ภูมปิ ญั ญาไทยการทำพดั สานจากไม้ไผ่ ผู้จดั ทำ 1. นางสาว เจนจริ า รักนาค รหสั 63302010084 2. นางสาว ดลญา บญุ ชู รหสั 63302010092 3. นางสาว นิชาภา ลือวัฒนะ รหัส 63302010096 4. นางสาว ภรภทั ร ผกากาญจน์ รหสั 63302010102 5. นางสาว ยวุ ดี เอีย่ มสำอางค์ รหสั 63302010106 แผนกวิชา การบญั ชี เอกสารฉบับนีเ้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาคน้ ควา้ ประกอบการเรยี นรายวิชา 30000-1501 วทิ ยาลัยเทคนิคลพบุรี สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
ภมู ปิ ญั ญาไทยการทำพดั สานจากไมไ้ ผ่ ผจู้ ัดทำ 1. นางสาว เจนจริ า รกั นาค รหัส 63302010084 2. นางสาว ดลญา บญุ ชู รหสั 63302010092 3. นางสาว นิชาภา ลอื วัฒนะ รหัส 63302010096 4. นางสาว ภรภทั ร ผกากาญจน์ รหัส 63302010102 5. นางสาว ยวุ ดี เอี่ยมสำอางค์ รหัส 63302010106 แผนกวิชา การบัญชี เอกสารฉบบั นเ้ี ปน็ ส่วนหน่งึ ของการศกึ ษาค้นคว้าประกอบการเรียนรายวชิ า 30000-1501 วิทยาลยั เทคนิคลพบุรี สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563
ก
ก บทคดั ย่อ ช่ือเรอ่ื ง : ภมู ปิ ญั ญาไทยการทำพดั สานจากไมไ้ ผ่ ผู้จัดทำ : นางสาว เจนจิรา รักนาค ทีป่ รึกษา นางสาว ดลญา บญุ ชู นางสาว นิชาภา ลือวัฒนะ นางสาว ภรภทั ร ผกากาญจน์ นางสาวยุวดี เอ่ยี มสำอาง : อาจารย์ ศริ ิโสภา วศิ ิษฏ์วฒั นะ ปกี ารศึกษา : 2/2563 บทคดั ย่อ เรื่อง ภูมิปัญญาไทยการทำพัดสานจากไม้ไผ่ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเรียนรู้วิธีการทำพัด สาน และต้องการอนุรักษ์เผยแพร่พัดสานที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คนได้รู้จักเพิ่มมากขึ้น เพื่อ ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีรายได้เพียงพอกับรายจ่าย และเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้โดยการพึ่งตนเอง รูปแบบของ การศึกษาค้นคว้า ทางคณะผู้จดั ทำได้ทำการลงพืน้ ที่สำรวจในอำเภอบา้ นแพรก และค้นคว้าข้อมูล จากอินเทอร์เน็ตเพิ่มเติม เพื่อให้ได้เนื้อหาที่มีประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษา ผลของก ารศึกษา พบว่าได้เรียนรู้วิธีการทำพัดสานเพิ่มมากขึ้น รู้จักรูปร่างรูปทรงของพัดสานจากเดิมที่ไม่ค่อยรู้จัก และนำพัดสานมาใช้ได้จริงหรือนำไปทำเป็นรายได้เสริมของนักเรียนนักศึกษาและผู้ว่างงาน สามารถนำไปเผยแพร่ใหค้ นรุน่ หลงั ต่อได้
ข กิตติกรรมประกาศ โครงการนส้ี ำเรจ็ ลลุ ่วงไดด้ ้วยความกรณุ าจากอาจารย์ศริ โิ สภา วศิ ษิ ฏว์ ฒั นะ อาจารยท์ ป่ี รึกษาวชิ าชีวิต กับสังคมไทย ท่ีได้ให้คำเสนอแนะ แนวคดิ ตลอดจนการแก้ไขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ มาโดยตลอด จนโครงการเล่ม นี้เสรจ็ สมบรู ณ์ ผู้ศกึ ษาขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างสูง ขอขอบพระคุณ คุณพ่อคุณแม่และผปู้ กครองท่ีใหค้ ำปรกึ ษาให้เรอ่ื งต่าง ๆ รวมท้ังเปน็ กำลังใจทีด่ ีเสมอ มาและสดุ ท้ายขอขอบคุณเพ่ือน ๆ ท่ีช่วยใหค้ ำแนะนำดี ๆ เกย่ี วกบั การเลือกคำ การใช้คำที่เหมาะสมและให้ คำแนะนำอ่นื ๆ เกยี่ วกับโครงการเลม่ น้ี นางสาว เจนจริ า รักนาค นางสาว ดลญา บุญชู นางสาว นชิ าภา ลือวัฒนะ นางสาว ภรภัทร ผกากาญจน์ นางสาวยวุ ดี เอย่ี มสำอาง
สารบัญ ค เรอื่ ง หนา้ บทคดั ย่อ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข คำนำ ค สารบญั ง สารบญั (ต่อ) จ สารบญั ตาราง ฉ สารบัญภาพ ช บทที่ 1 บทนำ 1 1 1.1 ความเป็นมา 1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1 1.3 ขอบเขตการวิจัย 2 1.4 ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั บทท่ี 2 ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง 3 2.1 พดั สาน 3 2.2 วิธีการทำพดั สาน 4 2.3 การสานพดั 4 2.4 การตดั แบบพัดสาน 4 2.5 การเยบ็ พัดสาน 4 2.6 การใสด่ ้ามพดั บทท่ี 3 วธิ กี ารศึกษาคน้ คว้า 5 3.1 ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน 5 3.2 วสั ดุอปุ กรณ์ในการทำพัดจากไม้ไผ่ บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 6 4.1 ผลทไี่ ด้รบั จากการศกึ ษาคน้ คว้า บทที่ 5 สรปุ ผลอภิปายและข้อเสนอแนะ 7 5.1 สรปุ ผลการทดลอง 7 5.2 ข้อเสนอแนะ
สารบญั ภาพ ง เรอื่ ง หน้า ภาพที่ 3.1 3
1 บทท่ี 1 บทนำ 1.ความเป็นมา สภาพท่วั ไปหรือปัญหาที่มีส่วนสนับสนุนให้ริเรม่ิ ทำโครงการ เนื่องจากสังคมในปัจจบุ ันมี ไม้ไผ่เหลือใช้ และถูกท้งิ อยู่เปน็ จำนวนมาก และมักจะถกู มองขา้ มอยเู่ สมอ จึงมีการนิยมนำไม้ไผ่มาแปรรปู นนั่ คือ การนำเอา วัตถุดิบจากธรรมชาติ นำมาผ่านกระบวนการต่าง ๆ เปลี่ยนเเปลงสภาพ เช่น ตัด จักร ย้อมสี ตากแดด เพ่ือ เป็นการนำมาแปรรูปได้ง่ายและสวยงามมากขึ้น และเก็บรักษาได้นาน และเนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจไม่ดี จึง ชว่ ยทำให้เพ่มิ รายได้เสรมิ ใหก้ บั ตนเอง พัดสาน ถือเป็นของใช้สำหรับโบกเตาไฟของคนไทยในสมัยก่อน หรือใช้สำหรับโบกร่างกายให้หาย คลายจากความร้อนได้ สามารถที่จะนำติดตัวไปไหนมาไหนได้อย่างสะดวก สาเหตุเกิดจากคนในชุมชน ประกอบอาชพี ทำพัดสาน ผู้จดั ทำจงึ เกิดความคิดอยากศกึ ษาการทำพดั สานท่ีทำมาจากไม้ไผ่ เพราะเป็นการนำ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงของในหลวงรชั กาลท่ี 9 มาใช้ และอุปกรณ์หาได้ตามท้องถิ่น และช่วยให้คนในชุมชน มรี ายไดเ้ สริม สรุปถึงความจำเป็นที่ตอ้ งทำโครงการ เพื่อศึกษาขั้นตอนการทำพัดสานจากไม้ไผ่ และรวมไปถึงการท่ี จะสามารถถ่ายทอดเผยแพร่ให้คนภายนอกหรอื คนที่มีความสนใจในเร่ืองการทำพัดสานจากไมไ้ ผ่ จากโครงการ เรอื่ งน้ี 2.วัตถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื ศึกษาเรยี นร้วู ิธที ำพดั สาน 2.2 เพือ่ อนรุ กั ษ์เผยแพรพ่ ัดสานท่ีเป็นภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ใหค้ นได้รู้จกั เพมิ่ ขน้ึ 2.3 เพ่ือสง่ เสริมใหป้ ระชาชนในชมุ ชนมีรายได้เพยี งพอกับรายจ่าย 2.4 เพ่อื ส่งเสริมใหป้ ระชาชนใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ 2.5 เพื่อทำใหเ้ กดิ กระบวนการเรียนรู้ โดยการพ่งึ ตนเอง 3.ขอบเขต 3.1 สถานที่ อ.บ้านแพรก จ.พระนครศรีอยธุ ยา 3.2 ระยะเวลา วันท่ี 4 มกราคม 3.3 ตัวแปรหรือประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 3.1 ประชากร คอื กลุ่มแม่บ้าน อ.บา้ นแพรก จ.พระนครศรีอยุธยา 3.2 กลุม่ ตัวอย่าง คอื กลุ่มแม่บา้ น อ.บ้านแพรก จ.พระนครศรีอยธุ ยา
2 4.ประโยชน์ทไี่ ด้รับ ได้เรยี นรู้วธิ ีการทำพดั สานเพ่ิมมากขน้ึ ร้จู ักรูปรา่ งรูปทรงของพัดสานมากขน้ึ จากเดิมท่ีไม่ค่อยรจู้ กั และ นำพดั สานมาใช้งานได้จรงิ หรือนำไปทำเปน็ รายไดเ้ สริมของนกั เรียนนกั ศึกษาหรือผูว้ า่ งงาน สามารถนำไป เผยแพรใ่ หค้ นรนุ่ หลงั ต่อได้
3 บทที่ 2 ทฤษฎที ่ีเก่ยี วข้อง ในการศึกษาเร่อื ง พัดสาน ผูจ้ ดั ทำได้รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎีและหลักการตา่ ง ๆจากเอกสารที่เก่ียวข้อง ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1.พดั สาน เป็นของใช้สำหรับโบกเตาไฟของคนไทยในสมัยก่อน หรือใช้สำหรับโบกรา่ งกายให้หายคลายจากความ ร้อนได้ สามารถที่จะนำตดิ ตวั ไปไหนมาไหนได้อยา่ งสะดวก วัสดทุ ่ใี ชส้ านพัดเปน็ ผลผลติ จากพืชพรรณธรรมชาติ ในท้องถิ่นคือ ไม้ไผ่ การสานพัด ผู้สานนิยมสานเป็นรูปลักษณะต่าง ๆ มุ่งเน้นประโยชน์การใช้งาน มีการ ปรับปรุงพัฒนารูปแบบให้มีความสวยงามประณีต เช่น พัดสานห้าเหลี่ยมเหมาะสำหรับโบกพัดเตาไฟ พัดยก ลายดอกเป็นลวดลายต่าง ๆ พัดละเอียดรูปใบโพธิ์หรือรูปหัวใจ และรูปตาลปัตร พัดสานบ้านแพรกเป็นงาน หัตถกรรมพนื้ บา้ นอนั ทรงคุณคา่ ทเ่ี กดิ จากภมู ิปัญญาชาวบ้าน อำเภอบา้ นแพรก จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ชาว อำเภอบ้านแพรก ริเริ่มการสานพัดมาเป็นเวลานับ ๔0 ปี มีการประยุกต์ปรับปรุงรูปแบบตลอดเวลา การสาน พัดเป็นอาชีพที่เสริมรายได้ดีภายในครัวเรือน ชาวบ้านจะสานพัดในช่วงว่างเว้นจากการทำนา เป็นสินค้า พื้นเมืองที่สำคัญอย่างหนึ่งของชาวบ้านแพรก พัดสานจึงกลายมาเป็นงานหัตถกรรมพื้นบ้านที่มีชื่อเสียง และ ได้รับการยกย่องให้เป็นเอกลักษณ์ของชาวอำเภอบ้านแพรก ดังปรากฏในคำที่วา่ หลวงพ่อเขียว หลวงพ่อขาว หลวงพ่อเภาคู่บ้าน พัดสานคู่เมือง พิพิธภัณฑ์ลือเลื่อง รุ่งเรืองเกษตรกรรม เลิศล้ำหัตถศิลป์ ดินแดนถิ่นลิเก บ้านเกดิ ของหอมหวล นาคศริ ิ ราชาลิเกแหง่ เมืองไทย 2.2.วิธีการทำพัดสาน คัดเลือกไม้ ขั้นตอนแรกคือการเลือกไม้ไผ่ที่จะนำทาสานพัด ไม้ไผ่นิยมมาจักตอกสานพัดคือไม้สีสุก การคัดเลอื กไม้จะต้องเป็นไม้ไม่อ่อนหรือแก่เกินไปเรียกว่า ไม้มันปลากด เนือ้ ไมจ้ ะขาวเป็นมัน เม่ือนำไปย้อมสี สีจะเป็นเงาสดใส ไม้ที่นิยมนำมาสานพัดคือ ไม้อ่อน เพราะไม้อ่อนมอดจะกิน เมื่อแห้งเส้นตอกจะแตกเพราะ เนอื้ ไมห้ ดตัว สำหรับไมแ่ ก่ของเน้ือไมจ้ ะเป็นสีน้ำตาล เมอื่ ย้อมสสี ีจะไมส้ ด และเนอ้ื ไมท้ ี่แกจ่ ะกรอบแตกหักง่าย ไม้ที่เป็นตามดเนื้อไม้จะดำ ผู้สานจะคัดเลือกไม้ที่มีลำสมบูรณ์ปล้องยาว ปลายลำหรือกด้วยยอดไม่ดว้ นเพราะ ไมท้ ่ยี อดหรือปลายลำด้วนเนื้อไมจ้ ะหลาบไม่สมบูรณ์ การจกั ตอก นำไมท้ คี่ ดั เลอื กไดม้ าตัดเป็นท่อนด้วย เลื่อยคมละเอียด ถ้าเป็นพัดเล็กใช้ปล้องยาวประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร และพัดใหญ่ใช้ปล้องยาวประมาณ 30 – 50 เซนตเิ มตร นำมาจกั ตอกเอาข้อไม้ออกให้หมด การจักตอกทำพัดละเอียด เสน้ ตอกจะมีขนาดเล็กเป็น พิเศษ มีความกว้างประมาณ 3 – 4 มิลลิเมตร ถ้าเป็นพัดธรรมดาหรือพัดหยาบขนาดเส้นตอกจะใหญ่ การจัก
