บทที่ ๒ แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั การบริหารการศึกษา ในการวจิ ยั คร้ังน้ี ไดร้ วบรวมแนวคิดตา่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การวจิ ยั ไว้ เพอื่ เป็นแนวทางในการศึกษา และวเิ คราะห์ ดงั มีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี ๑. ทฤษฎีการบริหารการศึกษา ๒. กระบวนการบริหารการศึกษา ๓. ความหมายของทฤษฎีและทฤษฎีบริหารการศึกษา ๔. ทฤษฎีทางการบริหารและววิ ฒั นาการการบริหารการศึกษา ๕. การบริการตามวงจรเดมมิ่ง ๖. การประกนั คุณภาพการศึกษา ๗. การประกนั คุณภาพการศึกษาของ ทบ. ๘. งานวจิ ยั และบทความท่ีเก่ียวขอ้ ง ๙. กรอบแนวคิดงานวจิ ยัทฤษฎกี ารบริหารการศึกษา ในการบริหารสถานศึกษา ผูบ้ ริหารควรมีหลกั และกระบวนการบริหารการศึกษา หลกั การแนวคิดในการบริหารภาพรวมของการบริหาร ท้ังน้ีเพ่ือให้การจดั การบริหารสถานศึกษามีความเหมาะสมผูเ้ ขียนจะได้กล่าวถึงประเด็นดงั กล่าว เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจและมุมมองในการบริหารสถานศึกษายงิ่ ข้ึนต่อไป คาจากดั ความคาวา่ “การบริหาร” (Administration) ใชใ้ นความหมายกวา้ งๆ เช่น การบริหารราชการ อีกคาหน่ึง คือ “การจดั การ” (Management) ใช้แทนกนั ไดก้ บั คาว่า การบริหารส่วน มากหมายถึง การจัดการทางธุรกิจมากกว่าโดยมีผู้กาหนดความหมายหลายท่านได้ระบุไว้ดังน้ีPeter F Drucker : คือ ศิลปะในการทางานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกบั ผูอ้ ื่น1 Herbert A. Simon : กล่าววา่ คือ1 ภาวดิ า ธาราศรีวสิ ุทธิและวบิ ูลย์ โตวณะบุตร, หลกั และทฤษฎีบริหารการศึกษา, พมิ พค์ ร้ังท่ี ๑, กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยัรามคาแหง, ๒๕๔๒, หนา้ ๖
๘กิจกรรมท่ีบุคคลต้งั แต่ ๒ คนข้ึนไป ร่วมมือกนั ดาเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ งร่วมกนั การบริหาร หมายถึง ศิลปะในการทาใหส้ ิ่งตา่ งๆ ไดร้ ับการกระทาจนเป็ น ผลสาเร็จ กล่าวคือผบู้ ริหารไม่ใช่เป็ นผูป้ ฏิบตั ิ แต่เป็ นผูใ้ ชศ้ ิลปะทาให้ผูป้ ฏิบตั ิทางานจนสาเร็จตามจุดมุ่งหมายท่ีผูบ้ ริหารตดั สินใจเลือกแลว้ (Simon) การบริหาร คือ กระบวนการทางานร่วมกบั ผูอ้ ื่นเพ่ือใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ (Sergiovanni) การบริหาร คือ การทางานของคณะบุคคลต้งั แต่ ๒ คนข้ึนไป ที่รวมปฏิบตั ิการใหบ้ รรลุเป้าหมายร่วมกนั (Barnard) การบริหาร หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ท่ีบุคคลต้ังแต่สองคนข้ึนไปร่วมมือกันดาเนินการ เพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคอ์ ยา่ งหน่ึงอยา่ งใดหรือหลายๆ อยา่ งท่ีบุคคลร่วมกนั กาหนดโดยใช้กระบวนอยา่ งมีระบบและใหท้ รัพยากรตลอดจนเทคนิคตา่ งๆ อยา่ งเหมาะสม2 คาวา่ “การบริหารการศึกษา” หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคลหลายคนร่วมกนั ดาเนิน การเพ่ือพฒั นาสมาชิกของสังคมในทุกๆ ดา้ น นบั แต่ บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ เจตคติ พฤติกรรมคุณธรรม เพ่ือให้มีค่านิยมตรงกนั กบั ความตอ้ งการของสังคม โดยกระบวนการต่างๆ ท่ีอาศยั ควบคุมสิ่งแวดลอ้ มใหม้ ีผลต่อบุคคล และอาศยั ทรัพยากร ตลอดจนเทคนิคต่างๆ อยา่ งเหมาะสม เพ่ือให้บุคคลพฒั นาไปตรงตามเป้าหมายของสงั คมที่ตนดาเนินชีวติ อยู่ 2 คาว่า “สถานศึกษา” หมายความ วา่ สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั โรงเรียน ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษศูนย์การศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศยั ศูนย์การเรียน วิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน สถาบันหรือสถานศึกษาที่เรียกช่ืออย่างอื่นของรัฐท่ีมีอานาจหน้าที่หรือมีวตั ถุประสงค์ในการจดั การศึกษาตามกฎหมายว่าดว้ ยการศึกษาแห่งชาติและตามประกาศกระทรวง (พระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, ๒๕๔๗ : ๒๓) การบริหารเป็นท้งั ศาสตร์และศิลป์ การบริหารเป็นสาขาวิชาที่มีการจดั การระเบียบอยา่ งเป็ นระบบ คือมีหลกั เกณฑ์และทฤษฎีท่ีพึงเช่ือถือได้ อนั เกิดจาการคน้ ควา้เชิงวิทยาศาสตร์ เพ่ือประโยชน์ในการบริหาร โดยลกั ษณะน้ีการบริหารจึงเป็ นศาสตร์ (Science) เป็ นศาสตร์สังคม ซ่ึงอยูก่ ลุ่มเดียวกบั วชิ าจิตวิทยา สังคมวิทยา และรัฐศาสตร์แต่ถา้ พิจารณาการบริหารในลกั ษณะของการปฏิบตั ิที่ตอ้ งอาศยั ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และทกั ษะของผูบ้ ริหารแต่ละคนท่ีจะ ทางานให้บรรลุเป้าหมาย ซ่ึงเป็ นการประยุกต์เอาความรู้ หลกั การและทฤษฎีไปรับใช้ในการปฏิบตั ิงานเพื่อให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ และส่ิงแวดลอ้ ม การบริหารก็จะมีลกั ษณะเป็ นศิลป์ (Arts)ปัจจยั สาคญั การบริหารท่ีสาคญั มี ๔ อยา่ ง ที่เรียกวา่ ๔Ms ไดแ้ ก่2 ภาวดิ า ธาราศรีวสิ ุทธิ และวบิ ูลย์ โตวณะบุตร, หลกั และทฤษฎีบริหารการศึกษา, พมิ พค์ ร้ังท่ี ๑, กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยัรามคาแหง, ๒๕๔๒, หนา้ ๖
๙๑. คน (Man)๒. เงิน (Money)๓. วสั ดุสิ่งของ (Materials)๔. การจดั การ (Management)กระบวนการบริหารการศึกษา จากหลกั การบริหารทว่ั ไป ๑๔ ขอ้ ของ Fayol ทาใหต้ ่อมา Luther Gulick ไดน้ ามาปรับต่อยอดเป็นที่รู้จกั กนั ดีในตวั อกั ษรยอ่ ท่ีวา่ “POSDCoRB” กลายเป็ นคมั ภีร์ของการจดั องคก์ ารในตน้ ยคุ ของศาสตร์การบริหารซ่ึงตวั ยอ่ แตล่ ะตวั มีความหมายดงั น้ี P – Planning หมายถึง การวางแผน O – Organizing หมายถึง การจดั องคก์ าร S – Staffing หมายถึง การจดั คนเขา้ ทางาน D – Directing หมายถึง การส่ังการ Co – Coordinating หมายถึง ความร่วมมือ R – Reporting หมายถึง การรายงาน B – Budgeting หมายถึง งบประมาณความหมายของทฤษฎแี ละทฤษฎที างการบริหารการศึกษา ทฤษฎี หมายถึง แนวความคิดหรือความเช่ือท่ีเกิดข้ึนอยา่ งมีหลกั เกณฑ์มีการทดสอบและการสังเกตจนเป็ นท่ีแน่ใจ ทฤษฎีเป็ น เซท(Set) ของมโนทศั น์ที่เช่ือมโยงซ่ึงกนั และกนั เป็ นขอ้ สรุปอย่างกวา้ งท่ีพรรณนาและอธิบายพฤติกรรมการบริหารองคก์ รการทางศึกษา อยา่ งเป็ นระบบ ถา้ ทฤษฎีไดร้ ับการพิสูจน์บอ่ ย ๆ ก็จะกลายเป็นกฎเกณฑ์ ทฤษฎีเป็นแนวความคิดท่ีมีเหตุผลและสามารถนาไปประยุกต์และปฏิบตั ิได้ ทฤษฎีมีบทบาทในการใหค้ าอธิบายเก่ียวกบั ปรากฏทวั่ ไปและช้ีแนะการวจิ ยัทฤษฎที างการบริหารและววิ ฒั นาการการบริหารการศึกษา ระยะท่ี ๑ ระหว่าง ค.ศ. ๑๘๘๗ – ๑๙๔๕ (ภาวดิ า ธาราศรีสุทธิ, ๒๕๔๒ : ๑๐) ยุคนกั ทฤษฎีการบริหารสมยั ด้งั เดิม (The Classical organization theory) แบง่ ยอ่ ยเป็น ๓ กลุ่มดงั น้ี
๑๐ ๑. กลุ่มการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของเทย์เลอร์ (Scientific Management) ของเฟรดเดออริก เทยเ์ ลอร์ (Frederick Taylor) ความมุ่งหมายสูงสุดของแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์คือ จดั การบริหารธุรกิจหรือโรงงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด Taylor มองคนงานแต่ละคนเปรียบเสมือนเคร่ืองจกั รที่สามารถปรับปรุงเพ่ือเพิ่มผลผลิตขององคก์ ารได้ เจา้ ของตารับ “The one bestway” คือประสิทธิภาพของการทางานสูงสุดจะเกิดข้ึนไดต้ อ้ งข้ึนอยกู่ บั สิ่งสาคญั ๓ อยา่ งคือ ๑.๑ เลือกคนที่มีความสามารถสูงสุด (Selection) ๑.๒ ฝึกอบบรมคนงานใหถ้ ูกวธิ ี (Training) ๑.๓ หาส่ิงจูงใจใหเ้ กิดกาลงั ใจในการทางาน (Motivation) เทยเ์ ลอร์ ก็คือผลผลิตของยุคอุตสาหกรรมในงานวจิ ยั เรื่อง “Time and Motion Studie s”เวลาและการเคลื่อนไหว เชื่อวา่ มีวิธีการการทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีจะบรรลุวตั ถุประสงคเ์ พียงวธิ ีเดียวที่ดีท่ีสุดเขาเช่ือในวธิ ีแบ่งงานกนั ทา ผปู้ ฏิบตั ิระดบั ล่างตอ้ งรับผดิ ชอบตอ่ ระดบั บน เทยเ์ ลอร์ เสนอ ระบบการจา้ งงาน (จ่ายเงิน) บนพ้ืนฐานการสร้างแรงจูงใจ สรุ ปหลักวิทยาศาสตร์ของเทยเลอร์ สรุ ปง่ายๆประกอบดว้ ย ๓ หลกั การดงั น้ี ๑. การแบง่ งาน (Division of Labors) ๒. การควบคุมดูแลบงั คบั บญั ชาตามสายงาน (Hierarchy) ๓. การจา่ ยคา่ จา้ งเพื่อสร้างแรงจูงใจ (Incentive payment) ๒. กล่มุ การบริหารจัดการ (Administration Management) หรือทฤษฎีบริหารองคก์ ารอยา่ งเป็ นทางการ (Formal Organization Theory) ของเฮนรี ฟาโยล (Henri Fayol) บิดาของทฤษฎีการปฏิบตั ิการและการจดั การตามหลกั บริหารท้งั Fayol และ Taylor จะเน้นตวั บุคลปฏิบตั ิงาน + วิธีการทางาน ไดป้ ระสิทธิภาพและประสิทธิผลแต่ก็ไม่มองดา้ น “จิตวิทยา” (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, ๒๕๔๒:๑๗) Fayol ไดเ้ สนอแนวคิดในเรื่องหลกั เกี่ยวกบั การบริหารทวั่ ไป ๑๔ ประการ แต่ลกั ษณะท่ีสาคญั มีดงั น้ี ๒.๑ หลกั การทางานเฉพาะทาง (Specialization) คือ การแบ่งงานให้เกิดความชานาญเฉพาะทาง ๒.๒ หลกั สายบงั คบั บญั ชา เริ่มจากบงั คบั บญั ชาสูงสุดสู่ระดบั ต่าสุด ๒.๓ หลกั เอกภาพของบงั คบั บญั ชา (Unity of Command) ๒.๔ หลกั ขอบข่ายของการควบคุมดูแล (Span of control) ผดู้ ูแลหน่ึงคนต่อ ๖ คนท่ีจะอยู่ใตก้ ารดูแลจึงจะเหมาะสมและมีประสิทธิภาพท่ีสุด ๒.๕ การสื่อสารแนวด่ิง (Vertical Communication) การสื่อสารโดยตรงจากเบ้ืองบนสู่เบ้ืองล่าง ๒.๖ หลกั การแบ่งระดบั การบงั คบั บญั ชาใหน้ ้อยท่ีสุด คือ ไม่ควรมีสายบงั คบั บญั ชายืดยาว หลายระดบั มากเกินไป
๑๑ ๒.๗ หลกั การแบ่งความรับผิดชอบระหว่างสายบงั คบั บญั ชาและสายเสนาธิการ (Lineand Staff Division) ๓. ทฤษฎบี ริหารองค์การในระบบราชการ (Bureaucracy) มาจากแนวคิดของแมกซ์ เวเบอร์(Max Weber) ท่ีกล่าวถึงหลกั การบริหารราชการประกอบดว้ ย ๓.๑ หลกั ของฐานอานาจจากกฎหมาย ๓.๒ การแบ่งหนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบ ที่ตอ้ งยดึ ระเบียบกฎเกณฑ์ ๓.๓ การแบ่งงานตามความชานาญการเฉพาะทาง ๓.๔ การแบง่ งานไมเ่ ก่ียวกบั ผลประโยชนส์ ่วนตวั ๓.๕ มีระบบความมน่ั คงในอาชีพ จะอย่างไรก็ตามระบบราชการก็มีท้งั ขอ้ ดีและขอ้ เสีย ซ่ึงในดา้ น ขอ้ เสีย คือ สายบงั คบั บญั ชายืดยาวการทางานตอ้ งอา้ งอิงกฎระเบียบ จึงชกั ชา้ ไม่ทนั การแกไ้ ขปัญหาในปัจจุบนั เรียกว่า ระบบ “Red tape”ในดา้ นขอ้ ดี คือ ยึดประโยชน์สาธารณะเป็ นหลกั การบงั คบั บญั ชา การเลื่อนข้นั ตาแหน่งท่ีมีระบบระเบียบแตใ่ นปัจจุบนั ระบบราชการกาลงั ถูกแทรกแซงทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ ทาใหเ้ ร่ิมมีปัญหา ระยะท่ี ๒ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๔๕ – ๑๙๕๘ (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, ๒๕๔๒ : ๑๐) ยคุ ทฤษฎีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ (Human Relation) Follette ไดน้ าเอาจิตวิทยามาใชแ้ ละไดเ้ สนอ การแกป้ ัญหาความขดั แยง้ (Conflict) ไว้ ๓ แนวทางดงั น้ี ๑. Domination คือ ใชอ้ านาจอีกฝ่ ายสยบลง คือใหอ้ ีกฝ่ ายแพใ้ หไ้ ด้ ไมด่ ีนกั ๒. Compromise คือ คนละคร่ึงทาง เพอื่ ใหเ้ หตุการณ์สงบโดยประนีประนอม ๓. Integration คือ การหาแนวทางท่ีไม่มีใครเสียหนา้ ไดป้ ระโยชน์ท้งั ๒ ทาง (ชนะ ชนะ)นอกจากน้ี Follette ให้ทศั นะน่าฟังวา่ “การเกิดความขดั แยง้ ในหน่วยงานเป็ นความพกพร่องของการบริหาร” (ภาวดิ า ธาราศรีสุทธิ, ๒๕๔๒ : ๒๕) การวจิ ยั หรือการทดลองฮอร์ทอร์น (Hawthon Experiment) ที่ เมโย (Mayo) กบั คณะทาการวจิ ยั เริ่มที่ขอ้ สมมติฐานวา่ ส่ิงแวดลอ้ มมีผลต่อประสิทธิภาพการทางานของคนงาน มีการคน้ พบจากการทดลองคือมีการสร้างกลุ่มแบบไม่เป็ นทางการในองค์การ ทาให้เกิดแนวความคิดใหม่ท่ีว่าความสมั พนั ธ์ของมนุษย์ มีความสาคญั มาก ซ่ึงผลการศึกษาทดลองของเมโยและคณะ พอสรุปไดด้ งั น้ี ๑. คนเป็นสิ่งมีชีวติ จิตใจ ขวญั กาลงั ใจ และความพึงพอใจเป็นเรื่องสาคญั ในการทางาน ๒. เงินไม่ใช่ สิ่งล่อใจท่ีสาคญั แต่เพียงอย่างเดียว รางวลั ทางจิตใจมีผลต่อการจูงใจในการทางานไมน่ อ้ ยกวา่ เงิน ๓. การทางานข้ึนอยกู่ บั สภาพแวดลอ้ มทางสังคมมากกวา่ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพคบั ท่ีอยู่ไดค้ บั ใจอยอู่ ยาก ข้อคิดที่สาคัญ การตอบสนองคน ด้านความต้องการศกั ด์ิศรี การยกย่อง จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทางานจากแนวคิด “มนุษยสัมพนั ธ์”
๑๒ ระยะท่ี ๓ ต้งั แต่ ค.ศ. ๑๙๕๘ – ปัจจุบนั (ภาวดิ า ธาราศรีสุทธิ, ๒๕๔๒ : ๑๑) ยคุ การใชท้ ฤษฎีการบริหาร(AdministrativeTheory) หรือการศึกษาเชิงพฤติกรรมศาสตร์(Behavioral Science Approach)ยึดหลกั ระบบงาน + ความสัมพนั ธ์ของคน + พฤติกรรมขององคก์ าร ซ่ึงมีแนวคิด หลกั การ ทฤษฎี ที่หลายๆคนไดแ้ สดงไวด้ งั ต่อไปน้ี ๑. เชสเตอร์ ไอ บาร์นาร์ด (Chester I Barnard) เขียนหนงั สือช่ือ The Function of TheExecutive ท่ีกล่าวถึงงานในหน้าที่ของผูบ้ ริหารโดยให้ความสาคญั ต่อบุคคลระบบของความร่วมมือองคก์ าร และเป้าหมายขององคก์ าร กบั ความตอ้ งการของบุคคลในองคก์ ารตอ้ งสมดุลกนั ๒. ทฤษฎีของมาสโลว์ ว่าดว้ ยการจดั อนั ดบั ข้นั ของความตอ้ งการของมนุษย์ (Maslow –Hierarchy of needs) เป็ นเรื่องแรงจูงใจแบ่งความตอ้ งการของมนุษยต์ ้งั แต่ความตอ้ งการดา้ นกายภาพความตอ้ งการดา้ นความปลอดภยั ความตอ้ งการดา้ นสังคม ความตอ้ งการดา้ นการเคารพ – นบั ถือ และประการสุดทา้ ย คือ การบรรลุศกั ยภาพของตนเอง (Self actualization) คือมีโอกาสไดพ้ ฒั นาตนเองถึงข้นั สูงสุดจากการทางาน แต่ความตอ้ งการเหล่าน้นั ตอ้ งไดร้ ับการสนองตอบตามลาดบั ข้นั ๓. ทฤษฎี X ทฤษฎี Y ของแมคกรีกอร์ (Douglas MC Gregor Theory X,Theory Y) เขาได้เสนอแนวคิดการบริหารอยบู่ นพ้นื ฐานของขอ้ สมมติฐานเกี่ยวกบั ธรรมชาติของมนุษยต์ ่างกนั ทฤษฎี X (The Traditional View of Direction and Control) ทฤษฎีนีเ้ กดิ ข้อสมติฐานดังนี้ ๑. คนไม่อยากทางาน และหลีกเล่ียงความรับผดิ ชอบ ๒. คนไมท่ ะเยอทะยาน และไมค่ ิดริเริ่ม ชอบใหก้ ารสั่ง ๓. คนเห็นแก่ตนเองมากกวา่ องคก์ าร ๔. คนมกั ต่อตา้ นการเปล่ียนแปลง ๕. คนมกั โง่ และหลอกง่าย ผลการมองธรรมชาติของมนุษยเ์ ช่นน้ี การบริหารจดั การจึงเนน้ การใชเ้ งิน วตั ถุ เป็นเครื่องล่อใจ เนน้ การควบคุม การสงั่ การ เป็นตน้ ทฤษฎี Y (The integration of Individual and Organization Goal) ทฤษฎขี ้อนีเ้ กดิ จากข้อสมติฐานดงั นี้ ๑. คนจะใหค้ วามร่วมมือ สนบั สนุน รับผดิ ชอบ ขยนั ๒. คนไม่เกียจคร้านและไวว้ างใจได้ ๓. คนมีความคิดริเร่ิมทางานถา้ ไดร้ ับการจูงใจอยา่ งถูกตอ้ ง ๔. คนมกั จะพฒั นาวธิ ีการทางาน และพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ ผูบ้ งั คบั บญั ชาจะไม่ควบคุมผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชาอย่างเขม้ งวด แต่จะส่งเสริมให้รู้จกั ควบคุมตนเองหรือของกลุ่มมากข้ึน ตอ้ งใหเ้ กียรติซ่ึงกนั และกนั จากความเช่ือที่แตกต่างกนั ทาใหเ้ กิดระบบการบริหารท่ีแตกตา่ งกนั ระหวา่ งระบบท่ีเนน้ การควบคุมกบั ระบบที่ค่อนขา้ งให้อิสรภาพ
๑๓ ๔. อูชิ (Ouchi) ชาวญี่ป่ ุนไดเ้ สนอ ทฤษฎี Z (Z Theory) (William G. Ouchi) ศาสตราจารยแ์ ห่งมหาวิทยาลยั UXLA (I of California Los Angeles) ทฤษฎีน้ีรวมเอาหลกั การของทฤษฎี X , Y เขา้ ดว้ ยกนัแนวความคิดก็คือ องคก์ ารตอ้ งมีหลกั เกณฑ์ท่ีควบคุมมนุษย์ แต่มนุษยก์ ็รักความเป็ นอิสระ และมีความตอ้ งการหนา้ ที่ของผูบ้ ริหารจึงตอ้ งปรับเป้าหมายขององค์การให้สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายของบุคคลในองคก์ ารการบริหารตามวงจรเดมม่ิง (Deming Cycle) วงจรเดมมิ่งหรือวงจรควบคุมคุณภาพ PDCA ยอ่ มาจาก Plan-Do-Check-Act แปลวา่ วางแผน –ปฏิบตั ิ – ตรวจสอบ – ปรับปรุง เป็ นวงจรที่มีความเกี่ยวขอ้ งกบั การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยตรง วงจรเดมมิ่ง สมศกั ย์ สินธุระเวชญ์ (๒๕๔๒ : ๑๘๐-๑๙๐) กล่าววา่ แนวคิดของวงจรน้ี ดร.วอล์ทเตอร์ชิวฮาร์ท เป็นผพู้ ฒั นาข้ึนเป็ นคนแรกในปี ค.ศ. ๑๙๓๙ และ ดร.เอดวาร์ด เดมิ่ง เป็ นผูน้ ามาเผยแพร่ในประเทศญ่ีป่ ุนเมื่อปี ค.ศ. ๑๙๕๐ จนเป็ นท่ีเผยแพร่หลายในชื่อ วฎั จกั รเดมม่ิง (Deming Cycle) หรือวงจรคุณภาพหรือวฎั จกั รแห่งการบริหารคุณภาพ ซ่ึงประกอบดว้ ย ๔ ข้นั ตอน ดงั น้ี ข้นั ตอนท่ี ๑ การวางแผน (Plan – P) ข้นั ตอนท่ี ๒ การปฏิบตั ิตามแผน (Do – D) ข้นั ตอนท่ี ๓ การตรวจสอบ (Check – C) ข้นั ตอนท่ี ๔ การปรับปรุง (ACT – A) อะไร กาหนดปัญหาวางแผน วเิ คราะห์ ปัญหา ทาไม หาสาเหตุ อยา่ งไร วางแผน ร่วมกนัปฏิบตั ิ นาไปปฏิบตั ิตรวจสอบ ยนื ยนั แกไ้ ข ผลลพั ธ์ ทามาตรฐาน แผนภาพท่ี ๒.๑ กระบวนการของ PDCA
๑๔ข้ันตอนที่๑ การวางแผน (Plan) การวางแผนงานจะช่วยพฒั นาความคิดต่างๆ เพื่อนาไปสู่รูปแบบท่ีเป็ นจริงข้ึนมาโดยละเอียดใหพ้ ร้อมในการเร่ิมตน้ ลงมือปฏิบตั ิ ข้นั ตอนที่ ๒ การปฏิบตั ิ (DO) ประกอบดว้ ยการทางาน ๓ ระยะ คือ ๑. การวางแผนการกาหนดการ - การแยกแยะกิจกรรมตา่ งๆ ท่ีตอ้ งการกระทา - กาหนดเวลาท่ีตอ้ งใชใ้ นกิจกรรมแตล่ ะอยา่ ง - การจดั สรรทรัพยากรตา่ งๆ ๒. การจดั แบบเมทริกซ์ (Matrix Management) การจดั แบบน้ี สามารถช่วยดึงเอาผเู้ ช่ียวชาญหลายแขนงจากแหล่งต่างๆ มาไดแ้ ละเป็นวธิ ีช่วยประสานงานระหวา่ งฝ่ ายต่างๆ ๓. การพฒั นาขีดความสามารถในการทางานของผรู้ ่วมงาน - ใหผ้ รู้ ่วมงานเขา้ ใจถึงงานท้งั หมดและทราบเหตุผลที่ตอ้ งกระทา - ใหผ้ รู้ ่วมงานพร้อมในการใชด้ ุลพินิจที่เหมาะสม - พฒั นาจิตใจใหร้ ักการร่วมมือกนั ข้นั ตอนที่ ๓ การตรวจสอบ (Check) ทาใหร้ ู้สภาพการของงานท่ีเป็ นอยูเ่ ปรียบเทียบกบั สิ่งท่ีวางแผนซ่ึงประกอบดว้ ยกระบวนการดงั น้ี ๑. กาหนดวตั ถุประสงคข์ องการตรวจสอบ ๒. รวบรวมขอ้ มูล ๓. พจิ ารณากระบวนการทางานเป็ นตอนๆ เพื่อแสดงจานวนและคุณภาพของผลงานที่ไดร้ ับแตล่ ะข้นั ตอนเปรียบเทียบกบั ท่ีไดว้ างแผนไว้ ๔. การรายงาน จดั แสดงผลการประเมินรวมท้งั มาตรการป้องกนั ความผิดพลาดหรือความลม้ เหลว โดยรายงานเป็นทางการอยา่ งสมบรูณ์ และรายงานแบบยอ่ อยา่ งไมเ่ ป็นทางการ ข้นั ตอนที่ ๔ การปรับปรุงแกไ้ ข (Act) ผลของการตรวจสอบหากพบวา่ เกิดความบกพร่องข้ึนทาให้งานท่ีได้ไม่ตรงเป้าหมายหรือผลงานไม่ไดม้ าตรฐาน ไห้ปฏิบตั ิตามแก้ไขปัญหาตามลกั ษณะที่คน้ พบ ดงั น้ี ๑. ถา้ ผลงานเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมาย ตอ้ งแกไ้ ขที่ตน้ เหตุ ๒. ถา้ พบความผดิ ปกติใดๆ ใหส้ อบสวนคน้ หาสาเหตุแลว้ ทาการป้องกนั เพือ่ มิใหค้ วามผดิ ปกติน้นั เกิดข้ึนซ้าอีกในการแกป้ ัญหาเพอ่ื ใหผ้ ลงานไดม้ าตรฐานอาจใชม้ าตรการดงั ต่อไปน้ี - การย้านโยบาย - การปรับปรุงระบบหรือวธิ ีการทางาน - การประชุมเก่ียวกบั กระบวนการทางาน นอกจากน้ียงั สามารถแสดงการควบคุมคุณภาพในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ของทุกระบบที่เช่ือมโยงกนั ดงั แผนภาพประกอบ
๑๕ธรรมนูญ APสถานศึกษา.....ผบู้ ริหาร CD AP..........หวั หนา้ หมวด/ฝ่ าย CA AP.................... ครู - บุคลากรอ่ืนๆ CDแผนภาพท่ี ๒.๒ การควบคุมคุณภาพในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่างๆ ของทกุ ระดบั ทเ่ี ช่ือมโยงกนั ทม่ี า : สมศักด์ิ สินธุระเวชญ์ (๒๕๔๒ : ๑๙๐ ) จากภาพประกอบจะเห็นไดว้ า่ การควบคุมคุณภาพตามกระบวนการ PDCA จะตอ้ งมีการประทาในทุกระบบอยา่ งต่อเน่ือง ไม่วา่ จะเป็ น ผบู้ ริหาร หวั หนา้ หมวดหรือฝ่ าย ครูและบุคลากรอื่นๆ และมีการเชื่อมโยงกนั จึงจะเกิดประสิทธิภาพในการบริหารจดั การอนั จะส่งผลใหผ้ ลผลิตมีคุณภาพตามมาดว้ ยนอกจากนี่ยงั ตอ้ งการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ควรมีการประเมินตนเองไปพร้อมกนั ดว้ ย กล่าวคือในกระบวนการปฏิบตั ิ หรือ D (Do) ควรจะมีวงจร PDCA หมุนอยูด่ ว้ ยหรือกล่าวอีกนยั หน่ึง ก็คือในขณะท่ีมีการทางานก็จะมีการประเมินตนเองไปพร้อมกนั นน่ั เอง สรุป การบริหารงานดว้ ยวงจรเดมม่ิง (Deming Cycle) เป็ นกระบวนการบริหารคุณภาพท่ีก่อให้เกิดประสิทธิภาพในองค์กรหรือหน่วยงาน และเพื่อให้องค์กรมีการพฒั นาอย่างต่อเน่ือง การบริหารงานดว้ ยกระบวนการวงจรเดมมิ่ง จะตอ้ งประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบตั ิตามแผน การตรวจสอบ และการปรับปรุงแกไ้ ข ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี การวางแผน การวางแผน เป็ นเร่ืองท่ีมีความสาคญั เป็ นอนั ดบั แรกสุด ของกระบวนการ PDCA เพราะทุกกระบวนการของวงจรเดมม่ิงเป็ นผลท่ีต่อเน่ืองมาจากแผนท้งั สิ้น ถา้ ในข้นั ตอนการวางแผนทาไดไ้ ม่ดียอ่ มจะส่งผลต่อกระบวนการอ่ืนๆ ที่ตามมา แต่ในทางกลบั กนั ถ้ามีการวางแผนท่ีดี กิจกรรมต่างๆก็สามารถดาเนินไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ดงั ที่ สุจริต คูณธนกุลวงศ์ (๒๕๔๓ : ๒๐) กล่าวเก่ียวกบั การวางแผนวา่ ในการวางแผนควรกาหนดวธิ ีการต่างๆ ที่ใชเ้ พื่อการตรวจสอบวา่ แผนดงั กล่าวมีการวางแผนที่ดีและมีการปฏิบตั ิอยา่ งถูกตอ้ ง ความหมายของการวางแผน มีนกั วชิ าการหลายท่านไดใ้ หค้ วามหมายและทศั นะในการวางแผนไว้ ดงั น้ี
๑๖ สุรพนั ธ์ ยนั ตท์ อง (๒๕๓๓ : ๑๐๕) กล่าววา่ การวางแผนมีความหมาย ๓ ลกั ษณะคือ ๑. การแสดงความต้งั ใจอยา่ งกวา้ งๆ ๒. การเตรียมการร่างแผนผงั ซ่ึงแสดงสัดส่วนและความสัมพนั ธ์ของส่วนต่างๆ ของอาคารและเคร่ืองจกั ร ๓. การทาโครงร่างออกแบบหรือวางวธิ ีการ เพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ี่วางไว้ ส่วนเอกชยั กี่สุขพนั ธ์ (๒๕๓๘ : ๓๕) ได้กล่าวไวว้ ่า การวางแผนคือ การเตรียมการไว้ล่วงหนา้ ทาใหผ้ บู้ ริหารมีความพร้อมท่ีจะปฏิบตั ิงาน หรือกระทาอะไรบางอยา่ งในอนาคต การวางแผนจึงเป็ นการตดั สินใจของผบู้ ริหารในเร่ืองท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั จะทาอะไร (What to do) ทาอยา่ งไร (How todo) ทาเม่ือใด (When to do) ใหใ้ ครทา (Who is to do) ตอ้ งการทรัพยากรอะไร (What is needed to do it) สาหรับเสนาะ ติเยาว์ (๒๕๔๔ : ๘๓) ได้ให้ความหมายไวว้ ่า การวางแผน หมายถึงกระบวนการในการกาหนดวตั ถุประสงค์และวิธีการว่าจะทาอยา่ งไร ให้บรรลุวตั ถุประสงคน์ ้นั เป็ นกระบวนการในการเผชิญหนา้ กบั ความไม่แน่นอน โดยการกาหนดการกระทาข้ึนล่วงหนา้ เพ่ือให้ไดผ้ ลตามที่กาหนดไว้ การวางแผนจะเก่ียวขอ้ งกนั ๒ อยา่ งคือ จุดหมายปลายทางกบั วธิ ีการเพ่ือใหถ้ ึงจุดหมายปลายทางจะทาอะไร นอกจากน้ีสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (๒๕๔๓ : ๑๗) กล่าววา่ การวางแผนเป็ นการคิดเตรียมการไวล้ ่วงหนา้ เพ่ือจะทางานให้สาเร็จอยา่ งมีประสิทธิภาพ ในการวางแผนจะตอ้ งมีการกาหนดเป้าหมาย แนวทางการดาเนินงาน ผูร้ ับผิดชอบ ระยะเวลา และทรัพยากรท่ีจะตอ้ งใช้ เพ่ือทางานใหบ้ รรลุเป้าหมายที่ตอ้ งการ จากความหมายที่กล่าวมา สรุปไดว้ า่ การวางแผน หมายถึง การปฏิบตั ิที่เกี่ยวกบั การประชุมเตรียมการ การวเิ คราะห์ปัญหาและอุปสรรค การกาหนดวิสัยทศั น์ วตั ถุประสงคแ์ ละวธิ ีการ การจดั สรรงบประมาณ การมีส่วนร่วมของผเู้ กี่ยวขอ้ ง เพื่อใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ่ีกาหนด กระบวนการวางแผน เอกชยั ก่ีสุขพนั ธ์ (๒๕๓๘ : ๓๕ – ๓๙) กล่าวว่า กระบวนการวางแผนสามารถแสดงดงั แผนภาพประกอบ
๑๗๑. การเตรียมการ ๒. การสร้างแผน Plan to Plan๔.การประเมินผลแผน ๓. การปฏิบตั ิตามแผน Plan Plan Implementation แผนภาพที่ ๒.๓ กระบวนการวางแผน ทม่ี า : เอกชัย กส่ี ุขพนั ธ์ (๒๕๓๘ : ๓๖) จากแผนภาพอธิบายไดด้ งั น้ี ๑. การเตรียมการ หมายถึง การตรียมการก่อนการวางแผนซ่ึงมีกิจกรรมท่ีตอ้ งปฏิบตั ิดงั น้ี ๑.๑ นโยบาย และเป้าหมายขององคก์ ารตอ้ งการอะไร ๑.๒วิเคราะห์สภาพการปัจจุบนั งานในหนา้ ท่ีความรับผิดชอบ ตลอดจนความพร้อมในการทางาน ๑.๓ วตั ถุประสงค์และความตอ้ งการสอดคล้องกบั นโยบาย และเป้าหมายขององคก์ ารหรือไม่ ๑.๔ สภาพแวดลอ้ มปัจจุบนั และโอกาสเอ้ืออานวยใหม้ ากนอ้ ยเพียงใด ๑.๕ ผลสาเร็จท่ีตอ้ งการภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ๑.๖ ขอ้ มูลตา่ งๆ ท่ีตอ้ งการ บุคคลหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งกบั แผนมีใครบา้ ง ๒. การสร้างแผน หมายถึง การกาหนดแผนท่ีตอ้ งการข้ึนมาใหช้ ดั เจนมีกิจกรรมท่ีตอ้ งปฏิบตั ิดงั น้ี ๒.๑ มาตรฐานหรือคุณภาพงานท่ีตอ้ งปฏิบตั ิ ๒.๒ มีทางเลือกหรือกิจกรรมอะไรบา้ งที่ตอ้ งปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหบ้ รรลุตามตอ้ งการ ๒.๓ อุปสรรค/ขอ้ จากดั ที่จะเกิดข้ึนและวธิ ีการแกไ้ ขอุปสรรคหรือขอ้ จากดั น้นั ๆ ๒.๔ ตดั สินใจเก่ียวกบั ทางเลือกหรือกิจกรรมท่ีคิดวา่ ดีที่สุดและเหมาะสมกบัสถานการณ์ ๒.๕ กาหนดข้นั ตอนของการปฏิบตั ิงาน ๒.๖ ทรัพยากรท่ีตอ้ งการเพอื่ สนบั สนุนการทางานมีอะไรบา้ ง
๑๘ ๒.๗ เขียนแผนใหช้ ดั เจน โดยมีการกาหนดช่วงระยะเวลาเร่ิมตน้ สิ้นสุดและผูร้ ับผดิ ชอบแต่ละกิจกรรม ๓. การปฏิบตั ิตามแผน หมายถึง การนาแผนท่ีสร้างข้ึนไปสู่การปฏิบตั ิมีกิจกรรมท่ีตอ้ งปฏิบตั ิดงั น้ี ๓.๑ กาหนดที่จะรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิและการควบคุมงานแต่ละส่วน ๓.๒ ประชุมเพื่อสร้างความเขา้ ใจกบั บุคคลท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การปฏิบตั ิตามแผนก่อนท่ีจะมีการมอบหมายงานใหร้ ับผดิ ชอบไปปฏิบตั ิ ๓.๓ จดั สรรทรัพยากรสนบั สนุน การปฏิบตั ิงานอยา่ งตอ่ เน่ืองและเพียงพอ ๓.๔ กาหนดรูปแบบความร่วมมือและการประสานงานกบั หน่วยงานอื่น หรือบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั แผน ๓.๕ การนิเทศงาน ช่วยเหลือแนะนาในการปฏิบตั ิงาน ๓.๖ การควบคุมกากบั และติดตามผลการปฏิบตั ิงาน ซ่ึงอาจจะใช้เทคนิค PPBS, PERT/CPM หรือ Gantt Chart ช่วยในการควบคุมกไ็ ด้ ๔. การประเมินผล หมายถึง การประเมินผลการปฏิบตั ิงานว่าได้บรรลุเป้าหมายหรือวตั ถุประสงค์ท่ีตอ้ งการหรือไม่ การประเมินผลแผนน้ี เป็ นการประเมินผลเพื่อ กลบั ไปยงั ข้นั ตอนที่ ๑ของกระบวนการวางแผนนน่ั เอง สาหรับกิจกรรมท่ีตอ้ งการปฏิบตั ิมีดงั น้ี ๔.๑ ผลการปฏิบตั ิงานไดต้ ามท่ีตอ้ งการมากนอ้ ยเพยี งใด ๔.๒ ปัญหาและอุปสรรคท่ีพบ ๔.๓ ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการปฏิบตั ิตามแผน ๔.๔ สมควรท่ีจะมีการทบทวนแผน ปรับแผนหรือไม่ การปฏิบตั ิตามแผน การปฏิบตั ิตามแผนเป็ นข้นั ตอนท่ีมีผลต่อเนื่องมาจากการวางแผน กล่าวคือ ข้นั ตอนน้ีเป็ นการนาแผนมาปฏิบตั ิจริง เพื่อก่อใหเ้ กิดประสิทธิผลตามเป้าหมายที่ไดม้ ีการวางแผนไวใ้ ห้มากที่สุดโดยอยูภ่ ายใตก้ รอบของกิจกรรมของแผนท่ีไดเ้ ลือกไวแ้ ลว้ ดงั ที่อดิศกั ด์ิ พงษพ์ ูลผลศกั ด์ิ(๒๕๔๓ : ๔๖๖)กล่าววา่ หลงั จากไดด้ าเนินการวางแผนข้นั ต่างๆ แลว้ ข้นั ต่อไป จะเป็ นการปฏิบตั ิตามแผนเพื่อใหบ้ รรลุตามเป้าหมายท่ีวางไวอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ภายใตส้ าเหตุของแต่ละสาเหตุและวธิ ีการแกไ้ ขปรับปรุงงานที่เลือกมาปฏิบตั ิ ซ่ึงถา้ ถา้ เป็นงานท่ีสามารถดาเนินการแกไ้ ขปัญหาของสาเหตุดว้ ยกลุ่มเองกล็ งมือปฏิบตั ิหากไปเกี่ยวกบั หลายหน่วยงานก็แจ้งให้ผูบ้ ริหารดาเนินการสั่งการให้หน่วยงานน้ัน ร่วมมือแก้ไขประสานงานกนั ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ความหมายของการปฏิบตั ิตามแผน สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (๒๕๒๘ : ๕ – ๖) ไดอ้ ธิบาย ความหมายของการปฏิบตั ิตามแผนไวว้ า่ หมายถึง การดาเนินการที่ประกอบดว้ ย การควบคุม กากบั ติดตาม และ
๑๙นิเทศ เป็ นกิจกรรมที่ตอ้ งกาหนดผูป้ ฏิบตั ิไวอ้ ยา่ งชดั เจน เป็ นระบบซ่ึงผูบ้ ริหารโรงเรียน หรือผูท้ ่ีไดร้ ับมอบหมายตอ้ งปฏิบตั ิอย่างจริงจงั ตามท่ีกาหนด แต่สงัด อุทรานนท์ (๒๕๓๐ : ๙๐ – ๙๑) ได้ให้ความหมายของการปฏิบตั ิตามแผนในลกั ษณะของการปฏิบตั ิงานของผูป้ ฏิบตั ิมี ๓ ลกั ษณะดว้ ยกนั คือ ๑. ปฏิบตั ิงานตามความรู้ความสามารถท่ีไดร้ ับ ๒. ปฏิบตั ิใหเ้ สร็จออกมาทนั ตามกาหนดเวลาและมีคุณภาพสูง ๓. ปฏิบตั ิงานโดยใชว้ สั ดุอุปกรณ์ตลอดจนเคร่ืองใชต้ ่างๆ ท่ีจะช่วยใหก้ ารปฏิบตั ิงานเป็นไปอยา่ งไดผ้ ล สาหรับสุจริต คูณธนกุลวงศ์ (๒๕๔๓ : ๒๑) ได้ให้ความหมายการปฏิบตั ิตามแผนในลกั ษณะของความมนั่ ใจของผูค้ ุมงานท่ีมีต่อผูป้ ฏิบตั ิงาน ว่าหลงั จากจบการวางแผนแลว้ เขา้ สู่ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานหรือดาเนินงาน ข้นั ตอนต่างๆ ท่ีเสนอไวค้ วรนาไปปฏิบตั ิเพื่อใหม้ นั่ ใจวา่ มีการปฏิบตั ิตามแผนท่ีวางไว้ ๑. สร้างความมนั่ ใจวา่ ผูร้ ับผิดชอบดาเนินงาน ตระหนกั ถึงวตั ถุประสงค์ และความจาเป็ นของงานอยา่ งถ่องแท้ ๒. ใหผ้ รู้ ับผดิ ชอบดาเนินงานตามแผน รับรู้เน้ือหาในแผนอยา่ งทอ่ งแท้ ๓. จดั ใหม้ ีการศึกษาหรือฝึกอบรมเพ่ือดาเนินงานตามแผน ๔. จดั หาทรัพยากรที่จาเป็นตามท่ีกาหนด และเมื่อตอ้ งการ สรุปไดว้ ่า การปฏิบตั ิตามแผน หมายถึง การดาเนินงานเก่ียวกบั การมอบหมายงาน การประชาสัมพนั ธ์ การประสานงาน การเบิกจ่ายงบประมาณ การใช้จ่ายงบประมาณ การควบคุมงานท่ีกาหนดไวใ้ นแผน เพอ่ื ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ่ีกาหนด กระบวนการของการปฏบิ ัติตามแผน กรมสามญั ศึกษา (๒๕๒๒ : ๑๐ – ๑๒) ไดเ้ สนอไวว้ า่ การปฏิบตั ิตามแผนเป็ นการดาเนินงานเป็นข้นั ตอนซ่ึงประกอบดว้ ย ๑. การแจง้ นโยบาย ๒. การต้งั คณะกรรมการ ๓. การสารวจความตอ้ งการจาเป็น ๔. การวางแผน ๕. การใหค้ วามรู้แก่ผปู้ ฎิบตั ิ ๖. การดาเนินงาน ๗. การสนบั สนุน เสริมกาลงั ๘. การประเมินผลการประเมินงาน ๙. การปรับปรุงแกไ้ ข
๒๐ ส่วนสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (๒๕๔๔ : ๒๘ – ๒๙) ไดเ้ สนอข้นั ตอนในการปฏิบตั ิตามแผนไวส้ อดคลอ้ งกนั ว่า เมื่อสถานศึกษาไดว้ างแผนการปฏิบตั ิงานเสร็จเรียบร้อยแล้วบุคลากรกร็ ่วมกนั ดาเนินการตามแผนท่ีจดั ทาไว้ โดยในระหวา่ งการดาเนินงานตอ้ งมีการเรียนรู้เพ่ิมเติมตลอดเวลา และควรมุ่งเน้นประโยชน์ที่จะเกิดข้ึนกบั ผเู้ รียนเป็ นสาคญั นอกจากน้ีผบู้ ริหารสถานศึกษาควรจะ ๑. ส่งเสริมและสนบั สนุนใหบ้ ุคลากรทุกคนทางานอยา่ งมีความสุข ๒. จดั ส่ิงอานวยความสะดวก สนบั สนุนทรัพยากรเพอ่ ใหก้ ารปฏิบตั ิงานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๓. กากบั ติดตาม ท้งั ระดบั รายบุคคล รายกลุ่ม รายหมวด/ฝ่ าย เพ่ือกระตุน้ และส่งเสริมให้มีการดาเนินงานตามแผน ๔. ใหก้ ารนิเทศ จากแนวความคิดเก่ียวกบั กระบวนการปฏิบตั ิงานตามแผนของท้งั สองสถาบนั สรุปไดว้ า่ผูบ้ ริหารเป็ นกลไกที่สาคญั ซ่ึงจะเห็นได้จากในระหว่างการปฏิบตั ิงานผูบ้ ริหาร ตอ้ งมีการส่งเสริมสนับสนุน กากับติดตาม ตลอดจนให้การนิเทศ เพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมายตามแผนที่ไดว้ างไว้ การตรวจสอบ การตรวจสอบนบั เป็ นข้นั ตอนท่ีจะทาใหผ้ ูป้ ฏิบตั ิไดร้ ู้วา่ ในการปฏิบตั ิงานตามแผนสามารถบรรลุเป้าหมายตามวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไวใ้ นแผนหรือไม่ มากนอ้ ยเพยี งใด เพ่ือหาทางแกไ้ ขปรับปรุงหรือกระตุน้ ให้เกิดการพฒั นา ซ่ึงจะเห็นไดจ้ ากแนวคิดของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ(๒๕๔๔ : ๒๙) ไดก้ ล่าวว่า การตรวจสอบประเมินผล เป็ นกลไกสาคญั ท่ีจะกระตุน้ ให้เกิดการพฒั นาเพราะจะทาให้ไดข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ที่จะสะทอ้ นให้เห็นถึงการดาเนินงานท่ีผ่านมาว่าบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไวเ้ พียงใด ตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขในเร่ืองใดบา้ ง ส่วนสุจริต คูณธนกุลวงศ์ (๒๕๔๓ : ๒๑) กล่าววา่ เมื่อทาการตรวจสอบผลการดาเนินงานตามแผน ควรมีการประเมิน ๒ แง่ อยา่ งเป็นอิสระตอ่ กนั ๑. มีการดาเนินงานตามแผนอยา่ งถูกตอ้ งหรือไม่ ๒. เน้ือหาของแผนมีสาระเพียงพอหรือไม่ ถา้ วตั ถุประสงค์ของงานไม่บรรลุ แสดงว่า สภาพเง่ือนไขไม่เป็ นไปตามขอ้ ๑ หรือขอ้ ๒หรือท้งั สองขอ้ เป็ นส่ิงจาเป็ นที่ตอ้ งพิจารณาว่าอยูใ่ นกรณีใดเพราะการแกไ้ ขที่ตอ้ งการในแต่ละขอ้ จะแตกต่างกนั อยา่ งสิ้นเชิง จากแนวคิดท้งั สองแนวคิดจะเห็นไดว้ า่ หลงั การปฏิบตั ิงานจะตอ้ งมีการประเมินผลเพื่อเป็ นการตรวจสอบใหท้ ราบถึงผลของการปฏิบตั ิงานน้นั ๆ ดงั ที่มหาวทิ ทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช(๒๕๓๐ :๙๐ – ๑๑๘) อธิบายไวว้ ่า การประเมินผล คือ ข้นั ตอนในการติดตามตรวจสอบว่าการตดั สินใจที่ได้
๒๑กระทาไปน้นั ไดผ้ ลตามท่ีไดค้ าดหมายไวห้ รือไม่ และการประเมินผลคืองานในข้นั สุดทา้ ย เป็ นการวดัหรือตรวจสบเพื่อประเมินการดาเนินงานตามที่ได้กาหนดไวใ้ นแผน สอดคล้องกับภิญโญ สาธร(๒๕๒๖ : ๖๗) กล่าววา่ การประเมินผล หมายถึง การตรวจสอบผลงานทุกระยะ จะไดท้ ราบผลการปฏิ บัติ ง า น แล ะ ปั ญห า ที่ เกิ ด ข้ ึ นเ พื่ อ หา แ น วท า ง แก้ไ ข แล ะ ห มา ย ถึ งก า ร ปร ะ เ มิ น ข้ ัน สุ ด ท้า ยน า ไ ปเปรียบเทียบผลงานท่ีไดก้ บั เป้าหมายที่ต้งั ไวเ้ พื่อวางแผนใหม่ในอนาคต และยงั สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของลาภ เพชรเรือง (๒๕๒๖ : ๒๙) ไดอ้ ธิบายไวด้ งั น้ี การตรวจสอบ หมายถึงการ การทากิจกรรม ๒ประการคือ ๑. การตรวจสอบ วา่ หลงั จากการแกป้ ัญหาแลว้ สภาพปัญหาน้นั ลดลงจนถึงเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ ซ่ึงมีวธิ ีการดงั น้ี ๑.๑ ตรวจสอบ หมายถึง หัวหน้าหน่วยหรือหัวหน้าแผนกให้คาแนะนาตามสภาพท่ีกา้ วหนา้ ไป และใหค้ าแนะนาวธิ ีการระหวา่ งข้นั ตอนของการดาเนินงาน ๑.๒ ตรวจสอบผลงาน หมายถึง การบนั ทึกผลงานเปรียบเทียบกับแผนท่ีกาหนดแล้วรายงาน และตรวจสอบดูวา่ ทาไดต้ ามแผนท่ีกาหนดหรือไม่ ๑.๓ ตรวจสอบระหว่างดาเนินงาน โดยให้ผูด้ าเนินการตรวจสอบการดาเนินการด้วยตวั เอง ๑.๔ รับรองผลที่ได้ โดยบนั ทึกผลลพั ธ์ท่ีไดล้ งในรายงานผลลพั ธ์ของการดาเนินงานแลว้นาเสนอผล ถา้ ไดผ้ ลดีมาก ควรประกาศเกียรติคุณ เพอ่ื เป็นการเสริมแรง ๒. การควบคุม ภายหลังการตรวจสอบให้ปฏิบัติตามข้นั ตน เพื่อหาข้อบกพร่องท่ีควรปรับปรุงแก้ไข แล้วให้ใช้เทคนิคการควบคุม โดยเก็บขอ้ มูลสภาพก่อนการแก้ปัญหาและเก็บขอ้ มูลสภาพหลงั จากดาเนินการแกป้ ัญหาแลว้ เพ่ือวิเคราะห์คุณภาพเชิงเปรียบเทียบวา่ บรรลุเป้าหมายเพียงใดเคร่ืองมือที่ใชเ้ กบ็ ขอ้ มูลน้นั ควรเป็นเคร่ืองมือประเภทเดียวกนั ท้งั ก่อนและหลงั การแกป้ ัญหา การตดั สินผลการควบคุมการดาเนินงานสาคญั มากถา้ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเป็นดงั น้ี ๒.๑ ไม่บรรลุเป้าหมาย ใหน้ าไปปรับปรุงตอ่ ไป ๒.๒ บรรลุเป้าหมาย ใหก้ าหนดมาตรฐานของงาน การปรับปรุงแก้ไข เมื่อผา่ นข้นั ตอนการประเมินแลว้ สามารถนาผลการประเมินไปใชเ้ ป็ นขอ้ มูลในการปรับปรุงแกไ้ ขการปฏิบตั ิงาน และนาผลที่ไดไ้ ปตรวจสอบกบั เป้าหมายที่ไดก้ าหนดไวใ้ นแผนว่าเป็ นอย่างไรดงั ท่ีอดิศกั ด์ิ พงษพ์ ูนผลศกั ด์ิ (๒๕๓๔ : ๔๖๗) กล่าวไวว้ า่ ข้นั การปรับปรุงแกไ้ ข ในข้นั น้ีเป็ นผลการตรวจสอบว่า ถ้าได้ผลต่ากว่าเป้าหมายให้รีบแกไ้ ขปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพข้ึน แล้วจึงจดั ทาเป็ นมาตรฐานงานในการปฏิบตั ิ เพื่อเสนอรายงานผลงานให้กลุ่มอื่นไดท้ ราบต่อไป แต่สุจริต คูณธรกุลวงศ์(๒๕๔๓ : ๓๖) กล่าวถึงการปรับปรุงแกไ้ ขให้คานึงถึงเน้ือหาของแผนดว้ ย ไม่ใช่แกไ้ ขเฉพาะวิธีการปฏิบตั ิงานอยา่ งเดียว ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี ในการปฏิบตั ิการแกไ้ ข มีความจาเป็ นจะตอ้ งแยกแยะอยา่ ง
๒๒ชดั เจนในการกาจดั อาการและหาสาเหตุของการวางแผนท่ีไม่ดีพอก่อน แลว้ จึงทาการปรับปรุงคุณภาพของการวางแผนและปรับปรุงเน้ือหาของแผนดว้ ย นอกจากน้ีลาภ เพชรเรือง (๒๕๒๖ : ๓๑) ไดใ้ หท้ ศั นะไวว้ า่ การแกไ้ ขปัญหาและอุปสรรคเป็นกิจกรรมที่ตอ้ งทาในกรณีที่ปรากฏวา่ ตรวจสอบแลว้ ผลงานไม่บรรลุหรือไม่สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายก็ใหป้ รับปรุงใหม่ วธิ ีการปรับปรุงใหม่ใหด้ าเนินการเป็นข้นั ตอน ดงั น้ี ๑. ปรับปรุงการวางแผนใหม่ ๒. ลงมือปฏิบตั ิตามแผนท่ีปรับปรุงใหม่ ๓. ตรวจสอบและควบคุมการปฏิบตั ิงานใหม่ ๔. ถา้ ยงั ไม่บรรลุเป้าหมายจะตอ้ งปรับปรุงใหม่ จนกวา่ จะบรรลุเป้าหมายจึงกาหนดเป็นมาตรฐานการประกนั คุณภาพการศึกษา ๑. ความหมายและความสาคญั ของการประกนั คุณภาพการศึกษา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ มาตรา ๘๑ ไดก้ าหนดใหร้ ัฐตอ้ งจดัการศึกษาอบรมและสนับสนุนให้เอกชนจดั การศึกษาอบรมให้เกิด “ความรู้คู่คุณธรรม” และจดั ให้มีกฎหมายเกี่ยวกบั การศึกษาแห่งชาติ ซ่ึงนาไปสู่พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ก่อให้เกิดการปฏิรูปการศึกษาคร้ังใหญ่ท่ีมุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา คือ ไดก้ าหนดให้มีระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั (พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒: มาตรา ๔๗) ก. ความหมายของการประกนั คุณภาพการศึกษา หมายถึง การบริหารจดั การและการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของสถานศึกษา เพื่อพฒั นาคุณภาพของผเู้ รียนอยา่ งต่อเน่ือง สร้างความมน่ั ใจให้ผูร้ ับบริการทางการศึกษา ท้งั ผูร้ ับบริการโดยตรง ไดแ้ ก่ ผูเ้ รียน ผูป้ กครอง และผูร้ ับบริการทางออ้ ม ไดแ้ ก่ สถานประกอบการ ประชาชน และสังคมโดยรวม ข. ความสาคญั ของการประกนั คุณภาพการศึกษา มีความสาคญั ๓ ประการ คือ ๑. ทาให้ประชาชนได้รับขอ้ มูลคุณภาพการศึกษาท่ีเช่ือถือได้ เกิดความเชื่อมน่ั และสามารถตดั สินใจเลือกใชบ้ ริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน ๒. ป้องกนั การจดั การศึกษาท่ีไม่มีคุณภาพ ซ่ึงจะเป็ นการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคและเกิดความเสมอภาคในโอกาสท่ีจะไดร้ ับการบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยา่ งทว่ั ถึง
๒๓ ๓. ทาให้ผูร้ ับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษาสู่คุณภาพและมาตรฐานอยา่ งจริงจงั ซ่ึงมีผลให้การศึกษามีพลงั ท่ีจะพฒั นาประชากรให้มีคุณภาพอย่างเป็ นรูปธรรมและต่อเน่ือง การประกนั คุณภาพการศึกษาจึงเป็ นการบริหารจดั การและการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของสถานศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพของผูเ้ รียนอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงจะเป็ นการสร้างความมนั่ ใจให้ผรู้ ับบริการการศึกษา ท้งั ยงั เป็ นการป้องกนั การจดั การศึกษาที่ดอ้ ยคุณภาพและสร้างสรรคก์ ารศึกษาให้เป็นกลไกท่ีมีพลงั ในการพฒั นาประชากรใหม้ ีคุณภาพสูงยงิ่ ข้ึน ๒. การประกนั คุณภาพการศึกษาเกย่ี วข้องกบั การดาเนินการท่ีสาคญั ๒ เร่ืองดงั น้ี ก. การกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาซ่ึงหลกั ปฏิบตั ิทว่ั ไปจะกาหนดโดยองค์คณะบุคคล ผเู้ ช่ียวชาญ หรือ ผมู้ ีประสบการณ์ (Murgatroyd, Stephen and Morgan, Colin ๑๙๙๔ : ๔๕) ในระบบการศึกษาไทยตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดใหก้ ระทรวงการศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม เป็ นผูก้ าหนดมาตรฐานการศึกษา (พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ : มาตรา ๓๑) โดยมีสภาการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมแห่งชาติ คณะกรรมการการศึกษาข้นัพ้ืนฐานและคณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็ นผูพ้ ิจารณาเสนอตามลาดบั สายงาน (พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒: มาตรา ๓๔) ข. กระบวนการตรวจสอบและประเมินการดาเนินการจดั การศึกษาว่าเป็ นไปตามมาตรฐาน คุณภาพการศึกษามากน้อยเพียงไร พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กาหนดใหห้ น่วยงานตน้ สงั กดั และสถานศึกษา จดั ให้มีระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือวา่ การประกนั คุณภาพภายใน เป็ นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีตอ้ งดาเนินการอยา่ งต่อเนื่อง (พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๔๘) และให้มีการประเมินคุณภาพภายนอก ของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างนอ้ ยหน่ึงคร้ังในทุก ๕ ปี โดยสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเป็ นผดู้ าเนินการ (พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๔๙) ๓. ระบบและกระบวนการประกนั คุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาไทยตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๑ มาตรา ๔๗ ประกอบดว้ ย ๒ ระบบคือ ก. ระบบการประกนั คุณภาพภายใน ระบบการประกนั คุณภาพภายใน หมายถึง ระบบการประเมินผล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถานศึกษา
๒๔น้นั เองหรือโดยหน่วยงานต้นสังกดั ที่มีหน้าที่กากบั ดูแลสถานศึกษาน้ัน (พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๔) สถานศึกษาจะต้องพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในให้เป็ นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารและการปฏิบตั ิงาน โดยคานึงถึงหลกั การและกระบวนการดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) หลกั การสาคญั ของการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษามี ๓ประการ คือ(สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๓ : ๑๑) ก) จุดมุง่ หมายของการประกนั คุณภาพภายใน คือ การท่ีสถานศึกษาร่วมกนั พฒั นาปรับปรุงคุณภาพให้เป็ นไปตามมาตรฐานการศึกษา ไม่ใช่การจบั ผิดหรือทาให้บุคลากรเสียหนา้ โดยเป้าหมายสาคญั อยทู่ ี่ การพฒั นาคุณภาพใหเ้ กิดข้ึนกบั ผเู้ รียน ข) การที่จะดาเนินการใหบ้ รรลุเป้าหมายตามขอ้ ๑.๑ ตอ้ งทาให้การประกนั คุณภาพการศึกษาเป็ นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารจัดการและการทางานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาไม่ใช่เป็ นกระบวนการที่แยกส่วนมาจากการดาเนินงานตามปกติของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาจะต้องวางแผนพฒั นาและแผนปฏิบตั ิการท่ีมีเป้าหมายชัดเจน ทาตามแผนตรวจสอบประเมินผลและพฒั นาปรับปรุงอยา่ งต่อเน่ือง เป็ นระบบท่ีมีความโปร่งใสและมีจิตสานึกในการพฒั นาคุณภาพการทางาน ค) การประกนั คุณภาพเป็ นหนา้ ท่ีของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ไม่วา่ จะเป็ นผูบ้ ริหาร ครู อาจารยแ์ ละบุคลากรอ่ืนๆ ในสถานศึกษาโดยในการดาเนินงานจะตอ้ งใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ ง เช่นผูเ้ รียน ชุมชน เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือหน่วยงานที่กากบั ดูแลเขา้ มามีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายวางแผน ติดตามประเมินผลพฒั นาปรับปรุง ช่วยกนั คิด ช่วยกนั ทา ช่วยกนั ผลกั ดนั ให้สถานศึกษามีคุณภาพ เพื่อใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพ เป็ นไปตามความตอ้ งการของผปู้ กครอง สังคม และประเทศชาติ ๒) กระบวนการการประกนั คุณภาพภายในตามแนวคิดของการประกนั คุณภาพ มี ๓ข้นั ตอนคือ (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, ๒๕๔๓ : ๗) ก) การควบคุมคุณภาพ เป็ นการกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถาน ศึกษาเพ่อื พฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ขา้ สู่มาตรฐาน ข) การตรวจสอบคุณภาพ เป็ นการตรวจสอบ และติดตามผลการดาเนินงานของสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด ค) การประเมินคุณภาพ เป็ นการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาและหน่วยงานตน้ สังกดั ในระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษาฯ และระดบั กระทรวง ๓) กระบวนการประกนั คุณภาพภายในตามแนวคิดของหลักการบริหารท่ีเป็ นกระบวนการครบวงจร (PDCA) ประกอบดว้ ย ๔ ข้นั ตอนคือ ก) การร่วมกนั วางแผน (Planning)
๒๕ ข) การร่วมกนั ปฏิบตั ิตามแผน (Doing) ค) การร่วมกนั ตรวจสอบ (Checking) ง) การร่วมกนั ปรับปรุง (Action) เม่ือพิจารณากระบวนการการประกนั คุณภาพภายในตามแนวคิดของการประเมินคุณภาพและแนวคิดของการบริ หารแบบครบวงจรจะเห็นว่ามีความสอดคล้องกัน ดังน้ี (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๓ : ๑๐) แผนภาพที่ ๒.๔ กระบวนการประกนั คุณภาพภายใน จากภาพการควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพก็คือกระบวนการบริหารเพ่ือพฒั นาคุณภาพตามหลกั การบริหารนน่ั เอง โดยการควบคุมคุณภาพ คือ การที่สถานศึกษาตอ้ งร่วมกนั วางแผนและดาเนินการตามแผน เพ่ือพฒั นาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา ส่วนการตรวจสอบคุณภาพ คือ การท่ีสถานศึกษาตอ้ งร่วมกนั ตรวจสอบเพ่ือพฒั นาปรับปรุงคุณภาพให้เป็ นไปตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษาเม่ือสถานศึกษามีการตรวจสอบตนเองแลว้ หน่วยงานในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและตน้ สังกดั ก็เขา้ มาช่วยติดตามและประเมินคุณภาพเพ่ือให้ความช่วยเหลือในการพฒั นาปรับปรุงสถานศึกษา ซ่ึงจะทาให้สถานศึกษามีความ อุ่นใจ และเกิดความตื่นตวั ในการพฒั นาคุณภาพอยเู่ สมอ ๔) ข้นั ตอนการดาเนินงานตามกระบวนการประกนั คุณภาพภายในการดาเนินการประกนัคุณภาพภายในตามกระบวนการที่กล่าวมาแลว้ มีแนวทางและข้นั ตอน ดงั แผนภาพต่อไปน้ี
๒๖ แผนภาพท่ี ๒.๕ ข้ันตอนการดาเนินงานตามกระบวนการประกนั คุณภาพภายใน ๑. ข้นั การเตรียมการ ซ่ึงการเตรียมการที่มีความสาคญั คือ ๑.๑ การเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยตอ้ งสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของการประกนั คุณภาพภายในและการทางานเป็นทีม ซ่ึงจะจดั ทาการช้ีแจงทาความเขา้ ใจโดยใชบ้ ุคลากรภายในสถานศึกษาหรือวิทยากรมืออาชีพจากภายนอก โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาไดม้ ีโอกาสเขา้ ร่วมประชุมรับทราบพร้อมกนั และตอ้ งพฒั นาความรู้ ทกั ษะเก่ียวกบั การประกนั คุณภาพภายในใหบ้ ุคลากรทุกคนเกิดความมน่ั ใจในการดาเนินงานประกนั คุณภาพดว้ ยการจดั ประชุมเชิงปฏิบตั ิการ โดยเนน้ เน้ือหาเก่ียวกบั การจดั ทาแผนพฒั นาสถานศึกษาและแผนปฏิบตั ิการในแต่ละปี ต่อมาเนน้ เน้ือหาการกาหนดกรอบและแผนการประเมิน การสร้างเคร่ืองมือประเมินและการรวบรวมขอ้ มูล ในช่วงทา้ ยเน้นเรื่อง
๒๗เกี่ยวกบั การวิเคราะห์ขอ้ มูล การนาเสนอผลการประเมินและการเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง(Self Study Report) ๑.๒ การแต่งต้งั คณะกรรมการผูร้ ับผิดชอบในการประสานงาน กากบั ดูแล ช่วยเหลือสนบั สนุนให้ทุกฝ่ ายทางานร่วมกนั และเช่ือมโยงเป็ นทีม โดยการต้งั คณะกรรมการควรพิจารณาตามแผนภูมิโครงสร้างการบริหารซ่ึงฝ่ ายท่ีรับผิดชอบงานใดควรเป็ นกรรมการรับผิดชอบการพฒั นาและประเมินคุณภาพงานน้นั ๒. ข้นั การดาเนินงานประกนั คุณภาพภายใน ประกอบดว้ ยข้นั ตอนหลกั ๔ ข้นั ตอน ๒.๑ การวางแผน จะตอ้ งมีการกาหนดเป้าหมาย แนวทางการดาเนินงาน ผรู้ ับผิดชอบงานระยะเวลาและทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ สาหรับแผนต่างๆ ท่ีควรจดั ทาคือ แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี แผนการจดั การเรียนการสอนตามหลักสูตรซ่ึงสอดคล้องกับเป้าหมายของสถานศึกษา แผนการประเมินคุณภาพและแผนงบประมาณ เป็นตน้ ๒.๒ การปฏิบตั ิตามแผน ซ่ึงในขณะดาเนินการตอ้ งมีการเรียนรู้เพิ่มเติมตลอดเวลาและผบู้ ริหารควรใหก้ ารส่งเสริมและสนบั สนุนใหบ้ ุคลากรทุกคนทางานอยา่ งมีความสุข จดั สิ่งอานวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการปฏิบตั ิ กากบั ติดตามการทางานท้งั ระดบั บุคลากร รายกลุ่ม รายหมวด และใหก้ ารนิเทศ ๒.๓ การตรวจสอบประเมินผล ซ่ึงเป็ นกลไกสาคญั ที่จะกระตุน้ ให้เกิดการพฒั นาเพราะจะทาใหไ้ ดข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ที่แสดงวา่ การดาเนินงานท่ีผา่ นมาบรรลุเป้าหมายเพียงใด โดยการประเมินตอ้ งจดั วางกรอบการประเมิน จดั หาหรือจดั ทาเคร่ืองมือ จดั เก็บรวบรวมขอ้ มูล วิเคราะห์ขอ้ มูล แปลความขอ้ มูล และการตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน ๒.๔ การนาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน เมื่อแต่ละฝ่ ายประเมินผลเสร็จแลว้ จะส่งผลให้คณะกรรมการรับผดิ ชอบนาไปวิเคราะห์ สังเคราะห์และแปลผลแลว้ นาเสนอผลต่อผูเ้ ก่ียวขอ้ งเพ่ือนาไปปรับปรุงการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริหารและบุคลากร นาไปวางแผนในระยะต่อไป และจดั ทาเป็ นขอ้ มูลสารสนเทศหรือการเขียนรายงานประเมินตนเอง ๓. ข้นั การจดั ทารายงานประเมินตนเองหรือรายงานประจาปี เมื่อสถานศึกษาดาเนินการประเมินผลภายในเสร็จแลว้ จะจดั ทารายงาน โดยเริ่มจากรวบรวมผลการดาเนินงานและผลการประเมินมาวิเคราะห์จาแนกตามมาตรฐานการศึกษาและเขียนรายงานบทบาทหนา้ ที่ของครูในการประกนั คุณภาพภายในควรเป็นดงั น้ี ๓.๑ มีการเตรียมความพร้อมของตนเอง โดยทาการศึกษาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั หลกั การ วิธีการ ข้นั ตอนในการประเมินผลภายใน รวมท้งั พยายามสร้างเจตคติท่ีดีต่อการประเมินภายใน ๓.๒ ให้ความร่วมมือกบั สถานศึกษาในการให้ข้อมูลพ้ืนฐานทวั่ ไปท่ีคณะกรรมการประเมินผลภายในตอ้ งการ
๒๘ ๓.๓ ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาเม่ือได้รับการแต่งต้งั ให้เป็ นคณะกรรมการในกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงของการประเมินผลภายใน เช่น เขา้ ร่วมพิจารณาจดั ทาปฏิทินการปฏิบตั ิงานดา้ นการประเมินผลภายในสถานศึกษา ร่วมกนั พิจารณาจดั สร้างเครื่องมือในการจดั เก็บขอ้ มูลลกั ษณะต่างๆ ในกระบวนการประเมินผลภายใน ร่วมกนั ทาการสารวจเกบ็ ขอ้ มูลที่คณะกรรมการสารวจ ร่วมกนัทาการวเิ คราะห์ขอ้ มูล (หากมีความรู้ดา้ นการวเิ คราะห์) ร่วมกนั สรุปผลการประเมิน เป็นตน้ ๓.๔ ใหค้ วามร่วมมือกบั สถานศึกษา ในการร่วมกนั กาหนดจุดประสงค์ กาหนดมาตรฐานและตวั บ่งช้ีในการประเมินด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษาเอง และร่วมกันกาหนดเกณฑ์การตดั สินมาตรฐานและตวั บง่ ช้ีในดา้ นตา่ ง ๆ ๓.๕ ปฏิบตั ิหนา้ ที่หลกั หรือหนา้ ที่ประจาที่รับผดิ ชอบอยา่ งมีระบบ ตามกระบวนการและสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษา เช่น ในหนา้ ที่การสอนตอ้ งมีการพฒั นาหลกั สูตรและแผนการสอนท่ีเนน้ นกั เรียนเป็นสาคญั จดั เตรียมเน้ือหาสาระท่ีถูกตอ้ งเหมาะสมกบั จุดประสงคก์ ารเรียนการสอน จดั ทาส่ือการสอนท่ีมีประสิทธิภาพตรงตามจุดประสงคก์ ารเรียนการสอน จดั กิจกรรม วิธีการเรียนรู้ท่ีสร้างให้ผเู้ รียนเกิดการคน้ ควา้ หาความรู้สร้างความรู้ดว้ ยตนเอง เลือกวธิ ีการประเมินผลการเรียนหลากหลายและเหมาะสมรวบรวมผลสรุปผล ประเมินการเรียนการสอน พฤติกรรมของผูเ้ รียน นาผลการประเมินมาปรับปรุงการจดั การเรียนการสอนอยา่ งต่อเนื่อง เป็นตน้ ข. การประเมินคุณภาพภายนอก ๑. ความหมายของการประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพภายนอก คือ การประเมินคุณภาพการจดั การศึกษา การติดตามการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยผูป้ ระเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา โดยผูป้ ระเมินภายนอกท่ีไดร้ ับการรับรองจากสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องคก์ ารมหาชน) หรือ สมศ.เพ่ือมุ่งใหม้ ีคุณภาพดียง่ิ ข้ึน ผปู้ ระเมินภายนอกหรือคุณหมอโรงเรียนมีความเป็ นอิสระ และเป็ นกลาง ไม่มีผลประโยชน์ขดั แยง้ กบั การประเมินคุณภาพภายนอกจะนาไปสู่การเขา้ ถึงคุณภาพการศึกษาดว้ ยความเป็นกลาง เพื่อสร้างสรรคพ์ ฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอยา่ งแทจ้ ริง
๒๙ สกศ. สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษาคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมตั ิใหน้ ามาตรฐานการศึกษา ของชาติไปสู่การปฏิบตั ิ เมื่อวนั ที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๗ มาตรฐานการศึกษาของชาติ สพฐ. สอศ. สกอ. - กระทรวงทเี่ กยี่ วข้อง สานกั งาน สานกั งาน สานกั งาน - ภาคเอกชนคณะกรรมการ คณะกรรมกา - องค์กรปกครองส่วน การศึกษา คณะ รการศึกษา ท้องถ่นิ ฯลฯ ข้นั พ้นื ฐาน กรรมการ ข้นั พ้นื ฐาน การศึกษาข้นั พ้นื ฐานประเมินคุณภาพภายนอก สมศ. ประเมินคุณภาพภายนอก สานกั งานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาสานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษาประเมินผลการจดั การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ แผนภาพที่ ๒.๖ การประเมินคุณภาพภายนอก
๓๐ ๒. แนวคิดและหลกั การของการประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินภายนอกของ สมศ.เป็นการประเมินโดยใชร้ ูปแบบ \"กลั ยาณมิตรประเมิน\" โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ๒.๑ เพ่ือตรวจสอบ ยืนยนั สภาพจริงในการดาเนินงานของสถานศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาท่ีกาหนด ๒.๒ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลซ่ึงช่วยสะทอ้ นใหเ้ ห็นจุดเด่น - จุดดอ้ ยของสถานศึกษาเง่ือนไขของความสาเร็จ และสาเหตุของปัญหา ๒.๓ เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษาแก่สถาน ศึกษาและหน่วยงานตน้ สงั กดั ๒.๔ เพ่ือส่งเสริมให้สถานศึกษามีการพฒั นาคุณภาพและประกนั คุณภาพภายในอย่างตอ่ เน่ือง ๒.๕ เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาต่อหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและสาธารณชนและมีความหมายต่อสถานศึกษาหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งและสาธารณชน ดงั ตอ่ ไปน้ี ประการที่ ๑ เป็ นการส่งเสริมให้สถานศึกษาพฒั นาเขา้ สู่เกณฑ์มาตรฐานและพฒั นาตนเองใหใ้ หเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพอยา่ งตอ่ เนื่อง ประการที่ ๒ เพ่ิมความมน่ั ใจและคุม้ ครองประโยชนใ์ หผ้ รู้ ับบริการทางการศึกษาวา่สถานศึกษาได้จัดการศึกษามุ่งสู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาท่ีเน้นให้ผู้เรี ยนเป็ นคนดี มีความสามารถและมีความสุขเพอื่ เป็นสมาชิกที่ดีของสงั คม ประการท่ี ๓ สถานศึกษาและหน่วยงานที่กากับดูแล เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานตน้ สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา รวมท้งั หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งและชุมชนท้องถ่ินมีข้อมูลที่จะช่วยตดั สินใจในการวางแผนและดาเนินการเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปในทิศทางท่ีตอ้ งการและบรรลุเป้าหมายตามท่ีกาหนด ประการท่ี ๔ หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งในระดบั นโยบายมีขอ้ มูลสาคญั ในภาพรวมเก่ียวกบั คุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาทุกระดบั ทุกสังกดั เพื่อใชเ้ ป็ นแนวทางในการกาหนดแนวนโยบายทางการศึกษาและการจดั สรรงบประมาณเพอ่ื การศึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพ ระบบการประกนั คุณภาพภายในกบั ระบบการประกนั คุณภาพภายนอก มีความแตกต่างและมีความสัมพนั ธ์เชื่อมโยงกนั การประกนั คุณภาพภายในเป็ นกระบวนการท่ีสถานศึกษาและหน่วยงานตน้ สังกดั จะตอ้ งดาเนินการให้เป็ นส่วนหน่ึงของการบริหาร โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา เพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษาเขา้ สู่มาตรฐานการศึกษาแลว้ จดั ทารายงานประจาปี เสนอผูเ้ ก่ียวขอ้ ง ส่วนการประกันคุณภาพภายนอกเป็ นงานที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กับการประกันคุณภาพภายใน เป็ นการตรวจสอบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาโดยหน่วยงานภายนอกเพ่ือให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง การประกนั คุณภาพภายในกบั การประกนั คุณ
๓๑ภายนอกจึงสัมพนั ธ์เชื่อมโยงกนั ดว้ ยมาตรฐานการศึกษาโดยคานึงถึงหลกั การสาคญั คือ เอกภาพเชิงนโยบาย ความหลากหลายในทางปฏิบตั ิและมุ่งส่งเสริมการพฒั นาคุณภาพการศึกษามากกวา่ การควบคุมหรือการใหค้ ุณใหโ้ ทษมาตรฐานและตวั บ่งชี้คุณภาพการศึกษา พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙ (๓) บญั ญตั ิให้มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและให้สภาการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมแห่งชาติ มีหน้าท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษาของชาติ (พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ :มาตรา ๓๓) ๑. มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา คือ ข้อกาหนดเก่ียวกับคุณลกั ษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานท่ีตอ้ งการให้เกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้เป็ นหลกั ในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริม และกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา(พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๔) พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๔ บญั ญตั ิใหค้ ณะ กรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมีหน้าท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพฒั นา มาตรฐานและหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานท่ีสอดคล้องกบั แผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรมแห่งชาติ โดยให้คณะกรรมการและสานกั งานการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมเขตพ้ืนท่ีการศึกษากากบั ดูแลสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานและสถานศึกษาระดบั อุดมศึกษาระดบั ต่ากวา่ ปริญญา ให้สามารถจดั การศึกษาสอดคลอ้ งกบันโยบายและมาตรฐานการศึกษา (พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : มาตรา ๓๘) ๒. มาตรฐานการศึกษาของชาติ มีท้งั หมด ๓ มาตรฐานดงั น้ี มาตรฐานที่ ๑ คุณลกั ษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ท้งั ในฐานะพลเมืองไทยและพลเมืองโลก คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี และมีสุข เป้าหมายของการจดั การศึกษาอยู่ท่ีการพฒั นาคนไทยทุกคนให้เป็ น คนเก่ง คนดี และมีความสุข โดยมีการพฒั นาท่ีเหมาะสมกบั ช่วงวยั พฒั นาคนตามธรรมชาติและเตม็ ศกั ยภาพ ตรงตามความตอ้ งการ ท้งั ในดา้ นสุขภาพร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้และทกั ษะ คุณธรรมและจิตสานึกที่พึงประสงค์ และอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งปกติสุข
๓๒ ตวั บ่งช้ี ๑. กาลงั กาย กาลงั ใจที่สมบูรณ์ คนไทยมีสุขภาพกายและจิตที่ดี มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย จิตใจ สติปัญญา เจริญเติบโตอยา่ งสมบูรณ์ตามเกณฑก์ ารพฒั นาในแต่ละช่วงวยั ๒. ความรู้และทกั ษะท่ีจาเป็นและเพียงพอในการดารงชีวติ และการพฒั นาสงั คม ๒.๑ คนไทยไดเ้ รียนรู้ เตม็ ตามศกั ยภาพของตนเอง ๒.๒ คนไทยมีงานทา และนาความรู้ไปใชใ้ นการสร้างงานและสร้างประโยชนใ์ ห้สงั คม ๓. มีทกั ษะการเรียนรู้และการปรับตวั ๓.๑ คนไทยสามารถเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง รักการเรียนรู้ รู้ทนั โลกรวมท้งั มีความ สามารถในการใชแ้ หล่งความรู้และสื่อต่าง ๆ เพ่ือพฒั นาตนเองและสังคม ๓.๒ คนไทยสามารถปรับตวั ได้ มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ดี และทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นไดเ้ ป็นอยา่ งดี ๔. มีทกั ษะทางสงั คม ๔.๑ คนไทยเขา้ ใจและเคารพในธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ มและสงั คม มีทกั ษะและความสามารถ ท่ีจาเป็นตอ่ การดาเนินชีวติ ในสังคมอยา่ งมีความสุข ๔.๒ คนไทยมีความรับผิดชอบ เขา้ ใจ ยอมรับและตระหนกั ในคุณค่า ของวฒั นธรรมที่แตกตา่ งกนั สามารถแกป้ ัญหาในฐานะสมาชิกของสงั คมไทยและสงั คมโลกโดยสนั ติวธิ ี ๕. มีคุณธรรม จิตสาธารณะ และจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ๕.๑ คนไทยดาเนินชีวติ โดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต ๕.๒ คนไทยมีความรับผดิ ชอบทางศีลธรรมและสังคม มีจิตสานึก ในเกียรติภูมิของความเป็ นคนไทย มีความภูมิใจในชนชาติไทย รักแผน่ ดินไทย และปฏิบตั ิตนตามระบอบประชาธิปไตย เป็ นสมาชิกที่ดี เป็นอาสาสมคั ร เพ่ือชุมชนและสังคมในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก มาตรฐานท่ี ๒ แนวการจดั การศึกษา จดั การเรียนรู้ท่ีมุ่งพฒั นาผูเ้ รียนเป็ นสาคญั และการบริหารโดยใชส้ ถานศึกษาเป็นฐาน การจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ผเู้ รียนเห็นแบบอยา่ งท่ีดี ไดฝ้ ึ กการคิด ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงท่ีหลากหลายตรงตามความต้องการ และมีความสุขในการเรียนรู้ ครูคณาจารยร์ ู้จกั ผเู้ รียนเป็ นรายบุคคล เตรียมการสอนและใชส้ ื่อท่ีผสมผสานความรู้สากลกบั ภูมิปัญญาไทยจดั บรรยากาศเอ้ือต่อการเรียนรู้ จดั หาและพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และพฒั นาความคิดของผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบและสร้างสรรค์ ความสาเร็จของการจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ข้ึนอยูก่ บั ปัจจยั ดา้ นบุคคลเช่น ผูเ้ รียน ครู คณาจารย์ ผูบ้ ริหาร ผปู้ กครอง และปัจจยั ดา้ นการบริหารไดแ้ ก่ หลกั การบริหารจดั การและหลกั ธรรมมาภิบาล
๓๓ ตวั บง่ ช้ี ๑. การจดั หลกั สูตรการเรียนรู้และสภาพแวดลอ้ มท่ีส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนไดพ้ ฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ ๑.๑ มีการจดั หลกั สูตรที่หลากหลายตามความเหมาะสม ความตอ้ งการและศกั ยภาพของกลุ่มผเู้ รียนทุกระบบ ๑.๒ ผเู้ รียนมีโอกาส/สามารถเขา้ ถึงหลกั สูตรต่างๆ ที่จดั ไวอ้ ยา่ งทว่ั ถึง ๑.๓ องคก์ รที่ใหบ้ ริการทางการศึกษามีสภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานที่ มีการส่งเสริมสุขภาพอนามยั และความปลอดภยั ๑.๔ มีการพฒั นานวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ สื่อเพื่อการเรียนรู้ และการให้บริการเทคโนโลยสี ารสนเทศทุกรูปแบบท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๒. มีการพฒั นาผบู้ ริหาร ครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งเป็นระบบและมีคุณภาพ ๒.๑ ผบู้ ริหาร ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งเป็ นระบบต่อเนื่อง เพือ่ สร้างความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการและวชิ าชีพ ๒.๒ ผบู้ ริหาร ครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษามีคุณธรรม มีความพึงพอใจในการทางาน และผกู พนั กบั งาน มีอตั ราการออกจากงานและอตั ราความผดิ ทางวนิ ยั ลดลง ๒.๓ มีแนวโน้มในการรวมตวั จดั ต้งั องคก์ รอิสระเพื่อสร้างเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะกลุ่มและติดตามการดาเนินงานของบุคลากรและสถานศึกษา ตลอดจนการส่งั สมองคค์ วามรู้ที่หลากหลาย ๓. มีการบริหารจดั การที่ใชส้ ถานศึกษาเป็นฐาน ๓.๑ องคก์ ร ชุมชน มีส่วนร่วมในการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ตามสภาพทอ้ งถ่ิน บุคลากรท้งั ในและนอกสถานศึกษา สภาพปัญหาและความตอ้ งการท่ีแทจ้ ริงของผเู้ รียน ๓.๒ ผูร้ ับบริการ/ผูเ้ กี่ยวขอ้ งทุกกลุ่มมีความพึงพอใจต่อการจดั บริการทางการศึกษาของสถานศึกษา ๓.๓ มีการกาหนดระบบประกนั คุณภาพภายในเป็ นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษา เพอ่ื นาไปสู่การพฒั นาคุณภาพ และสามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้ มาตรฐานท่ี ๓ แนวการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ / สงั คมแห่งความรู้ การเรียนรู้ ความรู้ นวตั กรรม ส่ือ และเทคโนโลยี เป็ นปัจจยั สาคญั ของการพฒั นาสู่สังคมแห่งความรู้ การส่งเสริมและสร้างกลไกเพอื่ ใหค้ นไทยทุกคนมีโอกาสและทางเลือกที่จะเขา้ ถึงปัจจยั และเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต ดว้ ยรูปแบบและวิธีการท่ีหลากหลายโดยการไดร้ ับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม จะนามาซ่ึงการพฒั นาคุณภาพประสิทธิภาพ และขีดความสามารถของคนไทย ในการพฒั นาประเทศ รวมท้งั การเพ่ิมศกั ยภาพการแขง่ ขนั ของประเทศ
๓๔ ตวั บ่งช้ี ๑. การบริการวชิ าการและสร้างความร่วมมือระหวา่ งสถานศึกษากบั ชุมชนให้เป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ ๑.๑ สถานศึกษาควรร่วมมือกบั บุคลากรและองคก์ รในชุมชนที่เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ าย ทุกระดบัร่วมจดั ปัจจยั และกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน และให้บริการทางวิชาการท่ีเป็ นประโยชน์แก่การพฒั นาคนในชุมชน เพอื่ ใหส้ งั คมไทยเป็นสังคมแห่งภูมิปัญญา และคนไทยมีการเรียนรู้ตลอดชีวติ ๑.๒ ชุมชนซ่ึงเป็ นท่ีต้งั ขององคก์ รที่ให้บริการทางการศึกษามีสถานภาพเป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ มีความปลอดภยั ลดความขดั แยง้ มีสันติสุข และมีการพฒั นากา้ วหนา้ อยา่ งต่อเนื่อง ๒. การศึกษาวจิ ยั สร้างเสริม สนบั สนุนแหล่งการเรียนรู้ และกลไกการเรียนรู้ ๒.๑ มีการศึกษาวจิ ยั สารวจ จดั หา และจดั ต้งั แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวติ ทุกรูปแบบ ๒.๒ ระดมทรัพยากร (บุคลากร งบประมาณ อาคารสถานท่ี สิ่งอานวยความสะดวก ภูมิปัญญาและอ่ืนๆ) และความร่วมมือจากภายในและภายนอกสถานศึกษา ในการสร้างกลไกการเรียนรู้ทุกประเภท เพื่อใหค้ นไทยสามารถเขา้ ถึงแหล่งการเรียนรู้ และสามารถเรียนรู้ตลอดชีวติ ไดจ้ ริง ๒.๓ ส่งเสริมการศึกษาวจิ ยั เพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้ใหมเ่ พ่ือการพฒั นาประเทศ ๓. การสร้างและการจดั การความรู้ในทุกระดบั ทุกมิติของสงั คม ครอบครัว ชุมชน องคก์ รทุกระดบั และองคก์ รท่ีจดั การศึกษามีการสร้างและใชค้ วามรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนกลายเป็นวฒั นธรรมแห่งการเรียนรู้การประกนั คุณภาพการศึกษาของ ทบ. เนื่องด้วย พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ซ่ึงเป็ นกฎหมายแม่บทในการบริหารการศึกษา ได้ให้ความสาคัญกับการประกันคุณภาพการศึกษา และถือว่าการจัดการศึกษาโดยสถานศึกษาของกองทพั น้นั เป็ นการจดั การศึกษาเฉพาะทางตามความตอ้ งการและความชานาญของหน่วยงานโดยกาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในทุกระดบั ประกอบดว้ ยระบบประกนั คุณภาพภายในและระบบประกนั คุณภาพภายนอกนอกจากน้ียงั กาหนดให้หน่วยงานตน้ สังกดั และสถานศึกษา จดั ให้มีระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถ้ ือวา่ การประกนั คุณภาพภายในเป็ นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอ้ งดาเนินการอยา่ งต่อเนื่อง โดยมีการจดั ทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานตน้ สังกดั หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งและเปิ ดเผยต่อสาธารณชน อนั จะนาไปสู่การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา รวมท้งัเพื่อรองรับการประกนั คุณภาพภายนอก ดว้ ยเหตุน้ี กห.จึงไดก้ าหนดให้สถานศึกษาของทุกเหล่าทพั มี
๓๕ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาของชาติ และ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ท่ีบญั ญตั ิไว้ ในส่วนของ ทบ. มอบหมายให้ ยศ.ทบ.เป็ นหน่วยที่รับผิดชอบในการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในสถาบนั การศึกษา รร.เหล่า/สายวิทยาการ และหน่วยจดั การศึกษาของ ทบ. โดยยดึ ถือบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และนโยบายของ กห. เป็ นกรอบและแนวทางในการดาเนินงาน เพื่อให้เกิดการรองรับท้งั ระบบประกนั คุณภาพภายในและระบบประกนั คุณภาพภายนอกโดยกาหนดให้ระบบการประกนั คุณภาพภายใน เป็ นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษา และการจดั การเรียนการสอนของสถาบนั การศึกษา รร.เหล่าสายวิทยาการ และหน่วยจดัการศึกษาของ ทบ. เพอ่ื ควบคุมคุณภาพการศึกษาท่ีตอ้ งกระทาอยา่ งตอ่ เนื่อง ใหม้ ีการประเมินผล ติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถานศึกษาเองและจากคณะอนุกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาของ ทบ. นอกจากน้ียงั มีคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาของกองทพั ซ่ึงมีกองคุณภาพและมาตรฐานการฝึ กศึกษาทหาร บก.สปท. (กมศ.บก.สปท.) เป็ นหน่วยรับผิดชอบในปัจจุบัน กมศ.บก.สปท.ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพสถาบนั การศึกษาและ รร.สังกดั ทบ.ไดแ้ ก่ รร.จปร., วพบ., วพม., รร.สธ.ทบ., รร.นส.ทบ.และ รร.ดย.ทบ. วงรอบ ๓ ปี /คร้ัง สาหรับการประกนั คุณภาพภายนอกหมายถึง การประเมินผล การติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดย “สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา” (สมศ.) เพ่ือรับรองคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาของ ทบ. ในปัจจุบนั ทบ.ได้ดาเนินงานการประกนั คุณภาพภายใน เพื่อรองรับการประเมิน คุณภาพภายนอกอย่างต่อเนื่อง ตระหนกั และให้ความสาคญั กบั การพฒั นาความรู้ของกาลงั พล ถือวา่ การศึกษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานน้นั เป็นภารกิจที่มีความสาคญั อยา่ งยงิ่ สาหรับการพฒั นากองทพั ท้งั ระยะส้นั และระยะยาว การประกนั คุณภาพการศึกษาเป็นกระบวนการบริหารจดั การที่ตอ้ งมีการพฒั นาปรับปรุง เพ่ือพฒั นาระบบการศึกษาใหม้ ีคุณภาพอยา่ งตอ่ เนื่อง ซ่ึงจะเป็นการสร้างความมนั่ ใจใหแ้ ก่กองทพั และกาลงัพลท่ีเข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ จากสถาบนั การศึกษา รร.เหล่า สายวิทยาการ และหน่วยจดัการศึกษาของ ทบ. ระบบการประกนั คุณภาพมีแนวคิดในการดาเนินงาน ๓ ข้นั ตอน ดงั น้ี ๑. การพฒั นาคุณภาพ (Quality Control) เป็ นการกาหนดมาตรฐานคุณภาพ และพฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ขา้ สู่มาตรฐาน ๒. การตรวจติดตามคุณภาพ (Quality Auditing) และติดตามผลการดาเนินงานให้เป็ นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนด ๓. การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) เป็ นการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา โดยหน่วยงานภายในของสถานศึกษาเอง และหน่วยงานตน้ สังกดั ในส่วนกลาง โดยการตรวจเยี่ยม และ
๓๖ประเมินสถานศึกษาเป็ นระยะตามที่กาหนดโดยหน่วยงานต้นสังกัด เพ่ือให้การช่วยเหลือและเตรียมพร้อมเพ่ือรอรับการประเมินจากสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) แผนภาพท่ี ๒.๗ ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ระบบที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพการศึกษาของ ทบ.คือ การนาพนั ธกิจหลกั ในการบริหารการศึกษาและการจดั การเรียนการสอน มาเป็ นเครื่องมือหลกั ในการควบคุมคุณภาพภายใน จานวน ๙องคป์ ระกอบ ดงั น้ี องคป์ ระกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วตั ถุประสงค์ และแผนแม่บท องคป์ ระกอบที่ ๒ การเรียนการสอน องคป์ ระกอบท่ี ๓ กิจกรรมการพฒั นาผเู้ รียน องคป์ ระกอบที่ ๔ การวจิ ยั /ผลงานวชิ าการ/งานสร้างสรรค์ องคป์ ระกอบท่ี ๕ การบริการทางวชิ าการแก่สงั คม องคป์ ระกอบท่ี ๖ การทานุบารุงศิลปวฒั นธรรม องคป์ ระกอบท่ี ๗ การบริหารและการจดั การ องคป์ ระกอบท่ี ๘ การเงินและงบประมาณ องคป์ ระกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกนั คุณภาพ
๓๗ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพ่ือนาไปสู่การพฒั นาคุณภาพน้ัน จะต้องทาให้การประกนั คุณภาพภายในเป็ นส่วนหน่ึงของการบริหารจดั การ การบริหารจดั การน้ีเป็ นสิ่งที่ใชใ้ นการทางานให้ประสบความสาเร็จโดยตอ้ งมีกระบวนการวางแผน (Plan) ปฏิบตั ิการตามแผน (Do) ตรวจสอบประเมินผล(Check) และพฒั นาปรับปรุงอยู่เสมอ (Act) ซ่ึงหลกั การน้ีเป็ นการบริหารคุณภาพงาน เป็ นวงจรพฒั นาพ้ืนฐาน หลกั ของการพฒั นาคุณภาพท้งั ระบบ (Total Quality Management : TQM) ผทู้ ่ีคิดคน้ กระบวนการหรือวงจรพฒั นาคุณภาพ PDCA คือ Shewart นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวอเมริกนั แต่ Deming ไดน้ าไปเผยแพร่ที่ประเทศญี่ป่ ุนจนประสบผลสาเร็จ คนทว่ั ไปส่วนใหญ่รู้จกั หลกั การดาเนินงานน้ีและมกั เรียกว่า “วงจรDeming” หรือ “วงจร PDCA” ๑. วงจรคุณภาพ PDCA PDCA (Plan-Do-Check-Act) เป็ นกิจกรรมพ้ืนฐานในการพฒั นาประสิทธิภาพและคุณภาพการดาเนินงาน ประกอบดว้ ยข้นั ตอน คือ การวางแผน ลงมือทา ตรวจสอบ และปฏิบตั ิเพื่อแกไ้ ขหรือปรับปรุง มีพฒั นาการจากการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ โดยมีลกั ษณะเป็ นวงจรต่อเน่ือง ท้งั น้ีอาจอธิบายถึงกระบวนการ ๔ ข้นั ตอน โดยสังเขปไดด้ งั น้ี ๑.๑ วางแผน (plan) ตอ้ งพจิ ารณาในประเดน็ สาคญั เช่น ๑.๑.๑ การกาหนดวตั ถุประสงคเ์ ป้าหมายใหช้ ดั เจน ๑.๑.๒ การกาหนดคุณลกั ษณะที่ใชใ้ นการควบคุม ๑.๑.๓ การกาหนดวธิ ีการทางานเพอื่ บรรลุตามเป้าหมายที่ต้งั ไว้ เป็นตน้ ๑.๒ ลงมือทา (do) ไดแ้ ก่ ๑.๒.๑ ศึกษาและฝึกอบรมใหเ้ ขา้ ใจวธิ ีการทางานในแตล่ ะคร้ัง และลงมือปฏิบตั ิ ๑.๒.๒ เก็บขอ้ มูลคุณลกั ษณะทางดา้ นคุณภาพตามวธิ ีการที่ไดก้ าหนดไว้ เป็นตน้ ๑.๓ ตรวจสอบ (check) ซ่ึงเป็ นการตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของงานและการประเมินผลสิ่งท่ีไดล้ งมือปฏิบตั ิไปแลว้ เช่น ๑.๓.๑ ตรวจสอบวา่ งานที่ทาไดเ้ ป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดหรือไม่ ๑.๓.๒ ตรวจตราคุณลกั ษณะทางดา้ นคุณภาพวา่ ตรงตามเป้าหมายหรือไม่เป็ นตน้ ๑.๔ ปฏิบตั ิและแกไ้ ขปรับปรุง (act) เมื่อตรวจสอบสิ่งท่ีไดท้ าตามแผนแลว้ พบวา่ มีความผดิ พลาดหรือขอ้ บกพร่อง ตอ้ งทาการแกไ้ ขและปรับปรุง เช่น ๑.๔.๑ แกไ้ ขที่ตน้ เหตุของปัญหา ๑.๔.๒ คน้ หาสาเหตุ แลว้ ทาการป้องกนั เพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดความผดิ พลาดข้ึนอีก ๑.๔.๓ หาทางพฒั นาระบบหรือปรับปรุงการทางานน้นั ๆ โดยตรง เป็นตน้
๓๘ เม่ือมีการนา PDCA มาใช้ในการปรับปรุงการบริหาร โดยเฉพาะเน้นดา้ นการควบคุมคุณภาพ จึงมีการขยายผลกระบวนการ เพิ่มข้นั ตอนเชิงปฏิบตั ิโดยละเอียดมากข้ึน แต่ในแนวคิดหลกัยงั คงข้นั ตอนสาคญั ท้งั ๔ คือ plan-do-check-act อย่างครบถ้วน นอกจากน้ีอาจมีการขยายผลวงจรPDCA เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์ในเชิงรูปธรรมอยา่ งชดั เจน มีการดาเนินงาน ๓ ข้นั ตอน ดงั น้ี ๑. การพฒั นาคุณภาพ ๒. การตรวจติดตามคุณภาพ ๓. การประเมินคุณภาพ แผนภาพท่ี ๒.๘ วงจรคุณภาพ
๓๙ ๒. กลไกการประกนั คุณภาพการศึกษาของ ทบ. การดาเนินการประกนั คุณภาพภายในประกอบดว้ ย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบและการประเมินคุณภาพ ดงั ระบุในคาจากดั ความขา้ งตน้ ทบ. จึงไดก้ าหนดกลไกในการดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในของ ทบ. ดงั น้ี ยศ.ทบ. กากบั ดูแลและดาเนินการตรวจสอบ/ประเมนิ คุณภาพภายในสถาบนั การศึกษา รร. เหล่า สายวทิ ยาการ และหน่วยจัดการศึกษาของ ทบ.สถาบันการศึกษา/โรงเรียน ทาหน้าท่ี - กาหนดปรัชญา ปณิธาน ของสถาบนั การศึกษา/ โรงเรียน - กาหนดคุณลกั ษณะผสู้ าเร็จการศึกษา - ปฏิบตั ิตามนโยบายการประกนั คุณภาพการศึกษา - แต่งต้งั คณะกรรมการประกนั คุณภาพการศึกษา หน่วยงาน/คณะกรรมการท่ี - กาหนดแนวทางการประกนั คุณภาพการศึกษา รับผดิ ชอบ ทาหน้าท่ี - กาหนดมาตรฐาน องคป์ ระกอบ ดชั นี การประกนั คุณภาพการศึกษา บง่ ช้ีคุณภาพ ระดบั สถาบัน/โรงเรียน - จดั ทาคูม่ ือประกนั คุณภาพการศึกษาหน่วยงาน/คณะกรรมการท่ีรับผดิ ชอบ การประกนั คุณภาพการศึกษา - จดั ทารายงานการศึกษาตนเอง/การ ระดบั กอง/แผนก ประเมินตนเอง ระดบั สถาบนั /โรงเรียน - ตรวจสอบ/ประเมินคุณภาพภายใน ทาหน้าที่ - ดาเนินงานตามคูม่ ือการประกนั คุณภาพ - จดั ทารายงานการศึกษาตนเอง/ประเมิน ตนเองระดบั กอง/แผนกแผนภาพที่ ๒.๙ กลไกการประกนั คุณภาพการศึกษาของ ทบ.
๔๐งานวจิ ยั และบทความท่ีเกย่ี วข้อง งานวจิ ยั ประสิทธ์ิ ปรีดาศกั ด์ิ (๒๕๔๕) ไดว้ ิจยั เรื่องการพฒั นากรประกนั คุณภาพการศึกษาภายในการสอนสังกดั กรุงเทพมหานคร ในเขตป้อมปราบศตั รูพ่าย ผลการวิจยั สถานศึกษาใช้ทฤษฎีวงจงคุณภาพ P D C A และร่วมคิดร่วมทาในการดาเนินการประกนั คุณภาพการศึกษา ส่วนการจดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศของสถานศึกษาให้ความสาคญั ข้อมูลนักเรียนมากท่ีสุด สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศึกษาสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาของกรุงเทพมหานคร สถานการศึกษาใชว้ ธิ ีการนิเทศติดตามตรวจสอบ ประเมินผลพฒั นาคุณภาพการศึกษา พบวา่ อยูใ่ นข้นั พอใจถึงน่าพึงพอใจ โดยมีระดบั ผลการปฏิบตั ิงานด้วยตนเองคิดเป็ นร้อยละ ๖๑ – ๗๐ ด้านปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาพลปัญหาอุปสรรคหลักๆ ๓ ประการคือ ด้านบุคลากร การขาดแคลนงบประมาณ และขาดเคร่ืองมืออุปกรณ์ในการปฏิบตั ิงาน จากการวจิ ยั พบวา่ เน่ืองจากมีการเปล่ียนแปลงโยกยา้ ยผบู้ ริหารบ่อยคร้ังและบุคลากรขาดความรู้ ความเขา้ ใจและทกั ษะดีพอในการปฏิบตั ิงานดา้ นแนวทางการปรับปรุงแก้ไขเพื่อการพฒั นาการดาเนินการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาพบว่า ๑)บุคลากร ควรจดั ประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ ๒) การจัดสรรงบประมาณให้ตามความต้องการของโรงเรียนอย่างเพียงพอเพื่อจัดซ้ือเคร่ืองมือและอุปกรณ์ ๓) การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา ควรจดั เกบ็ ขอ้ มูลไวใ้ นคอมพิวเตอร์สามารถเรียกใชง้ านไดต้ ลอดเวลา สมเกียรติ พละจิตต์ (๒๕๔๕) ได้วิจยั สภาพและปัญหาการดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในโรงเรียน โรงเรียนประถมศึกษาสงั กดั สานกั งานประถมศึกษา จงั หวดั สกลนคร ผลการวจิ ยั พบวา่สภาพการดาเนินงานการประกันคุณภาพาภายใน โดยรวมอยู่ในระดบั ดีมากและปัญหาดาเนินการประกนั คุณภาพภายใน โดยรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง ผูบ้ ริหารและครูผูส้ อนมีความคิดเห็นเกี่ยวกบัสภาพและปัญหาการดาเนินการประกนั คุณภาพภายในโดยรวมและรายดา้ นไมแ่ ตกต่างกนั ผูบ้ ริหารและครูผสู้ อน ที่มีประสบการณ์ในการทางานตา่ งกนั มีความคิดเห็นเกี่ยวกบั สภาพการดาเนินงานการประกนัคุณภาพภายในโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ ๑๕ โดยผูบ้ ริหารและครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานมากกวา่ ๑๐ ปี สมชาย ใจเท่ียง (๒๕๔๕) ไดว้ ิจยั เรื่องการศึกษาสภาพและปัญหาหารดาเนินงานประกนัคุณภาพภายในโรงเรียนมธั ยมศึกษา สังกดั กรมสามญั ศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจยั พบวา่ สภาพและปัญหาการดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในของโรงเรียนมธั ยมศึกษา สงกดั กรมสามญั ศึกษาข้นัพ้นื ฐานและปฐมวยั มีข้นั ตอน คือ ๑) การจดั ระบบการบริหารและสารสนเทศ ๒) การพฒั นามาตรฐานการศึกษา ๓) การจดั แผนพฒั นามาตรฐานการศึกษา ๔) การดาเนินงานตามแผนพฒั นา ๕) การรายงาน
๔๑คุณภาพการศึกษาประจาปี ๖) การผดุงระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ส่วนใหญ่มนสภาพการดาเนินงานอยใู่ นระดบั ดีมากมีปัญหากาดาเนินงานอยใู่ นระดบั ต่า อภิชาต์ิ เตียวิเศษ (๒๕๔๖) ได้ทาการวิจยั เรื่อง การประกนั คุณภาพภายในส่งผลต่อการปฏิรูปกระบวรการเรียนรู้ระดบั ประถมศึกษา ในโรงเรียนเอกชนที่เป็ นแกนนาปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ผลการวจิ ยั พบวา่ การปฏิบตั ิการประกนั คุณภาพภายในและการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ของโรงเรียนท้งั โดยภาพรวมและทุกรายดา้ นอยใู่ นระดบั ดีมาก บทความ ดร.ชูศกั ด์ิ ประเสริฐ (๒๕๕๕) PDCA เพ่ือการยกระดบั คุณภาพการศึกษา กล่าวา่ PDCA มาจากคาภาษาองั กฤษ ๔ คา ไดแ้ ก่ Plan (วางแผน) Do (ปฏิบตั ิ) Check (ตรวจสอบ) Act (ดาเนินการให้เหมาะสม) แนวคิดเกี่ยวกบั วงจร PDCA เริ่มข้ึนเป็ นคร้ังแรกโดยนกั สถิติ Walter Shewhart ซ่ึงไดพ้ ฒั นาจากการควบคุมกระบวนการเชิงสถิติท่ี Bell Laboratories ในสหรัฐอเมริกาเมื่อทศวรรษ ๑๙๒๐ ในระยะเริ่มแรก วงจรดงั กล่าวเป็ นท่ีรู้จกั กนั ในช่ือ \"วงจร Shewhart\" จนกระทงั่ ราวทศวรรษท่ี ๑๙๕๐ ไดม้ ีการเผยแพร่อยา่ ง กวา้ งขวางโดย W.Edwards Deming ปรมาจารยท์ าง ดา้ นการบริหารคุณภาพ หลายคนจึงเรียกวงจรน้ีวา่ \"วงจร Deming\" เมื่อเร่ิมแรก Deming ไดเ้ นน้ ถึงความสมั พนั ธ์ ๔ ฝ่ าย ในการดาเนินธุรกิจเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซ่ึงคุณภาพ และความพึงพอใจของลูกคา้ ซ่ึงไดแ้ ก่ ฝ่ ายออกแบบ ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายขาย และฝ่ ายวจิ ยั ความสมั พนั ธ์ของท้งั ๔ ฝ่ ายน้นั จะตอ้ งดาเนินไปอยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่ือยกระดบั คุณภาพของสินคา้ ตามความตอ้ งการของลูกคา้ ที่เปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา โดยใหถ้ ือวา่ คุณภาพจะตอ้ งมาก่อนสิ่งอื่นใด ต่อมาแนวคิดเก่ียวกบั กับวงจร Deming ได้ถูกดัดแปลงให้เข้ากับวงจรการบริหาร ซ่ึงประกอบด้วย ข้ันตอนการวางแผน ข้ันตอนการปฏิบัติ ข้ันตอนการตรวจสอบ และข้ันตอนการดาเนินการให้เหมาะสม (ซ่ึงในระยะเร่ิมแรกหมายถึงการปรับปรุงแกไ้ ข) แต่ยงั ไม่สามารถใชง้ านได้อยา่ งมีประสิทธิผล เพราะแตล่ ะข้นั ตอนถูกมอบหมายใหเ้ ป็นหนา้ ท่ีรับผิดชอบของแต่ละฝ่ าย ขณะที่ฝ่ ายบริหารกาหนดแผนงานและต้งั เป้าหมายสาหรับพนกั งาน พนักงานก็ตอ้ งลงมือปฏิบตั ิให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีฝ่ ายบริหารได้กาหนดข้ึน ในขณะท่ีผูต้ รวจสอบคอยตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานเป็นระยะๆและรายงานผลให้ผบู้ ริหารทราบ หากการปฏิบตั ิงานมีความผิดพลาดหรือเบ่ียงเบนไปจากเป้าหมายก็จะไดแ้ กไ้ ขไดท้ นั ที พนกั งานที่ สามารถปฏิบตั ิงานไดต้ ามเป้าหมายก็จะไดร้ างวลั เป็ นการตอบแทน แต่ถ้าไม่สามารถทาได้ตามเป้าหมายก็จะถูกประเมินผลการปฏิบัติงานท่ีต่า การดาเนินงานในลกั ษณะน้ีจะเห็นไดว้ า่ ค่อนขา้ งแข็งกระดา้ ง นอกจากผูบ้ ริหารจะไม่ประเมินศกั ยภาพของพนักงานซ่ึงเป็ นผูท้ ี่รู้ดีท่ีสุดเก่ียวกับกระบวนการทางานแล้ว ยงั ขาดวิสัยทศั น์ที่ดีในเร่ืองของการประสานงานภายในหน่วยงาน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การใหพ้ นกั งานมีส่วนร่วมในข้นั ตอนการวางแผนและแกไ้ ขปรับปรุงใหด้ ีข้ึน อย่างไรก็ตาม วงจร Deming ไดพ้ ฒั นาไปในทิศทางที่นุ่มนวลข้ึน ในประเทศญี่ป่ ุนซ่ึงไดใ้ ห้ความสาคญั กบั พ้ืนฐานการ บริหารงาน ๒ อยา่ ง น้นั ก็คือ การส่ือสารและความร่วมมือ
๔๒ร่วมใจจากทุกคนในหน่วยงาน โดยผูบ้ ริหารยงั คงเป็ นผูก้ าหนดแผนงาน แต่จะส่ือสารผ่านช่องทางหวั หนา้ งานและพนกั งาน ตามลาดบั ข้นั เป้าหมายถูกกาหนดข้ึนตามความเหมาะสมเป็นไปได้ เราใชว้ งจร PDCA เพื่อการปรับปรุงงานอยา่ งต่อเน่ือง ทุกคร้ังที่วงจรหมุนครบรอบก็จะเป็ นแรงส่งให้หมุนในรอบต่อไป วิธีการใหม่ ๆ ที่ทาให้เกิดการปรับปรุงก็จะถูกจดั ทา เป็ นมาตรฐานการทางาน ซ่ึงจะทาให้การทางานมีการพฒั นาอย่างไม่สิ้นสุด เราอาจเร่ิมดว้ ยการปรับปรุงเล็กๆ น้อยๆก่อนท่ีจะกา้ วไปสู่การปรับปรุงท่ีมีความซบั ซอ้ นมากยง่ิ ข้ึน วงจร PDCA สามารถประยกุ ตใ์ ชไ้ ดก้ บั ทุก ๆ เร่ือง นบั ต้งั แต่กิจกรรมส่วนตวั เช่น การปรุงอาหาร การเดินทางไปทางานในแต่ละวนั การต้งั เป้าหมายชีวิต การดาเนินงานในระดับบริษัทจนกระทงั่ ในระดบั สถาบนั การศึกษา หรือที่นามาใชใ้ นระบบประกนั คุณภาพการศึกษา โครงสร้างของวงจร PDCA ข้นั ตอนท้งั ๔ ข้นั ตอนของวงจร PDCA ประกอบดว้ ย ข้นั ตอนการวางแผน (Plan) ข้นั ตอนการวางแผนครอบคลุมถึงการกาหนดกรอบหวั ขอ้ ท่ีตอ้ งการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงซ่ึงรวมถึงการพฒั นาสิ่งใหม่ ๆ การแกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบตั ิงาน ฯลฯ พร้อมกบั พิจารณาวา่ มีความจาเป็ นตอ้ งใชข้ อ้ มูลใดบา้ งเพื่อการปรับปรุงเปล่ียนแปลงน้นั โดยระบุวิธีการเก็บขอ้ มูลใหช้ ดั เจนนอกจากน้ี จะต้องวิเคราะห์ขอ้ มูลที่รวบรวมได้ แล้วกาหนดทางเลือกในการปรับปรุงเปล่ียนแปลงดงั กล่าว การวางแผนยงั ช่วยให้เราสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดข้ึนในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่าง ๆ ที่อาจเกิดข้ึนได้ ท้งั ในดา้ นแรงงาน วตั ถุดิบ ชว่ั โมงการทางาน เงิน เวลา ฯลฯ โดยสรุปแลว้ การวางแผนช่วยใหร้ ับรู้สภาพปัจจุบนั พร้อมกบั กาหนดสภาพที่ตอ้ งการให้เกิดข้ึนในอนาคต ดว้ ยการผสานประสบการณ์ ความรู้ และทกั ษะอยา่ งลงตวั โดยทวั่ ไปการวางแผนมีอยดู่ ว้ ยกนั ๒ประเภทหลกั ๆ ดงั น้ี ประเภทที่ ๑ การวางแผนเพื่ออนาคต เป็ นการวางแผนสาหรับส่ิงท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตหรือกาลังจะเกิดข้ึน บางอย่างเราไม่สามารถควบคุมส่ิงน้ันได้เลย แต่เป็ นการเตรียมความพร้อมของเราสาหรับส่ิงน้นั ประเภทที่ ๒ การวางแผนเพ่ือการปรับปรุงเปล่ียนแปลง เป็ นการวางแผนเพื่อเปล่ียนแปลงสภาพท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบนั เพื่อสภาพท่ีดีข้ึน ซ่ึงเราสามารถควบคุมผลท่ีเกิดในอนาคตไดด้ ว้ ยการเริ่มตน้เปลี่ยนแปลงต้งั แตป่ ัจจุบนั ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ (DO) ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ คือ การลงมือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้กาหนดไวใ้ นข้นั ตอนการ วางแผน ในข้นั น้ีตอ้ งตรวจสอบระหวา่ งการปฏิบตั ิดว้ ยว่าได้ดาเนินไปในทิศทางที่ต้งั ใจหรือไม่ พร้อมกบั สื่อสารใหผ้ ทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งรับทราบดว้ ย เราไมค่ วรปล่อยใหถ้ ึงวนิ าทีสุดทา้ ยเพ่ือดูความคืบหนา้ ที่เกิดข้ึน หากเป็นการปรับปรุงในหน่วยงานผบู้ ริหารยอ่ มตอ้ งการทราบความคืบหนา้ อยา่ งแน่นอนเพอ่ื จะไดม้ นั่ ใจวา่ โครงการปรับปรุงเกิดความผิดพลาดนอ้ ยที่สุด
๔๓ ข้นั ตอนการตรวจสอบ (Check) ข้นั ตอนการตรวจสอบ คือ การประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุงเปล่ียนแปลง แต่ข้นัตอนน้ีมกั จะถูกมองขา้ มเสมอการตรวจสอบทาให้เราทราบว่าการปฏิบตั ิในข้นั ท่ีสองสามารถบรรลุเป้าหมายหรือวตั ถุประสงคท์ ่ีไดก้ าหนดไวห้ รือไม่ สิ่งสาคญั ก็คือ เราตอ้ งรู้วา่ จะตรวจสอบอะไรบา้ งและบ่อยคร้ังแค่ไหน ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการตรวจสอบจะเป็นประโยชน์สาหรับข้นั ตอนถดั ไป ข้นั ตอนการดาเนินงานให้เหมาะสม (Act) ข้นั ตอนการดาเนินงานให้เหมาะสมจะพิจารณาผลที่ไดจ้ ากการตรวจสอบ ซ่ึงมีอยู่ ๒ กรณีคือ ผลที่เกิดข้ึนเป็ นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็ นไปตามแผนท่ีวางไว้ หากเป็ นกรณีแรก ก็ให้นาแนวทางหรือกระบวนการปฏิบตั ิน้นั มาจดั ทาให้เป็ นมาตรฐาน พร้อมท้งั หาวิธีการท่ีจะปรับปรุงให้ดีย่งิ ข้ึนไปอีก ซ่ึงอาจหมายถึงสามารถบรรลุเป้าหมายไดเ้ ร็วกวา่ เดิม หรือเสียค่าใช้จ่ายนอ้ ยกวา่ เดิม หรือทาใหค้ ุณภาพดียงิ่ ข้ึนกไ็ ดแ้ ตถ่ า้ หากเป็นกรณีท่ีสอง ซ่ึงก็คือผลท่ีไดไ้ ม่บรรลุวตั ถุประสงคต์ ามแผนที่วางไว้ เราควรนาขอ้ มูลท่ีรวบรวมไวม้ าวเิ คราะห์ และพิจารณาวา่ ควรจะดาเนินการอยา่ งไร วนั น้ีก็ขอนาหลกั ในการบริหารเพื่อการยกระดบั คูณภาพมานาเสนอให้พวกเราไดอ้ ่านกนัเพ่ือนาไปปรับประยุกต์ใช้ในหน้าท่ีการงานและชีวิตครอบครัว ที่ตอ้ งเน้นมากๆในขณะน้ีคือการบริหารงาน ๒ อยา่ ง น้นั กค็ ือ ความร่วมมือร่วมใจจากทุกคนในหน่วยงาน และการส่ือสาร ก็ขอฝากเป็ นการบา้ นใหก้ บั ผอู้ ่านไดช้ ่วยกนั พฒั นาการศึกษาและพฒั นาครอบครัวตวั เอง
๔๔กรอบแนวคดิ การวจิ ยั แนวคิดระบบการบริหารการศึกษา การพฒั นาระบบการบริหาร๑. ทฤษฎีการบริหารการศึกษา การศึกษาของ รร.ป.ศป.๒. การบริหารการศึกษาของ ทบ. ภายใต้กรอบการประกนั๓. การประกนั คุณภาพการศึกษาของ ทบ. คุณภาพการศึกษาของ ทบ.๔. งานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง การบริหารการศึกษาที่ เหมาะสมในองคป์ ระกอบท่ีมีการบริหารการศึกษาของ รร.ป.ศป. ขอ้ บกพร่อง/จุดอ่อนภายใต้กรอบการประกนั คุณภาพการศึกษาของ ทบ.๑. การดาเนินงาน๒. ขอ้ บกพร่อง/จุดอ่อน จากการรับตรวจการประกนั คุณภาพการศึกษาที่มา :http://www.artyschool.org/artyschool/analyze/56/1_56/8.doc
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: