อย่างไรก็ตามคนที่ใกล้ชิดกับเยาวชน ที่จะเป็นอนาคตของชาติ ที่จะเติบโตไปพัฒนาประเทศชาติ ตอ่ ไป กค็ ือตัวของครูศลิ ปะเอง ฉะน้นั ครจู ะตอ้ งทำใหก้ ารสอนศิลปะ หรอื ตัวศิลปะเปน็ ส่งิ ท่ีถูกบอกเลา่ ส่อื สาร ใหก้ ับ สังคมให้เหน็ วา่ ศิลปะเป็นเร่ืองใกล้ตวั มันไมใ่ ชเ่ ร่อื งของศลิ ปินหรอื ไมใ่ ชแ่ ค่เรื่องของคนรักศลิ ปะ เท่านัน้ มันเป็นเรื่องของทุกคน และบทบาทหน้าที่ระหว่างผู้เสพผู้ทำหรือผู้อำนวยการระหว่างตรงกลาง สิ่งเหล่าน้ี สามารถสลับหน้าที่กันได้หมด เมื่อไหร่ก็ได้ ภาพจากต่างประเทศที่มองเข้ามาจริง ๆ แล้วศิลปะเป็นเหมือนกบั ภูมิทัศน์ทางสังคม เปน็ ภาพท่ีทำให้ขา้ งนอกไดม้ องเห็นว่า ปจั จบุ ันนี้หรือ ณ วนั น้ี สงั คมของเราพดู ถึงเรื่องอะไร และสิ่งท่ีสำคญั คอื เป็นสงิ่ ท่เี ชื่อมโยงต่อระหว่างคน ในสังคม คนในประเทศและระหว่างประเทศ อา้ งอิง bacc channel. (8 ธันวาคม 2563). TALK: เสวนา “หวัง/ส้นิ หวงั ของพน้ื ทีศ่ ลิ ปะในประเทศไทย\" (2020). [Video file]. สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=AEwSIEJKHXA. ลกั ขณา คุณาวิชยานนท์. 2564 .ศลิ ปะ (อาจไม่) ยืนยาว เช็คชีพจร หอศิลป์กรุงเทพฯ กับปญั หาพนื้ ท่ีศิลปะใน เมอื งไทย. สบื คน้ จาก : https://www.sarakadeelite.com/arts_and_culture/save-bacc/. 26
สารทส่ี ่งไปไม่ถึงเปรียบได้เหมอื นกับอตั ลักษณท์ ย่ี ังไม่ได้แสดงออก เสาวภาคย์ เพ็ชรหงษ์ บนโลกนที้ มี่ ีผ้คู นมากมาย คนเราลว้ นมีความความแตกตา่ งและหลากหลาย ท้งั ด้านรูปลักษณ์ ลักษณะ อุปนิสัย รวมถงึ แหล่งทีเ่ ราอยู่อาศัยและเติบโตมา ซ่ึงเราเรยี กมันวา่ สงั คม มนั คอื การอยรู่ วมกนั ของมนุษยโ์ ดยมี ลักษณะความสมั พนั ธ์ซง่ึ กนั และกนั หลายรูปแบบ ซง่ึ ปฏเิ สธไมไ่ ด้ว่าสงั คมคือสว่ นหน่งึ ทีห่ ลอ่ หลอมให้มนษุ ณ์ เป็นไปในรูปแบบใด โดยเฉพาะในด้านพฤติกรรมและคา่ นิยม แลว้ เหตุใดมนุษยจ์ ึงต้องตอบสนองตอ่ คา่ นยิ มใน สังคมนัน้ ด้วย อาจจะเพราะมนุษย์ต้องการ การเป็นท่ยี อมรับเพราะมนั คือเงื่อนไขหน่งึ ของสังคม การทีม่ ผี คู้ น มากมายหลากหลายท้งั เหมอื นหรอื แตกต่างกนั สงั คมคมจงึ เป็นแนวทางปฏบิ ตั ิให้มนุษยต์ ้องอาศัยอยู่รว่ มกัน โดยไมแ่ ปลกแยก น่ีจงึ เปน็ เหตผุ ลว่าทำไมเราถึงตอ้ งการการยอมรับและกลัวท่จี ะแตกต่างจากผคู้ นส่วนมากใน สังคม แตก่ ป็ ฏิเสธไม่ไดว้ ่ายังมผี ู้คนอีกจำนวนหน่งึ ท่ีเลอื กอาศัยอยู่ในสังคมโดยเดนิ บนเสน้ ทางของความ แตกตา่ ง ซึ่งความแตกต่างท่ีว่านนั้ คอื การแสดงอตั ลกั ษณค์ วามเปน็ ตวั ตนของตนเองออกมาถงึ ความหลากหลาย ของมนษุ ย์ แต่ความหลากหลายนนั้ กับโดนสงั คมหล่อหลอมใหจ้ ำเปน็ ต้องทำหนา้ ทีห่ รือรับบทบาทต่าง ๆ ในสง่ิ ที่คนในสงั คมสมมติขึ้นมา หากกลา่ วในทางที่ดแี นน่ อนว่ามันช่วยจดั ระเบียบใหค้ นในสังคมมีความสงบเรยี บร้อย เดินไปในทิศทางเดยี วกันในการอยู่รว่ มกัน แต่ถ้าเป็นในด้านของจติ ใจ สำหรับคนท่ยี อมรับมันได้แนน่ อนวา่ นน่ั ไมใ่ ช่ปญั หา แต่คนท่ปี ฏบิ ตั ติ นตามกรอบของสังคมแล้วแตย่ ังรสู้ ึกว่า เหตุใดจติ ใจความรสู้ ึกในการเปน็ ตวั ของ ตวั เองในการทจ่ี ะแสดงอัตลักษณข์ องตนเองออกมากลบั ต้องโดนกดทบั ตามไปดว้ ย การแสดงออกจงึ เป็นสง่ิ สำคัญในการเรยี กรอ้ งส่ิงเหลา่ น้ี เมอื่ เรานึกถึงการแสดงออกหรือการเรยี กร้องในเชงิ สัญลักษณ์ คำว่า “ศิลปะ” คอื คำทต่ี อบโจทยไ์ ดด้ ีทีส่ ุด เพราะการส่งเสยี งไมใ่ ชท่ างทด่ี ีที่สดุ เสมอไปในการส่งสาร เสยี งของคนเราเพยี งลำพงั มนั ไม่สามารถดังพอท่ที ำใหผ้ ้คู นได้ยนิ และจดจำมนั ไดน้ าน การรับร้ขู องผคู้ นในสงั คม จึงจำเปน็ ตอ้ งมีเครื่องมือ มอื ในการส่งเสยี งหรือสารน้นั ออกไปให้ผู้คนในสงั คมไดร้ บั รู้ แตใ่ ช่ว่าศลิ ปะจะเป็นเคร่ืองมือทม่ี ปี ระสิทธิภาพและ ไดผ้ ลมากเพียงพอ หากผคู้ นในสงั คมยงั ไมร่ ูจ้ กั และไมค่ ิดทีจ่ ะเรยี นรู้เคร่ืองมือนใ้ี ห้ดีพอวา่ ศลิ ปะมีหนา้ ท่ีอยา่ งไร ไมร่ วู้ ่าศลิ ปะคอื อะไร และมีประโยชน์อย่างไร สารที่อยบู่ นงานศลิ ปะก็ย่อมไร้ค่าและไรค้ วามหมาย ในทาง กลับกันคุณค่าของมนั กลับไปอยู่ท่เี ปลอื กนอกหรือรูปลักษณ์ของงานศิลปะแทน ซ่ึงไมผ่ ดิ ท่ีจะคิดหรือให้ค่ามัน แบบนั้น แตต่ ิดทวี่ ่าแล้ววิชาศิลปะใหอ้ ะไรกบั คนในสังคมไปบ้าง ส่งิ ทีไ่ ดเ้ รียนร้ใู นการเรยี นวชิ าศลิ ปะคือต้องวาด ภาพให้สวยเพียงอยา่ งเดยี วหรอื ไม่ หากจะวาดภาพเพื่อสอ่ื ความหมายเพอื่ เรยี กรอ้ งการแสดงออกในความ หลากหลายของมนษุ ย์ให้เกิดการยอมรบั และเท่าเทยี มแต่มันดันไปขดั กบั คา่ นยิ มของสงั คม เราจะยงั เรยี กมนั ว่า เป็นศิลปะได้หรือไม่ ซง่ึ ขา้ พเจ้าเชื่อว่าหลายคนอาจมคี ำตอบอยใู่ นใจเปน็ ของตัวเองแลว้ 27
ดงั น้ันคนทเี่ ปน็ ครูศลิ ปะควรส่งสารหรือแสดงอตั ลกั ษณ์ของความเปน็ ครูศิลปะที่ควรจะเป็นนนั้ ใหถ้ งึ ผู้เรยี นหรือผ้คู นในสงั คม คือการทำให้คนในสังคมได้รู้จกั ได้เรยี นรแู้ ละตระหนักถงึ คุณค่าจรงิ ๆ ของคำวา่ ศิลปะ เพ่อื ให้มันเป็นเคร่ืองมือท่ีมีคุณคา่ และมปี ระสิทธิภาพในการเรียกร้องหรือสง่ เสรมิ ใหส้ ังคมดีขน้ึ สงั คมท่ีวา่ นค้ี ือ ผู้คน ทย่ี งั ต้องการการยอมรับในความแตกต่างและต้องการมชี ีวติ ทดี่ ขี ้ึน ถึงแมว้ า่ สารท่วี ่าจะเปน็ งานศิลปะ ประเภทจติ กรรม หรือภาพวาดทม่ี ันอาจจะไม่มเี สียง แตผ่ ู้คนสามารถไดย้ ินและรบั รู้ได้ หากครศู ลิ ปะได้ทำ หนา้ ท่ีในการสอนใหผ้ ูค้ นได้เรียนรู้และเขา้ ใจในความหมายของคำวา่ ศิลปะที่แท้จรงิ แล้วผ้คู นจะไมร่ สู้ ึกถึงคำว่า ศลิ ปะเปน็ เรื่องท่ีไรส้ าระหรือไมจ่ ำเป็น กลบั กนั มนั จะเปน็ คำท่รี สู้ ึกว่าวิเศษมากสำหรบั คนทรี่ กั และศรทั ธาใน ศิลปะ 28
29
ความเปน็ ตวั ตนกับศลิ ปะในโรงเรียน พนดิ า ภูท่ อง ศิลปะนบั วา่ เป็นศาสตร์ที่มปี ระวัติศาสตรย์ าวนาน ต้งั แต่มีมนุษยเ์ กดิ ขึ้นในอดีตจนถงึ ปัจจุบัน มี เร่ืองราวศลิ ปะหรือสิง่ ตา่ ง ๆ เกิดขนึ้ มากมาย ดังน้ันจงึ มศี ลิ ปะแตกแขนงมากมายหลายสาขา เมอ่ื ศิลปะได้ถูก นำมาบรรจุใหอ้ ยู่ในหลกั สูตรการศึกษาแล้วนั่น จึงเกดิ ปญั หาในเร่อื งขอบเขตของเนื้อหา การศึกษาไทยจึงนำเอา ทฤษฎีพหุศิลปศกึ ษาเชงิ แบบแผนมาปรบั ใช้ในหลกั สูตรรายวชิ าศิลปะ ได้แก่ ประวตั ศิ าสตร์ศิลป์ (Art History) สุนทรยี ศาสตร์ (Aesthetics) ศิลปวจิ ารณ์ (Art critisism) และศิลปะสร้างสรรค์ (Art Production) โดย จดุ มุ่งหมายคือมุ่งเนน้ การสร้างความสมดลุ ในการรบั รู้ ความคิดสรา้ งสรรค์ และสนุ ทรยี ศาสตร์ เนื้อหาท้ัง 4 แกนนีม้ ีปจั จัยทเ่ี ก่ียวข้องเชน่ คา่ นิยม สังคม ระบบการศกึ ษา เปน็ ตน้ และเมื่อใดกต็ ามที่ปัจจัยเหล่านเี้ ข้ามามี อิทธพิ ลเหนือการรบั รู้ ความสรา้ งสรรค์ และสุนทรยี ศาสตร์ หรืออย่างใดอย่างหนึง่ ก็จะขาดความสมดุลทาง ศิลปะ โดยเริม่ ตัง้ แตร่ ะบบการศึกษาท่เี ข้ามามบี ทบาทสำคัญในดา้ นเน้ือหารายวิชาศลิ ปะ ถึงแม้จะนำเอา ทฤษฎพี หุศลิ ปศกึ ษาเชงิ แบบแผนมาปรบั ใช้กบั หลกั สูตรแกนกลาง หลักสตู รนั้นมเี น้ือหาที่มากเกินพอดี เม่ือ สถานศกึ ษานำมาปรบั ใช้ บวกกบั จำนวนชว่ั โมงเรยี นศิลปะที่นอ้ ยเกินไปเมื่อเทยี บกับเน้อื หาที่มี สง่ ผลให้เป็น ภาระทง้ั ต่อตัวผู้สอนและผ้เู รียน ผสู้ อนรบั บทหนกั ในการสอนแต่ละครง้ั และผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรไู้ ด้ไม่ตรงตาม จุดมุ่งหมายทตี่ ้ังไว้ เน่ืองจากเนื้อหาเยอะเกินกว่าทผ่ี ู้เรยี นจะสามารถเรยี นรู้ได้ภายในชว่ั โมงเรียน แม้การปรับกิจกรรมการเรียนเรียนรใู้ หเ้ หมาะสมกบั เวลา และเหมาะสมกบั ผู้เรยี นนนั้ จะเป็นหนา้ ท่ขี อง ผู้สอนแลว้ แตห่ ากหลกั สตู รมีการตัดเนอื้ หาศิลปะบางส่วนออกไป หรือลดความซำ้ ซ้อนของเนอื้ หาในแต่ละ ระดับชั้นลง หรือแม้แต่สถานศึกษาเองก็ควรจะเพิม่ จำนวนชวั่ โมงเรยี นศิลปะต่อสปั ดาห์ เพอ่ื ช่วยให้ผูส้ อนมีเวลา ทมุ่ เทกับการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละครั้งมากยง่ิ ขึ้น เน่อื งจากศลิ ปะจำเปน็ ตอ้ งจัดกิจกรรมที่ให้ ผ้เู รยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกิดความสนุ ทรีไปกับการเรียนศิลปะ นอกจากระบบการศึกษาทีเ่ ป็นปัจจัยท่สี ง่ ผลต่อเนื้อหาทก่ี ล่าวไวข้ ้างตน้ แลว้ ยังมใี นด้านสงั คมท่ีมี มมุ มองความคดิ หรือค่านยิ มทวี่ ่าศลิ ปะนั้นประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จริงได้ยาก อย่างไรกต็ ามส่วนใหญ่จะนึกถึงการ ประกอบอาชีพท่ีมีความเกี่ยวขอ้ งกบั ศิลปะโดยตรงเช่น นักออกแบบ สถาปนิก จิตรกร เป็นต้น แตใ่ นความเป็น จริงเราทกุ คนกส็ ามารถเป็นผู้สร้างและเปน็ ผูช้ มงานศลิ ปะได้ เชน่ การเลือกสีส่ิงของ การปลูกตน้ ไม้ หรือแม้แต่ การทำอาหารที่มีการจัดตกแต่งจาน เป็นตน้ ดังนน้ั สงิ่ ท่คี วรเพ่มิ เติม หรือสอดแทรกเข้าไปดา้ นเนอื้ หา โดย ผูส้ อนต้องปลูกฝังใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ เช่อื มโยง และเห็นคุณค่าของการนำศลิ ปะไปประยกุ ตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจำวัน กจิ กรรมหรือส่ิงใดท่ที ำให้ผู้คนเกิดสนุ ทรียะภาพ ถือว่าเปน็ ศลิ ปะท้งั สิน้ เพราะศลิ ปะน้นั อยู่ รอบตัวเรา 30
อา้ งอิง ณัฐนันท์ อนิ สง. (2562). พหุศลิ ปศกึ ษากับการศึกษาปฐมวัย. สบื คน้ เมอ่ื 9 เม.ย. 2564 จาก https://www.gotoknow.org/posts/658592 วิกพี เี ดีย สารานุกรมเสร.ี (2561). ศลิ ปะ. สืบค้นเม่ือ 9 เม.ย. 2564 จาก https://th.wikipedia.org 31
วิชาศิลปะกับการถูกละเลย ธรี ์จุฑา คดิ ฉลาด ศิลปะ ความธรรมดาที่แสนจะพเิ ศษรอบตวั เรา ศิลปะแฝงตัวและรายล้อมอยูร่ อบๆตวั เรา ทุกท่ีทีเ่ ราไป ทุกที่ท่ีเราจร ลว้ นมศี ิลปะท้ังสนิ้ เราเรียนรอู้ ะไรเก่ียวกบั ศลิ ปะในโรงเรียนบา้ ง เราวาดรูปอย่างเดียวอย่างนนั้ หรือ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระบุ ความสำคัญของหลักสตู รไว้อยาง ชดั เจนว่ากลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผ้เู รียนมี ความคิดสรางสรรคมจี ินตนาการทาง ศลิ ปะ ชืน่ ชมความงาม มสี นุ ทรยี ภาพ ความมคี ุณค่า ซึ่งมผี ลตอ่ คุณภาพ ชวี ติ มนุษย์ อันเป็นพ้ืนฐานใน การศึกษาต่อหรอื ประกอบอาชีพได้ โดยกำหนดเปน็ มาตรฐานท่ี ศ.1.1 และ ศ.1.2 อันเปน็ ทิศทางที่จะนําไปสู่ เปา้ หมายของ หลกั สตู รที่จะทำใหผเู้ รียนสร้างสรรค์งานทัศนศลิ ปต์ ามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณคุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดตองานศลิ ปะอยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจำวัน เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างทศั นศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณ คางานทัศนศลิ ป์ที่ เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทองถนิ่ ภมู ิปัญญาไทยและสากล (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) จากข้อความข้างตน้ การเรียนศลิ ปะน้นั ดจู ะมีเนื้อหาใจความและสง่ิ ตา่ งๆใหเ้ ราได้เรยี นรู้อยมู่ ากมาย หากแตใ่ นความเปน็ จริงนั้นเราได้เรียนรู้ส่ิงเหล่านน้ั จรงิ ๆ หรือ โดยสว่ นตัวแลว้ สำหรับปญั หาในการเรียนวิชา ศลิ ปะในปัจจบุ ันนัน้ มปี ัญหาอย่คู ่อนขา้ งมาก สาเหตหุ ลกั ๆน้ันมาจากค่านยิ มของผคู้ นในสงั คมทวี่ า่ ศิลปะน้นั ไม่ สำคญั และย่งั ยืนเท่ากับการลงทุนกบั วิทยาศาสตร์หรือคณติ ศาสตร์ ค่านยิ มดงั กลา่ วน้ันสง่ ผลตอ่ การเรยี นศิลปะ ในหลาย ๆ ด้าน ท้ังในส่วนของเวลาสำหรบั ช่วั โมงการเรยี นในรายวิชาศิลปะท่ีมีอยนู่ ้อยนดิ เสียจนทำใหบ้ รหิ าร จดั การไดย้ าก ตลอดไปจนถึงปญั หาครศู ิลปะจำเป็นผู้ซง่ึ ไมไ่ ด้จบศลิ ปะโดยตรง การเรยี นศลิ ปะนั้นเป็นส่ิงทีถ่ ูกละเลยมาเปน็ เวลานาน และถูกลดบทบาทลงเร่ือย ๆ เน่ืองจากผคู้ นไมไ่ ด้ ให้คณุ ค่ากับมนั อย่างทคี่ วรจะเป็น ซ้ำรา้ ยในบางโรงเรยี นได้มกี ารลดเวลาคาบเรยี นศลิ ปะหรอื ได้มีการขอคาบ เรยี นศิลปะเพ่อื ให้เวลากบั การทำกจิ กรรมในรายวิชาอืน่ อีกด้วย ศิลปะสำคญั น้อยกว่าวชิ าอนื่ อย่างไรกนั ดังที่ กลา่ วข้างตน้ ในเรื่องของชว่ั โมงในการเรียนการสอน ศิลปะไมใ่ ชส่ ตู รท่องจำหรือเปน็ เพยี งแคบ่ ะหมกี่ ึ่งสำเรจ็ รปู ท่ี สามารถทำเสร็จหรือเรยี นรู้ได้ภายในเวลาอนั ส้ัน การเรยี นรทู้ ุกอย่างเกดิ จากการทดลองและลงมือปฏบิ ัติ เช่น เดยี วกับวทิ ยาศาสตร์ การจำกัดเวลาหรอื เวลาทีน่ ้อยนิดน้ันไมไ่ ด้ทำใหเ้ กิดการเรียนรู้ท่ีแท้จริง ซง่ึ สิ่งเหล่านี้เอง ส่งผลกระทบต่อเนือ้ หาและการจัดการเรียนการสอนอีกดว้ ย เม่ือการเรียนในหน่ึงคาบเรียนไม่เพียงพอ พวกเขา แบง่ เป็นสองและจากสองเป็นสาม และถา้ หากว่าไมม่ ีการจัดสรรเวลาท่ีดจี ากครูผู้สอนนักเรยี นกจ็ ะพลาดเน้ือหา อีกครึ่งที่เหลือไป ปัญหาเหลา่ น้ีพบได้บ่อยครั้งจากหลาย ๆ โรงเรยี น จากการสอบถามเพื่อนและคนรู้จกั ทุกคน จะเรยี นตามบทเรยี นในช่วงแรก ก่อนทีค่ รผู ู้สอนจะพบว่าพวกเขาไม่มเี วลาสำหรบั สว่ นทเี่ หลือท้งั หมด บางทีอาจ 32
เป็นเพราะการจัดการท่ีไมด่ ีของครผู สู้ อน หรือจริงๆแลว้ มนั อาจเปน็ ปญั หาทหี่ ลักสูตรหรือเปลา่ ทำไมเรายังได้ เรยี นเนอ้ื หาเดมิ ๆ เร่ืองเดิม ๆ ในขณะทเี่ ราเลื่อนช้ันข้ึนมาแลว้ ทำไมบทเรยี นยังคงสอนเราแต่เรอ่ื งวงจรสซี ำ้ ๆ ทงั้ ท่ีเน้ือหาไม่ได้แตกตา่ งไปจากตอนทีเ่ ราได้เรียนเม่ือปีท่ีแล้ว เพ่ือใหเ้ ราเข้าใจมันอย่างลึกซ้ึงขึ้นอยา่ งนัน้ หรือ หรอื เป็นเพราะไมม่ ีอะไรทน่ี ่าสนใจมากพอให้ใส่เข้าไปในบทเรยี นได้อีกแล้ว อย่างไรก็ตามมีคำกล่าวทวี่ า่ ศิลปะคือส่งิ ท่แี สดงถึงความเจริญงอกงามของบ้านเมือง สอดคล้องกับท่ี เฟรเดรคิ เจมส์ เกร๊ก ได้เขียนไวใ้ นคำนำสจู บิ ตั รการแสดง Armory show ในอเมริกาเมื่อ ค.ศ. 1913 ตอนหน่ึง กล่าวว่า “ศิลปะ คือ เครื่องหมายแห่งชวี ติ ” ( Art is sign of life) และไมว่ ่าเราจะคน้ หาในเวบ็ ไซต์หรือหนงั สือ เล่มไหนในประเทศเรากจ็ ะค้นพบวา่ ศิลปะนัน้ ถกู ยกย่อง สรรเสริญเยินยอตา่ ง ๆ นานา ซึ่งขดั กบั คา่ นยิ มและ ความเป็นจริงทางสงั คมทมี่ องว่าศิลปะเปน็ งานของคนขเี้ กียจหรอื คนเขลาท่ีไมส่ ามารถเรียนสายวทิ ยไ์ ด้เท่านน้ั ถงึ เวลาหรือยัง ทเ่ี ราจะใหค้ วามสำคญั กับศิลปะ และใหศ้ ลิ ปะอยูใ่ นทท่ี ม่ี นั ควรจะอยู่ อ้างอิง วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปีท่ี 17 ฉบับท่ี 1 (มกราคม 2562 – มถิ ุนายน 2562) สบื คน้ เม่ือ 9 เม.ย. 2564 จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/suedujournal/issue/view/13169 ศิลปะคืออะไร. สบื ค้นเม่อื 9 เม.ย. 2564 จาก sites.google.com/site/reuxngphessuk/silpa-khux-xari 33
ศิลปะใช้ได้จริง (หรอื ?) จุรรี ัตน์ โนราช “เรยี นศลิ ปะไปเพ่อื อะไร” หลายท่านอาจจะเคยไดย้ นิ คำกล่าวดงั ข้างตน้ ซง่ึ เปน็ ถอ้ ยคำทเี่ ราหลายคน ตา่ งกค็ นุ้ เคย ไมว่ า่ จะมาจากเสยี งบน่ ของเหล่านักเรียนระดับมัธยมศึกษา ผู้ใหญ่ท่ีไม่ได้ให้ความสำคัญกบั ศลิ ปะ หรอื อาจจะได้ยินแว่ว ๆ จากคนแปลกหนา้ ในบางสถานท่ี แมก้ ระท่งั การถกเถยี งในอนิ เทอร์เนต็ ประเด็นเรื่อง รายวชิ าท่คี วรตัดออกจากหลักสูตรการศึกษาไทยกม็ ักจะพบว่ามีรายวิชาศิลปะเป็นหน่งึ ในน้ัน อะไรที่ทำให้ผูค้ น ละเลยวชิ าศิลปะ อยนู่ อกสายตาและถูกมองข้ามอยู่เสมอ ถึงแมจ้ ะมีประโยค “ศลิ ปะใช้ไดจ้ ริง” แต่จะมสี กั ก่ีคน ที่เหน็ ดว้ ย หากจะมองหาถงึ สาเหตุของปัญหาดงั กลา่ วก็อาจจะตอ้ งมคี วามความเกยี่ วของกบั อีกหลายประเด็นไม่ ว่าจะเป็นเร่อื งของหลักสตู ร สังคม ปรชั ญา หรอื จติ วิทยา และถ้าหากลองมองในมุมของบุคคลทั่วไปทีไ่ ม่ได้ สนใจเฉพาะทางในด้านศลิ ปะแล้วก็จะเจอกบั คำตอบง่าย ๆ วา่ “เรยี นศิลปะแล้วไม่ได้ใช้” หลายต่อหลายครงั้ ท่ี ผคู้ นพบว่าเนอื้ หาของรายวิชาศลิ ปะท่ีถกู บรรจไุ วใ้ นหนังสอื เรียนหรอื ส่อื การสอนตา่ ง ๆ นั้นไม่ไดม้ ีเนื้อหาที่ เชอ่ื มโยงเข้าสชู่ ีวติ จริง จนเกดิ ขอ้ สงสัยว่าถา้ ไม่ไดน้ ำไปใช้แล้วเราจะเรยี นไปทำไมกนั นะ? และอีกหน่ึงข้อสงสยั ที่ มีผลตอ่ การดำเนินชวี ติ มากท่ีสุดกค็ อื “เราจะเอาความรู้เหล่าน้ีไปใช้ตอนไหน?” เหลา่ ผปู้ กครอง นักเรยี น และพลเมอื ง เราทกุ คนตา่ งก็คาดหวงั วา่ เม่อื ได้เขา้ มาในอยู่ในการศึกษาข้ัน พืน้ ฐานทีใ่ ชร้ ะยะเวลาในการเรยี นอนั แสนยาวนานมากถงึ 12 ปแี ลว้ จะสามารถนำความรู้ทไี่ ดจ้ ากการปลูกฝงั ส่ังสม และรำ่ เรียนมาจากสถานศกึ ษาออกมาใชป้ ระโยชน์ในการดำเนินชีวติ ไม่ใช่เพยี งแค่ในรายวิชาศลิ ปะ เทา่ นั้นแต่ทุกรายวชิ าล้วนก็ถูกคาดหวงั ไมต่ ่างกัน แต่แล้วการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานกลับไม่สามารถตอบสนองความ คาดหวังนี้ให้กบั ผู้คนในสงั คมไดเ้ ทา่ ที่ควร เปน็ เรื่องทนี่ ่าแปลกใจที่เน้ือหาทีใ่ ชใ้ นการเรียนการสอนสว่ นใหญ่ไมว่ า่ จะเปน็ หนังสือเรียนหรือส่ือการเรียนรตู้ า่ ง ๆ ลว้ นแลว้ แตก่ ลา่ วถงึ สง่ิ ท่ีเปน็ วชิ าการ เช่น ทฤษฎที างศลิ ปะ หลักการจัดองคป์ ระกอบ และเนือ้ หาทางประวัติศาสตรศ์ ลิ ป์ ซึง่ มักจะเปน็ ทฤษฎีทมี่ เี พ่ือนำมาใช้ในการ สร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ ประวัตศิ าสตร์ หรอื การศึกษาทคี่ ่อนข้างเฉพาะทางเทา่ นนั้ แตก่ ลบั ไมม่ ีการนำเสนอ เนื้อหาที่เป็นการประยุกต์ใชห้ รือเก่ยี วเน่อื งกบั ชวี ติ ประจำวันของผคู้ น หากจะมีก็เป็นเพียงแค่สว่ นน้อยเท่าน้นั ท่ี สอดแทรกการนำศิลปะไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน และเม่ือสง่ิ ทคี่ วรบรรจเุ นื้อหาทค่ี วรนำไปใช้อย่างหนงั สือ และสื่อการเรียนรขู้ าดส่ิงท่จี ำเป็นทส่ี ดุ อยา่ งการประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวันไป หนา้ ทนี่ จ้ี งึ ตกเปน็ ของครูผู้สอน ที่จะต้องจดั การเรียนการสอนที่เน้นการนำไปประยุกต์ใชเ้ พ่ือเปน็ การแก้ปญั หาน้ีในขณะท่ีหนังสอื เรยี นหรอื ส่ือ การเรยี นรู้ที่ควรจะเปน็ แหลง่ ความร้ขู องผเู้ รยี นและช่วยอำนวยความสะดวกแกค่ รูผ้สู อนทำได้เพยี งแคบ่ รรจุ เน้ือหาทสี่ ามารถสบื คน้ เองได้ในอนิ เทอรเ์ น็ต การเรยี นการสอนเปน็ ไปในลักษณะน้มี านานในความทรงจำของ ผเู้ ขยี น เม่ือหนังสือขาดสงิ่ ทสี่ ำคญั ท่สี ดุ อย่างการประยุกตใ์ ช้ไป จึงเปน็ เหตใุ หผ้ ู้เรียนขาดการนำความรเู้ ชอ่ื มโยง สู่การนำไปใชใ้ นชีวิตประวนั และดำเนินรูปแบบเช่นนี้มาจากรุ่นสูร่ ุ่นจนทำให้ผคู้ นที่ท้ังผ่านการศกึ ษาข้นึ พ้ืนฐาน 34
และกำลังอยูใ่ นการศึกษาข้ันพนื้ ฐานเกดิ ความรสู้ ึกวา่ ไมม่ คี วามจำเป็นที่ตอ้ งเรยี นวชิ าศิลปะ เพราะไม่สามารถ นำไปใชไ้ ด้จรงิ ถกู ต้องแลว้ หรอื ที่การศึกษาวิชาศลิ ปะจะยงั คงเปน็ เช่นนีต้ ่อไป ถงึ เวลาแล้วหรอื ยังที่ควรจะต้อง ปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงเนอื้ หาและสาระการเรยี นรู้ในรายวชิ าศิลปะที่บรรจุในหนงั สอื ให้มีความเช่อื มโยงกับชีวติ จรงิ มากย่งิ ขึ้น เนน้ การประยุกต์ใช้มากย่ิงขึ้น ลดทฤษฎีต่าง ๆ ทคี่ อ่ นข้างเฉพาะทางใหน้ ้อยลงเพ่อื ใหเ้ น้ือหาใน รายวิชาศลิ ปะถูกมองว่าสำคัญและสามารถนำไปใชไ้ ดจ้ ริง เชน่ การเพ่ิมเน้ือหาศลิ ปะทสี่ อดแทรกอยู่ใน ชวี ิตประจำวนั ศิลปะการแต่งกาย ศลิ ปะการตกแตง่ อาหาร เปน็ ตน้ หากในอนาคตเราสามารถปรับปรุงแก้ไขเน้ือหาการเรยี นในรายวิชาศิลปะไดด้ ั่งท่ีกล่าวไปข้างต้นได้ สำเร็จ รายวชิ าศลิ ปะกจ็ ะถกู มองว่าเป็นรายวชิ าท่เี รียนแล้วสามารถทำให้เกดิ ประโยชนไ์ ด้ นำมาใชใ้ น ชีวติ ประจำวันได้จริง จะเปน็ การนำรายวิชาศิลปะเขา้ ไปอยู่ในสายตาของผู้คน ถูกให้ความสำคัญ ทำใหศ้ ิลปะ แทรกซึมอยูใ่ นชวี ติ ประจำวันของผูค้ น ให้ศลิ ปะไดท้ ำหน้าที่ทมี่ ากกวา่ การเป็นเพียงแคช่ ิ้นงาน ลบคำถามที่วา่ “เรยี นศิลปะไปเพอื่ อะไร” และตอกย้ำวาทกรรม “ศลิ ปะใช้ได้จริง” ให้เป็นประโยคที่ทกุ คนต่างเหน็ ด้วยและ ยอมรบั 35
ศิลปะกบั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีส่งเสริมพฒั นาการของผู้เรยี น ตามแต่ละช่วงวยั ปาลติ า วรรณศิริ เนื้อหารายวชิ ามกี ารเรยี นการสอนท่ีไม่เปน็ ขนั้ เปน็ ตอน จากการสอนถามผูเ้ รยี นการเรยี นการ สอนจะวนอยู่กบั ท่ีเด็กไมค่ ่อยมีกจิ กรรมเสริมความรู้ใหม่ ๆ ตามพัฒนาการของผเู้ รียนในแตล่ ะช่วงวัย เพือ่ ส่งเสริมพฒั นาการดา้ นด้านร่างการและสมองอย่างเต็มท่ี การเรียนกรสอนในปจั จบุ นั ครูผู้สอนตอ้ งปรับเปลย่ี น การสอนไปตามยุคเทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ พิ่ม เทคนิคต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการเรยี นการสอนเพ่อื สร้างผเู้ รียนแต่ ละคนให้ถึงจุดหมายสงู สดุ ของการเรียนรู้ รว่ มกบั การนำเปา้ หมายของหลดั สตู รการศึกษาของแตล่ ะสถานศกึ ษา มาเป็นเปา้ หมายของการเรยี นรู้ จากท่ีกล่าวมารายวิชาศลิ ปะเป็นรายวิชาทส่ี ามารถส่งเสริมในดา้ นร่างกายและ สติปญั ญาด้านความคดิ ไดด้ ที ่ีสดุ ครูผสู้ อนจำเป็นต้องนำหลกั จิตวทิ ยาการศึกษามาปรบั ใชก้ ับการเรยี นการสอนดว้ ยเช่นกัน เพ่อื ช่วยให้ การสอนเป็นไปตามทฤษฎีการเรยี นรตู้ ามช่วงวยั ของ (ซิกมันด์ ฟรอยด์) พฒั นาการตามวัย แบง่ ออกเปน็ 5 ขน้ั คือ 1 .ข้นั ปาก (Oral Stage) อายุ 0-8 เดอื น 2. ขนั้ ทวารหนัก (Anal Stage) อายุ 18 เดือน – 3 ปี 3. ข้ัน อวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3-5 ปี 4. ขั้นแฝง (Latence Stage) อายุ 6-12 ปี 5. ขัน้ สนใจเพศตรงขา้ ม (Genital Stage) อายุ 12 ปีขน้ึ ไป พัฒนาการเป็นการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึน้ ภายในตวั ของมนุษย์ ไม่ไดม้ แี คก่ ารเจริญเตบิ โตด้านรา่ งกาย เพียงเทา่ น้ัน ยงั รวมไปถึงวฒุ ิภาวะท่ีเพ่มิ มากขน้ึ ตามช่วงอายุและการเรยี นรูร้ ะหว่างการอย่ใู นสงั คมน้ัน ๆ ที่ เกิดขึ้นตลอดเวลา การสรา้ งห้องเรยี นทีเ่ อื้อต่อการพัฒนาร่างกายและความรูท้ เ่ี หมาะสม สามารถพฒั นาให้ ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ทีต่ ่อเนื่องและเป็นขน้ั ตอน ไม่สรา้ งความซับซอ้ นด้านเนื้อหาทย่ี ากหรือง่ายเกนิ ไป เพ่อื สรา้ งแรงจงู ใจให้ผูเ้ รยี นพร้อมทีจ่ ะเรียนรู้ การนำหลักจิตวทิ ยาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนนน้ั สามารถช่วยได้ทั้งครผู สู้ อนและตวั ผเู้ รยี น เอง การศกึ ษาและทำความเข้าใจในธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคนจึงมีความสำคัญที่จะชว่ ยให้ครูสามารถจดั การ เรยี นการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ดว้ ยเหตุนเี้ ป็นรายวิชาศิลปะท่ีไม่ได้สร้างเกณฑ์ทางความคิดให้แก่ผ้เู รียน ผู้สอนสามารถออกแบบการสอนท่ีมีความยืดหยุ่นในหลายด้าน เพอ่ื ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถถา่ ยทอดความคิด ไดเ้ ตม็ ทตี่ ่างจากวชิ าอนื่ ๆ ที่ต้องอยู่ในเกณฑข์ องความถูกต้องตามหนังสอื เรยี น อา้ งอิง เกรียงไกร เรือนน้อย(2553).ธรรมชาติและพัฒนาการของผเู้ รียนในแตล่ ะชว่ ง.สบื คน้ เมอื่ 10 เม.ย. 2564 จาก https://www.gotoknow.org/posts/327646 จติ วิทยาสำหรับครู.ทฤษฎีพฒั นาการ.สืบค้นเมื่อ 10 เม.ย. 2564 จาก http://teacheryru.blogspot.com/p/blog-page_5.html 36
37
การเรยี นการสอนศลิ ปะ เพือ่ การเรียนรู้ที่มงุ่ ใหผ้ ้เู รยี นสามารถดำรงชีวติ อยรู่ ่วมกบั ผู้อนื่ ในสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข ภทั รพรรณ ทองแยม้ การศกึ ษาถูกยอมรับวา่ เปน็ เคร่อื งมือทีส่ ำคัญในการพฒั นามนุษย์และสังคม เน่ืองจากการศึกษาจะช่วย พัฒนามนษุ ย์ใหเ้ กิดคณุ ลักษณะทีด่ ี เปน็ ทย่ี อมรบั ในสังคมน้นั ๆ ทำให้มนุษยเ์ ป็นกำลังสำคญั ในการพัฒนาสงั คม ต่อไป เรียกได้วา่ การศึกษามบี ทบาทสำคญั ในการพัฒนามนุษยใ์ ห้เกิดการเรียนรู้ สามารถนำความรทู้ ่ีไดไ้ ปปรบั ใชใ้ นการใช้ชีวติ ให้สอดคล้องกบั สภาพสังคมทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ปัจจบุ ันเรากำลงั อยใู่ นยุคศตวรรษ ที่ 21 เป็นยคุ ที่มีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ทำให้การศึกษาต้องปรับเปล่ยี นอกี คร้ัง เพือ่ ให้การศึกษา สามารถพฒั นาคนใหม้ ลี ักษณะตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในบทความน้จี ะกลา่ วถงึ การเรียนการสอน ศิลปะเพอื่ ตอบสนองการเปล่ียนแปลงด้านสภาพของสังคมในปัจจุบัน ในปัจจุบันมีกระแส มแี นวคิดที่เกย่ี วข้องกบั ความเป็นปจั เจกบุคคลมากขน้ึ อย่างเห็นได้ชัดเจน ผ้คู นกลา้ ออกมาแสดงความคดิ เหน็ กล้าแสดงจดุ ยนื ของตนเอง จนบางคร้ังเกิดอาจเกิดความขัดแย้งอันเนอ่ื งมาจากความ แตกตา่ ง ที่แตล่ ะฝ่ายยงั ไม่ยอมรับและเข้าใจซ่งึ กนั และกัน การศึกษาควรให้ความสำคัญกบั การเปลย่ี นแปลงใน ดา้ นน้ี กค็ ือการเปลยี่ นแปลงสภาพสังคม การใชช้ วี ิตในสังคมอยู่นี้ต้องมีทกั ษะการการอยู่รว่ มกันในสังพหุ วฒั นธรรม ซ่ึงจดั ว่าเป็นหนึ่งในทักษะในศตวรรษที่ 21 นัน่ คอื Cross-cultural understanding (ทักษะดา้ น ความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์) ผ้เู ขียนจึงขอยกแนวทางการจดั การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 โดย อา้ งอิงจากรายงานของคณะกรรมาธกิ ารนานาชาติวา่ ด้วยการศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 แห่งยเู นสโก ช่ือรายงานวา่ “Learning : The Treasure Within” ถา้ แปลเปน็ ภาษาไทยก็คอื “การเรียนรู้ : ขมุ ทรัพยใ์ นตน” ในรายงานม สาระสำคญั ไดก้ ล่าวถงึ “สเี่ สาหลกั ทางการศกึ ษา” เปน็ หลกั การในการจดั การศึกษา ประกอบไปดว้ ย 4 ขอ้ ดังนี้ 1. การเรียนเพื่อรู้ (Learning to know) หมายถึง การศึกษามงุ่ พัฒนากระบวนการคดิ การแสวงหา ความรู้และวิธีการในการเรยี นรู้ เพื่อให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้ พฒั นาตนเอง เพือ่ จะได้นำความรู้ที่ได้ไปใชเ้ พื่อ ดำรงชีวติ 2. การเรยี นร้เู พื่อปฏิบัติได้จริง (Learning to do) หมายถึง การศกึ ษามุ่งพัฒนาทกั ษะ ความสามารถ ความชำนาญ สามารถปฏบิ ัติได้ จนสามารถตอ่ ยอดในการประกอบอาชีพได้อยา่ งเหมาะสม 3. การเรียนรูเ้ พอ่ื ท่ีจะอยู่รว่ มกัน (Learning to Live Together) หมายถึง การศึกษามุ่งให้ผูเ้ รียนรจู้ ัก ใช้ชวี ติ รว่ มกันกบั ผู้อ่นื ในสังคมท่ีมคี วามหลากหลาย รจู้ กั พึ่งพาอาศัยซงึ่ กนั และกนั เคารพกนั และกนั เข้าในใน ความแตกตา่ ง 38
4. การเรียนรู้เพ่อื ชีวิต (Learning to Be) หมายถงึ การศึกษามงุ่ พัฒนา ผู้เรียนทกุ ด้านทั้งจิตใจและ รา่ งกาย สตปิ ัญญา ให้ความสำคัญกับจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ ภาษา และวฒั นธรรม เพ่ือพฒั นา ความเป็นมนุษย์ทส่ี มบรู ณ์ เข้าใจตนเองและผูอ้ ืน่ เป็นผู้ทีม่ ีเหตผุ ล มที กั ษะรจู้ ักส่อื สารกบั ผู้อนื่ จากหลักในการจัดการศึกษาทงั้ 4 ด้านน้ี วชิ าศลิ ปะสามารถมีบทบาท ทำหนา้ ในการพัฒนาผูเ้ รยี นให้ บรรลตุ ามสีเ่ สาหลักทางการศึกษาได้ โดยการเน้นถงึ ความแตกต่างของผูเ้ รยี น ความสามารถ ความสนใจของ ผเู้ รยี นแต่ละคนมีความแตกต่างกนั พอจะมีแนวทางในการจัดการศกึ ษา ดงั นี้ - ไม่ควรตัดสินผลงานศิลปะของผ้เู รยี น อาจจะดว้ ยความแตกตา่ งจากผลงานทมี่ ีเปน็ ส่วนใหญ่ หรอื การ ตดั สนิ จากความสวยงามของผลงาน แตค่ วรใหผ้ ู้เรียนได้แสดงแนวคิด แสดงทัศนะของตนผา่ นผลงาน สามารถ เชอื่ มโยงเขา้ สเู่ น้ือหาทางด้านประวตั ศิ าสตร์ทางศลิ ปะกไ็ ด้ เพราะตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจบุ นั ศลิ ปะก็มีความเปน็ พลวัต ศิลปะที่มีการเปลย่ี นแปลงทางด้านความคิดการยอมรบั เฉพาะกลุ่มแตกตา่ งกันไป ความเข้าใจในสว่ นน้ี จะช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามม่ันใจกับตนเอง และไดเ้ รียนรู้ในการยอมรับในความคิดเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งจากความคิดของ ตน - เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้มีสว่ นรว่ มในการกำหนดสง่ิ ทีอ่ ยากเรียนรู้ และชว่ ยกันออกแบบการเรยี นกับ ครูผู้สอน เพ่ือใหส้ ิง่ ทจ่ี ะได้เรยี นเกดิ จากความต้องการของผเู้ รยี นเอง ทำใหผ้ ู้เรียนมีความสนใจทจ่ี ะเรยี นมาก ยิ่งขนึ้ การเปิดโอกาสในการชว่ ยกนั จดั การเรยี นรเู้ ชน่ น้ี จะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนได้กลา้ แสดงความต้องการ ความ ประสงค์ตามทีต่ นเองสนใจ และกต็ ้องยอมรับเปิดใจกบั ความต้องการของผอู้ ่นื หรือเพ่ือนรว่ มช้ันดว้ ย เพื่อให้ เกิดการเรียนรู้ตามความสนใจและเกดิ การเรยี นรู้แบบแลกเปล่ยี นจากเพื่อนร่วมชัน้ - เมอื่ ผเู้ รียนมีการแสดงออกทางศิลปะทแ่ี ตกตา่ งกนั ไม่ควรนำบรรทัดฐานเดยี วกันมาใชเ้ พื่อแบง่ แยก ควรใชโ้ อกาสนีแ้ สดงใหเ้ หน็ เลยวา่ ทกุ คนสามารถแสดงออกตามความสนใจ ความสามารถของตนเอง และควร หาเหตุผลมาสนับสนุนให้เกดิ ความหนกั แน่นทางความคดิ - ควรนำแนวคิด ปรัชญาตา่ ง ๆ มาสอดแทรกในการจดั การเรียนรูใ้ ห้มีมากขนึ้ กว่าเดิมในเพยี งแคช่ ้ัน ระดับชนั้ ทีส่ งู แต่ระดบั อ่นื กค็ วรให้ความสำคญั ด้วย ข้อดขี องปรัชญากค็ ือสามารถช่วยใหเ้ กิดการแสวงหา คำตอบ การถกเถยี งอย่างมีเหตุผล แตข่ ้อจำกัดก็คือปรชั ญาเป็นเร่อื งเกีย่ วข้องกับความคดิ เป็นสิ่งที่อยภู่ ายใน เปน็ การยากในการเขา้ ถงึ ความเขา้ ใจ ดังน้นั ผู้สอนกค็ วรหาแนวทางในการนำปรชั ญา แนวคดิ ต่าง ๆ มาใช้ให้ เหมาะสมเพ่อื ใหเ้ ข้าถงึ ไดง้ ่าย ปรัชญาทางดา้ นศิลปะ อยา่ งเช่น สุนทรยี ศาสตร์ แนวคิดเก่ียวกบั ความงาม เพื่อใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนรเู้ กยี่ วกับมมุ มองทีด่ ีข้ึนทางดา้ นความงาม สามารถนำมมุ มองไปปรับใชก้ ับตวั เองในชวี ติ เกิดความรู้สึกพอใจ และสามารถใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการแสดงทศั นะต่อความคิดในสังคมท่ีมีความแตกต่าง หลากหลาย เพอื่ ลดอคติ การตตี รากับสงิ่ ที่ไม่ไดต้ ้ังอยู่บนพ้ืนฐานกระแสสงั คมทห่ี ลายคนยอมรับ จะเหน็ ไดว้ ่าการจัดการเรียนรู้ข้างต้นจะเนน้ เพ่ือให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้จกั การแสดงความคดิ เห็นของตนเอง และตอ้ งรู้จกั ยอมรับในความคิดของผู้อ่ืนดว้ ย เพ่ือให้ผู้เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะสอดคล้องกับการเปลยี่ นแปลงของ 39
สงั คม สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกบั ผอู้ ่นื ท่ามกลางพหวุ ัฒนธรรมได้อย่างมีความสขุ ผู้สอนจงึ มีสว่ นสำคญั อย่าง มากในการเลือกแนวทางการจดั การเรียนร้เู พ่ือใหเ้ กดิ ความประสบผลสำเร็จ อ้างอิง สุทธิพงษ์. (2557). การเรียนรู้ขุมทรัพย์ในตน (Learning: The Treasure Within). ค้นเมื่อ 19 เมษายน 2564, จาก http://edu06550098.blogspot.com/2014/12/14-learning-treasure-within.html “ทำไมเด็กตอ้ งเรียนรู้ศลิ ปะ” 40
ภาสกร กลางเหลอื ง บางคนคดิ วา่ ศลิ ปะเปน็ เร่ืองของคนที่มีพรสวรรค์ บางคนคดิ วา่ เราสอนศิลปะเพื่อชว่ ยใหเ้ ดก็ เบาสมอง แต่ทจ่ี ริงศิลปะเปน็ ผลงานอนั เก่าแก่ที่สุดทม่ี นุษย์ได้ทำมา เช่น ภาพเขียนตามผนงั ถำ้ และการประดิษฐข์ วาน หมอ้ เกวยี น เหล่านี้เปน็ ศลิ ปะทง้ั สิ้น เด็กทุกคนสร้างงานศิลปะได้ และชอบงานศิลปะ การจะพฒั นาศลิ ปะและ การสร้างสรรค์ใหเ้ ด็ก ต้องเขา้ ใจวา่ ศิลปะก็คือ กระบวนการทีส่ มองถอดความคดิ ออกมาเปน็ ภาพ และชน้ิ งาน ต่าง ๆ นน่ั เอง ถา้ สมองมอี ะไรอยกู่ าร “ถอด” ความคิดออกมากเ็ ป็นไปได้ กระบวนการพัฒนาศิลปะและการ สร้างสรรคข์ องเดก็ จงึ เน้นให้เด็กคิด และลงมือทำออกมา ศิลปะ เปรียบเสมือนกระดาษทดแหง่ จินตนาการ การแสดงออกทางศิลปะ เปรียบเสมอื นการสร้างจนิ ตนาการเปน็ รปู ร่างภายนอก แลว้ ปอ้ นกลับเขา้ สสู่ มอง ศลิ ปะจงึ เปรยี บเสมือนกระดาษทดแหง่ จินตนาการ ทำให้สมองได้จัดการกบั จนิ ตนาการต่าง ๆ ชัดเจนยิง่ ขนึ้ การทำศลิ ปะก็เหมอื นการใช้กรดาษทดคิดเลข การทำเลขบนกระดาษทดทำให้การคดิ เลขแจม่ ชัดมากกว่าการ คดิ ในใจ ศิลปะ หรอื ว่างานศลิ ป์น้ัน ไม่จำเปน็ จะตอ้ งเป็นการวาดรปู อยา่ งเดียว การร้องงเพลง การเตน้ การ เรียนดนตรี ส่งิ เหลา่ นม้ี ันกถ็ ือว่าเป็นงานศิลปะเหมือนกนั บางคนก็อาจจะคดิ ว่า สง่ิ ท่กี ล่าวมาขา้ งตน้ นนั้ มันก็ เป็นกจิ กรรมที่ทำเพ่ือความสนกุ ช่วั ครู่ชั่วยามเทา่ น้นั มันไม่สามารถเอามาใช้ไดจ้ รงิ หรือว่าสามารถเอามาสรา้ ง รายได้ให้กับตัวเองได้ แต่ความเปน็ จรงิ ศลิ ปะมันสามารถที่จะทำเงนิ สรา้ งกำไรให้กบั คนทีส่ รา้ งสรรค์ผลงาน ศิลปะได้เหมือนกนั อย่างทเ่ี ราเหน็ ศลิ ปนิ หลาย ๆ ทา่ นท่ีทำงานศลิ ปะเหลา่ นี้ออกมา จนมีช่อื เสียงโดง่ ดงั ก้อง โลกก็มี และศลิ ปะเอง กเ็ ป็นอีกหน่งึ วชิ าทเ่ี รียนกนั ตั้งแต่เล็กแตน่ ้อยเลยทีเดยี ว บางคนเรียนต้งั แตย่ งั ไม่เขา้ โรงเรยี นด้วยซำ้ โดยการสอนจากคนเป็นพอ่ แมน่ น่ั เอง ซึง่ มันกถ็ ือว่าเปน็ วิชาท่ีมปี ระโยชนอ์ ยา่ งมาก ในด้านการ พัฒนาจิตใจ และส่ิงต่าง ๆ ของเด็ก ศิลปะเด็ก เปน็ คำศัพท์ใหมท่ ่ียอมรับกันอย่างกว้างขวางในหลายทศวรรษที่ผา่ นมา และได้รับความ สนใจกันมากข้นึ ว่า จิตใจของเดก็ ยอ่ มสะท้อนออกมาในงานศิลปะทเ่ี ขาทำ จดุ หมายสำคัญของ กระบวนการพัฒนาศลิ ปะและการสร้างสรรคข์ องเด็กคือ เพ่ือใหเ้ ด็กได้ใช้การเชื่อมโยงในสมอง คิด จินตนาการ อย่างเตม็ ที่ และผลโดยตรงทเ่ี ดก็ ไดร้ ับการพฒั นาด้านนก้ี ็คือ ความรู้สกึ พอใจมีความสุข ได้สัมผสั สุนทรยี ์ของโลก ตง้ั แต่ยงั เยาว์ ศิลปศึกษา มีความสำคัญต่อการพฒั นาวงจรสมองทีท่ ำงานดา้ นอารมณ์ของเด็ก การจดั กิจกรรมการ เรียนการสอนใหเ้ ด็กอย่างถูกต้อง จะช่วยสร้างวงจรเซลลส์ มองให้มีการพัฒนาความรู้สึกตา่ ง ๆ ของเด็กไดเ้ ปน็ อย่างดี การเร่ิมเรยี นศิลปศึกษาในชว่ งแรก ควรเริ่มจากการฝกึ ใหเ้ ด็กสังเกตธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม สมองจะ จดั การประมวลสิ่งที่เหน็ และรู้สกึ แลว้ จดั การถ่ายทอดความคิดออกมาในรูปแบบตา่ งๆสง่ิ น้ีจะยอ้ นกลับไปขัด เกลาตกแต่งจติ ใจของเด็ก การสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กทำงานศิลปะเปน็ สิ่งสำคัญ เด็กทุกคนมีกำลังใจเม่ือเขารวู้ า่ ตัวเขา 41
ไดร้ บั การยอมรับ และรวู้ า่ เขามคี วามหมาย งานศลิ ปะเด็กสะท้อนตัวเด็กเอง เสน้ หนกั หรือเบา สีเขม้ หรืออ่อน ยงั ไมใ่ ชป่ ระเดน็ ท่ีต้องวิจารณ์ ควรมุ่งไปทจ่ี ิตใจ จิตวิญญาณของเด็กเป็นสำคัญ เราจะมาดูเหตผุ ลกนั ว่าทำไม เรา จึงต้องใหเ้ ด็กเรียนศลิ ปะ คนทเี่ ป็นพ่อแม่ หรือว่ามลี กู หลาน จะได้พาลกู ไปเรยี นศิลปะบ้าง - ฝึกให้เดก็ มคี วามคิดกวา้ งไกล การให้เด็กเรียนศลิ ปะ อยา่ งเช่นการวาดภาพ ถือว่าเป็นการทำใหเ้ ด็ก ได้แสดงออก ถึงสิ่งทอี่ ยู่ในความคดิ ไม่วา่ จะเปน็ ความคดิ เร่ืองอะไรก็ตาม ถ้าปล่อยใหเ้ ด็กวาดภาพอะไรก็ได้ ตามใจชอบ โดยท่ีไม่บงั คับวา่ จะตอ้ งอย่างนั้น จะต้องเปน็ แบบน้ี มันก็สามารถทำใหเ้ ด็กแสดงออกมาได้อย่าง เตม็ ท่ี โดยที่เราไมต่ ้องไปปิดกั้น เปน็ การฝึกให้เด็กมีความคิดสรา้ งสรรค์ คิดการณไ์ กล มันจะมปี ระโยชนอ์ ย่างย่งิ เมือ่ เขาโตขึน้ นสิ ยั เหลา่ นกี้ จ็ ะตดิ ตัวเด็กมาด้วยนั่นเอง - ฝกึ ให้มีความคิดสร้างสรรค์ บางส่ิงบางอย่างท่ีอยใู่ นหวั ของเดก็ อาจจะเป็นสงิ่ ท่ีผูใ้ หญบ่ างคนไม่ อาจจะเข้าใจได้ อยา่ งเชน่ รถทำไมมันถึงเป็นลกั ษณะแบบน้ี ผลสม้ ทำไมมนั เปน็ ลกู แบบนี้ สิง่ ตา่ ง ๆ ทีเ่ ด็กได้ แสดงออกมา มันลว้ นมาจากจินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ของเด็กนนั่ เอง และเมือ่ เขาโตข้ึนมา แด็กท่เี รา คิดว่าเขาวาดภาพแปลก ๆ เหล่านัน้ เขาอาจจะสรา้ งส่งิ ทย่ี งิ่ ใหญ่ใหก้ บั โลกนี้ได้ โดยทไ่ี อเดียเหล่านั้นมันไม่ซ้ำ ใครดว้ ย - ฝึกใหเ้ ปน็ คนช่างสงั เกต เมื่อเราแนะนำใหเ้ ด็กวาดภาพสง่ิ ของบางส่งิ บางอย่าง โดยไปหาต้นแบบมา ถ้าฝึกบอ่ ยๆ จนเดเกสามารถวาดภาพได้เหมือน และสวยงามด้วย แสดงว่าเดก็ คนนั้นเป็นคนทชี า่ งสงั เกตแลว้ และเมื่อเขาเปน็ คนที่ชา่ งสงั เกต เวลาไปเรยี นวชิ าอะไร หรือว่าทำงานอะไรก็ตาม นิสัยช่างสังเกตกจ็ ะตดิ ตัวไป ด้วย โดยท่ีเราไมต่ อ้ งบอกเลย มนั จะมาเองโดยอัตโนมตั ิ - มคี วามสขุ อนั น้ถี ือว่าสำคัญมาก คนท่ีสามารถหาความสุขจากส่งิ ใกลต้ ัว หรือวา่ เร่ืองเลก็ น้อยได้ เขา ก็สามารถท่ีจะอยู่บนโลกน้ี ในสังคมนีไ้ ด้ทุกแบบ ไม่กดดัน หรือไม่เครยี ดแน่นอน เพราะเหตุนี้ เราจึงให้เด็กฝึกการเรยี นศิลปะหรอื วา่ ฝึกให้ทำงานศิลปะตั้งแตเ่ ด็ก เพราะมันสง่ ผลใน หลายดา้ นมาก และเมื่อเขาโตข้ึนมา ก็ให้ตัดสนิ ใจเองว่า จะเรียนศกึ ษาต่อเพ่มิ หรืออย่างไรกแ็ ลว้ แตเ่ ดก็ แต่ อย่างน้อยมันกเ็ ปน็ วิธีในการสรา้ งความสุขให้กับเดก็ ดว้ ย อา้ งอิง สำนักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน).(2560). การจัดการเรียนรู้ตามหลกั สตู ร Brain-Based Learning ด้านศิลปะและการสร้างสรรค์. สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 20 เมษายน 2564, จาก http://www.okmd.or.th/bbl/documents/338/bbl-arts-creativity ทำไมถึงต้องใหเ้ ด็กเรียนศิลปะ ศลิ ปะดกี บั เด็กอยา่ งไร.(2562).สืบคน้ เม่อื วันที่ 20 เมษยน 2564, จาก https://wilmington-film.com ศลิ ปะกับConstructivism มีความสำคญั อย่างไรใน ศตวรรษที่ 21 42
ภูรินท์ กัลยารัตน์ “ศตวรรษท่ี 21”เป็นคำทีห่ ลายคนเคยไดย้ ิน โดยเฉพาะคนในแวดวงการศกึ ษาท่ีมกั ได้ยินคำนพี้ ่วงทา้ ย คำว่า “การศึกษา” บ่อยครงั้ ซ่ึงคำว่าศตวรรษที่ 21นั้น มาพรอ้ มกบั ความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และ เทคโนโลยี ทสี่ ร้างแรงสั่นสะเทอื นจนกระเพื่อมและเปลย่ี นแปลงหลายอยา่ งในชวี ิตประจำวันของผูค้ น รวมทั้งยงั เปล่ียนแปลง กรอบแนวคดิ ความเชื่อ ทัศนคติ ฯลฯ ซ่งึ เป็นผลมาจากการเขา้ ถึงข้อมูลมหาศาลได้ อยา่ งรวดเรว็ เพียงไม่ก่ีนาที การเปลยี่ นเหล่านี้ ทำใหผ้ ู้คนสามารถวิเคราะห์ หรือเรียนรู้ส่ิงรอบตวั ดว้ ยเหตผุ ล และองค์ความรู้ทห่ี าได้เอง และนเ้ี องตอ่ คำวา่ “การศกึ ษา” จากคำว่า “การศกึ ษา” ท่ีพ่วงทา้ ยคำว่าศตวรรษที่ 21 ข้างต้นจึงเกิดนิยามใหม่ว่าการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์เข้ามามบี ทบาทเกย่ี วข้องกับการจดั การศึกษา เพอื่ ให้ ผู้เรยี นเกดิ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ มีเหตุผล และสามารถค้นหาหรอื เข้าถงึ แหลง่ ข้อมลู ดว้ ยตนเอง หรือกล่าว อย่างง่ายว่า “เรยี นร้ดู ้วยตนเอง ท่สี อดคล้องกับการเรยี นรู้ท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญหรอื เน้นผู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง การเรียนรู้ ทผี่ เู้ รียนจะแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รวมถงึ การเปลี่ยนแปลงบทบาทในห้องเรียนทค่ี รูจะลด บทบาทของตนเองเปน็ ผูใ้ ห้คำปรึกษาและผ้คู อยกระตุน้ สว่ นผู้เรยี นจะถกู เพ่มิ บทบาทให้รจู้ ักการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองและการท่ีจะทำให้ผูเ้ รียนเกดิ กระบวนการหรอื บรรลเุ ปา้ ประสงค์ดงั กลา่ วจำต้องมีสงิ่ ทส่ี ่งเสริมและ สนบั สนุน หนึง่ ในนัน้ คอื ทฤษฎกี ารสอนแบบ Constructivism ซึ่งเชอื่ ว่า การเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการสร้าง มากกวา่ การรับความรู้ ดังนั้น เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนจะสนับสนนุ การสรา้ งมากกว่าความ พยายามในการถ่ายทอดความรู้ ดังนั้น กลมุ่ แนวคดิ คอนสตรัคตวิ ิสต์ จะม่งุ เน้นการสรา้ งความรูใ้ หม่อย่าง เหมาะสมของแต่ละบุคคล และเชอ่ื วา่ สิ่งแวดล้อมมีความสำคญั ในการสร้างความหมายตามความเป็นจริง (Duffy and Cunningham, 1996) การสอนศิลปะท่สี ามารทำให้ผเู้ รยี นเกิดกระบวนการหรอื บรรลเุ ป้าประสงค์ ของการเรียนรใู้ นศตวรรษท่2ี 1 ท่อี าศยั ทฤษฎีการสอนแบบ constructivism เขา้ มาช่วยในการจัดการเรยี นการ สอน ซง่ึ ครูจะต้องจัดกิจกรรมศลิ ปะท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผเู้ รียน ไม่เนน้ การรปู เกง่ หรอื สวยงาม เท่าน้ัน แต่ตอ้ งใหผ้ ้เู รียนเกิดความรักที่แสวงหาความรู้ทางด้านศลิ ปะด้วย เชน่ การใช้กจิ กรรมที่เนน้ พฒั นา ทางด้านสนุ ทรีย์โดยใชก้ ารเรียนรู้แบบ constructivism ไม่ว่าจะให้ผ้เู รียนจับกลุ่มรว่ มมือเรยี นรจู้ ากปัญหาที่ครู กำหนดจะทำใหผ้ ้เู รยี นลงมือกระทำในการสรา้ งความรู้ หรือเรียกว่า Actively construct มใิ ช่ Passive receive ท่ีเปน็ การรับข้อมลู หรือสารสนเทศ และพยายามจดจำเท่านั้น เพื่อทีผ่ เู้ รยี นมีทักษะทางศิลปะท่ี สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในอนาคต ปรับปรุงพฒั นา เทคโนโลยี ตลอดจนนวัตกรรม และหาความรู้เพ่ิมเตมิ ได้ ด้วยตนเอง ดงั น้นั จะเหน็ ไดว้ า่ วิชาศิลปะสามารถมีสว่ นสำคัญและบทบาทในศตวรรษที่ 21 ได้ หากครูผู้สอนนำ ทฤษฎีการเรยี นรู้ทสี่ อดคล้องกับการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนโดย ใช้หลกั ทว่ี ่า 43
Search