4 ตอกจะต้องนำผิวและขี้ไมอ้ อกใหห้ มด ลอกตอกด้วยมีดตอก ลกั ษณะของมีดตอกเป็นมดี ทมี่ ีส่วนปลายแหลมคม ด้ามยาว เวลาจักตอก ผู้จักจะใช้มีดแนบลำตัว เพื่อบังคับให้เส้นตอกมีความบางเสมอกันตลอดทั้งเส้น การจัก ตอกนยิ มจกั คร้งั ละมาก ๆ นำตอกทจ่ี ักไปผ่งึ ลมหรือแดดให้แหง้ ก่อนนำไปยอมสี การย้อมสี การยอ้ มสตี ้องย้อม ลงภาชนะทีเ่ ตรียมไว้ และย้อมครง้ั ละมาก ๆ เป็นการประหยัดสี สลบั สีตามต้องการ วิธีการย้อมตอ้ งย้อมลงใน นำ้ เดอื ด จมุ่ เส้นตอกให้ทั่วตลอดทั้งเส้นเม่ือย้อมแล้วนำตอกทีย่ ้อมไปล้างในน้ำเย็น เปน็ การล้างสีท่ีไม่ติดเน้ือไม้ ออกก่อน จะเหลือเฉพาะสีท่ตี ดิ เน้ือไม่เท่านั้น นำไปผึ่งลมหรือแดดให้แห้งก่อนนำไปสาน 2.3.การสานพัด การสานพัดนิยมสานเป็นลวดลายต่าง ๆ ลายที่เป็นลายพื้นฐานของการสานพัดคือลายสองและลาย สาม การสานพดั ผสู้ านจะใชค้ วามชำนาญและความสามารถพเิ ศษในการสานยกดอกลวดลาย ปรับปรงุ รูปแบบ ประยุกต์ลวดลายให้มีความสวยงามประณีต ใช้เฉพาะลายพื้นฐานเท่านั้น เช่น สานยกดอกเป็นลายเครือวัลย์ ลายดอกพิกุล ลายดอกเก้า ลายดอกจันทน์ ลายตราหมากรุก เป็นต้น ลักษณะเด่นของพัดสานบ้านแพรก คือ การประยกุ ตร์ ูปแบบใหม้ ีความสวยงามประณีต เชน่ สานเปน็ ตวั หนงั สือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สานเป็น ลายรปู 12ราศี รปู เจดยี ์ 3 องค์ วัดพระศรีสรรเพชร รูปพระเจ้าอู่ทอง รูปนกคู่ สานประยกุ ต์ลวดลายแบบตาม โอกาสและสถานท่ที ่ีต้องการ 2.4.การตดั แบบพดั สาน เมอื่ สานเปน็ แผงตามต้องการ จะนำแบบหรือแม่พิมพ์ที่สร้างไว้เป็นรูปใบโพธ์ิ วางทาบลงบนแผนพัดท่ี สานไว้ ใชด้ ินสอชา่ งไมข้ ดี ตามรอยขอบของแมพ่ ิมพ์ใช้กรรไกรชนดิ ตัดสังกะสตี ัดตามรอยดนิ สอทขี่ ดี ไว้ 2.5.การเยบ็ พัดสาน นำพัดสานที่ตัดตามแม่พิมพ์มาเย็บขอบพัดด้วยดิ้นเงิน ดิ้นทอง หรือลูกไม้สีต่าง ๆ เพื่อเพิ่มความ สวยงามให้แก่พัดสาน การเย็บในสมัยก่อนใช้เย็บด้วยมือ สมัยปัจจุบันนิยมใช้เครื่องจักรเย็บผ้าเย็บเพราะ สะดวกและลวดเร็วกว่าการเย็บด้วยมอื 2.6.การใส่ดา้ มพัดสาน นำด้ามที่เหลาแล้วมาเจาะด้วยสว่านมือจำนวน 2 รู นำตัวใบพัดมาประกอบด้ามโดยใช้ตะปูหัวกลมตอกลงลง ตามท่ีเจาะไว้ แลว้ พับปลายตะปทู งั้ สอง ยดึ ตดิ ใหแ้ น่น เพอื่ ใหพ้ ัดสานมคี วามคงทนและสวยงาม ใชน้ ำ้ มนั ชักเงา ทาเคลอื บพัดท้งั ดา้ มและดา้ นหลังของตัวพัดกจ็ ะได้พดั สานท่ีความสวยงามตามตอ้ งการ
5 บทที่ 3 วธิ ีการศกึ ษาค้นคว้า 3.1 ข้นั ตอนการดำเนินงาน 3.1.1 ค้นหาเรื่องที่จะศึกษา ทางกลุ่มมีการปรึกษาสมาชิกในกลุ่ม โดยมีการตกลงว่าต้องการศึกษา เกย่ี วกับการสานพัดจากไมไ้ ผ่ 3.1.2 หาแหลง่ เรียนรู้การสานพดั จากไมไ้ ผ่ ในอำเภอบ้านแพรก จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เพ่อื สำรวจ เบื่องต้นเกี่ยวกบั การสานพัดจากไม้ไผ่ และค้นหาข้อมูลเพ่ิมเติมข้ันตอนการทำพัดสานจากอินเทอร์เน็ตและใน หนงั สือ วา่ พัดสานมีประโยชน์อยา่ งไร สามารถหารายได้จากทางใดได้บา้ ง 3.2.1 นำข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุปและอภิบายผล เพื่อประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่รวบรวมมา ได้แล้วนำมาแปลความหมายและหาเหตุผล สรปุ ผลออกมาเปน็ เล่มโครงการ 3.2 วัสดุอุปกรณ์ในการทำพัดสานจากไม้ไผ่ 1.มีดจักตอก 2.สยี ้อมผา้ 3.เตาถา่ น 4.แบบพิมพร์ ูปพัด 5.เปก๊ ตอกเย็บพัด 6.ดา้ ย ค้อน เลอ่ื ย สว่านเจาะด้ามพดั 7.กะละมงั แปรงทาสี ภาพที่ 3.1 สานพดั
6 บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ 1.ได้เรยี นร้วู ธิ กี ารทำพัดสานเพม่ิ มากขึน้ 2.ทำภูมปิ ัญญาการทำพดั สานเป็นทร่ี ูจ้ กั มากข้ึน ได้รับการส่งเสริมและอนุรกั ษ์สู่คนรุ่นต่อไป 3.ทำให้ผศู้ ึกษาไดเ้ ข้ามามสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟแู ละสบื สานภมู ิปญั ญาในท้องถ่ิน 4.ไดเ้ รียนร้คู วามสำคัญ รจู้ กั วถิ ีชีวิต รถู้ ึงคณุ คา่ ของประวัตศิ าสตร์ในท้องถิ่นอนั จะสรา้ งความภมู ใิ จและจิตสำนึก ในการรักษา ประเพณีและภมู ิปัญญาของท้องถ่ินสบื ไป
7 บทท่ี 5 สรุปอภบิ ายผลและขอ้ เสนอแนะ โครงการส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ อำเภอบ้านแพรก จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา ผดู้ ำเนินโครงการมีสรุปผลการดำเนินงานโครงการและขอ้ เสนอแนะ ดงั ตอ่ ไปน้ี 5.1 สรุปผลการดำเนนิ การ 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการ ในปจั จบุ ันพัดสานจากไม้ไผ่หรือเครื่องสานอ่ืน ๆจะมีอยนู่ อ้ ย แต่กย็ งั คงมีอยู่ทั่วไป ทุกภาคใน ประเทศ นอกเหนือจากประโยชน์ใช้สอยแล้ว การสานพัดด้วยไม้ไผ่ยังสะท้อนวัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น ดังนั้นควรให้เยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษาเกี่ยวกับงานจักรสานและรักษา เอกลักษณ์วฒั นธรรมในดา้ นการจักรสานผลิตภณั ฑจ์ ากไม้ไผ่ไว้สบื ต่อไป 5.2 ข้อเสนอแนะ 1.การเพ่มิ ความคงทนและความสวยงาม 2.การเพ่ิมความหนาแนน่ ความประณีต 3.ควรประปรงุ ในดา้ นการเก็บรายละเอยี ด เช่น การเกบ็ ปลายฟาง การดงึ เชือกฟางให้แน่น 4.เพิ่มชอ่ งทางการศึกษาค้นควา้ ลงในอนิ เทอร์เน็ต
8 บรรณานกุ รม แหลง่ ข้อมลู 1.https://suttinai.wordpress. 2. https://sites.google.com
9 ประวตั ิผจู้ ัดทำ ช่ือเรอ่ื ง พัดสาน 1. นางสาว เจนจริ า รกั นาค ประวตั สิ ่วนตวั เกดิ วนั ที่ 7 สิงหาคม 2544 ทอ่ี ยู่ 54/1 หมู่ 7 ต.โพธ์เิ กา้ ต้น อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000 ประวัตกิ ารศึกษา ปี 2557 จบ ป.6 โรงเรียนเมืองใหม่ชลอราษฎร์รงั สฤษฏ์ ปี 2560 จบ ม.3 โรงเรียนเมอื งใหม่ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์ ปี 2563 จบ ปวช. 3 วทิ ยาลัยเทคนิคลพบุรี ปี 2563 - ปัจจุบนั กำลงั ศกึ ษาอย่ใู นระดบั ช้ัน ปวส. วิทยาลยั เทคนิคลพบรุ ี
10 2. นางสาว ดลญา บญุ ชู ประวัติส่วนตวั เกิดวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2544 ทอ่ี ยู่ 224 หมู่ 5 ต.หนองเต่า อ.บา้ นหมี่ จ.ลพบุรี 15110 ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ.2557 จบชัน้ ป.6 โรงเรยี นรตั นศึกษา ปี พ.ศ.2560 จบชั้น ม.3 โรงเรยี นบา้ นหมวี่ ทิ ยา ปี พ.ศ.2563 จบ ปวช.3 วทิ ยาลยั เทคนคิ ลพบรุ ี ปี 2563 - ปัจจบุ ัน กำลงั ศกึ ษาอย่ใู นระดบั ชั้น ปวส. วทิ ยาลัยเทคนคิ ลพบรุ ี
11 3.นางสาว นิชาภา ลอื วัฒนะ ประวัติส่วนตวั เกิดวันท่ี 12 ตลุ าคม 2544 ทอ่ี ยู่ 45 หมู่ 1 ต.คลองน้อย อ.บา้ นแพรก จ.พระนครศรีอยธุ ยา ประวัติการศึกษา ปี 2557 จบ ป.6 โรงเรียนเกตุพิชยั วทิ ยา ปี 2560 จบ ม.3 โรงเรียนวนิ ติ ศึกษาในพระราชปู ถัมภฯ์ ปี 2563 จบ ปวช. 3 วทิ ยาลัยเทคนคิ ลพบรุ ี ปี 2563 - ปจั จบุ ัน กำลงั ศึกษาอยใู่ นระดบั ช้ัน ปวส. วิทยาลยั เทคนิคลพบรุ ี
12 4.นางสาว ภรภทั ร ผกากาญจน์ ประวัตสิ ่วนตัว เกดิ วนั ท่ี 13 มกราคม 2544 ท่อี ยู่ 106 หมู่ 7 ต.บ้านเบกิ อ.ท่าวุง้ จ.ลพบุรี 15150 ประวัตกิ ารศกึ ษา ปี 2557 จบ ป.6 โรงเรยี นบา้ นมว่ งอย่ปู ระยงค์ ณ บา้ นเบิก ปี 2560 จบ ม.3 โรงเรยี นวินติ ศึกษาในพระราชูปถัมภฯ์ ปี 2563 จบ ปวช. 3 วทิ ยาลัยเทคนิคลพบุรี ปี 2563 - ปจั จุบัน กำลงั ศึกษาอยู่ในระดับชั้น ปวส. วิทยาลัยเทคนิคลพบรุ ี
13 5.นางสาว ยุวดี เอ่ยี มสำอางค์ ประวัติส่วนตวั เกดิ วันท่ี 14 พฤศจิกายน 2544 ท่อี ย่ปู จั จุบัน 41/4 ม.1 ต.หนองม่วง อ.หนองมว่ ง จ.ลพบรุ ี ประวัตกิ ารศึกษา จบ ป.6 โรงเรียนแก้วประทานพรวทิ ยา ปี 2557 จบ ม.3 โรงเรยี นพระนารายณ์ ปี 2560 จบ ปวช. 3 วทิ ยาลัยเทคนคิ ลพบรุ ี ปี 2563 กำลังศึกษาอยู่ในระดับช้นั ปวส. วทิ ยาลัยเทคนิคลพบุรี ปี 2563 - ปัจจบุ นั
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: