ประวัตริ าชกาลที่5พระบาทสมเดจ็ จุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวัโดย เดก็ ชาย อัครวินท์ รุจิปราชญ์ เลขที่ 1 ชั้น ป5 ___________________________________
พระราชประวัติ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว มีพระนามเดิมวา่ \" เจ้าฟา้ จฬุ าลงกรณ์ \" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั รัชกาลท่ี 4 กบั สมเด็จพระเทพศิรนิ ทราบรมราชินี ( สมเดจ็ พระนางราํ เพยภมรภริ มย์ ) พระองค์ประสูติเมอื่ วันท่ี 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 ตรงกับวนั องั คาร แรม 3 คาํ่ เดือน 10 ได้ทรงรับสถาปนาเปน็ กรมหมืน่ พิฆเนศวรสรุ สงั กาศ และกรมขุนพอนิจประชานาถ ด้านการศกึ ษา พระองคท์ รงได้รับการศกึ ษาเป็นมาอยา่ ง ดี คือ ทรงศกึ ษาอักษรศาสตร์ โบราณราชประเพณี ภาษาบาลีภาษาอังกฤษ ภาษาไทยรฐั ประศาสนศาสตร์ วชิ ากระบ่ี กระบอง วชิ า อศั วกรรม วิชามวยปล้ํา การยิงปืนไฟ เมื่อพระชนมายุได้ 16 พรรษาได้ขน้ึ เถลิงถวลั ยราชสมบัติโดยมสี มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ์เป็นผู้สําเร็จราชการ พ.ศ. 2410 พระเจา้ นโปเลียนท่ี 3 แหง่ ฝร่ังเศส ได้สง่ พระแสงกระบี่มาถวาย คร้ันพระชนมายคุ รบทจ่ี ะวา่ ราชการได้
พระองค์จึงไดท้ รงทําพิธรี าชาภเิ ษกใหมอ่ ีกคร้ังหนึง่ เมื่อ พ.ศ. 2416 ทาํ ใหเ้ กดิ ผลใหญ่ 2 ขอ้ 1. ทําใหพ้ วกพ่อค้าชาวต่างประเทศหนั มาทาํ การตดิ ต่อกบั พระองค์โดยตรง เป็นการปลกู ความนิยมนับถือกบั ชาวตา่ งประเทศได้เป็นอย่างดี เยี่ยม 2. ทําใหพ้ ระองค์ มีพระราชอาํ นาจทจี่ ะควบคมุ กําลงั ทหารการเงินได้ โดยตรงเปน็ ไดท้ รงอํานาจในบา้ นเมืองโดยสมบูรณ์ การทาํ นุบาํ รงุ บา้ นเมือง
การปกครอง พ.ศ. 2446 มพี ระราชบัญญัติ ลักษณะเกณฑท์ หารการ ปกครองฝ่ายทหาร และพลเรือน จงึ แยกจากกันโดยสาเหตุ 1. กรมต่างๆ ทํางานไม่เทา่ กัน 2. เกิดมีชอ่ งทางทจุ ริตให้พนกั งานในกรมบางกรม 3. อํานาจของเสนาบดีแต่ละกรม เลื่อนไปจากเดมิ 4. หนา้ ทฝ่ี า่ ยกรมตา่ งๆ ทางทหารและพลเรอื นปนกันยุ่งมาก 5. เสนาบดมี เี กียรติไม่เสมอกัน เพราะงานเปน็ ตน้ เหตุ
ประกอบกับพระองค์ไดร้ บั รายงานแบบแผนการจัดคณะเสนาบดี จาก สมเด็จกรมพระยาเทววงศโ์ รปการ ซ่งึ ขณะน้นั ยงั อยทู่ ี่ยโุ รปพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว ทรงกาํ หนดให้คณะเสนาบดีจัดเปน็ กระทรวงเดิม มี 12 กระทรวง แกไ้ ขจนเหลอื 10 กระทรวง คือ 1. กระทรวงมหาดไทย 2. กระทรวงกลาโหม 3. กระทรวงการตา่ งประเทศ 4. กระทรวงนครบาล 5. กระทรวงวงั
6. กระทรวงพระคลงั มหาสมบตั ิ 7. กระทรวงเกษตรพานิชการ 8. กระทรวงธรรมการ 9. กระทรวงโยธาธิการ 10. กระทรวงยตุ ธิ รรม การบรหิ ารงานสว่ นภมู ภิ าค
การปกครองมณฑลไดว้ างระเบียบการปกครองแบบลกั ษณะเทศาเทศาภิบาลขน้ึ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2437 - 2439 มณฑลทัง้ 6 น้ี จึงเปล่ียนแปลงไปตามลกั ษณะมณฑลเทศาภบิ าลดว้ ยการปกครองแบบน้ี มผี บู้ ัญชาการมณฑลเป็นผู้บรหิ ารงานในมณฑลนัน้ ๆ ตามนโยบายของเสนาบดี ตําแหน่งหน้าทีร่ าชการ มีการใหเ้ งนิ เดือนสร้างบ้านพกั หลวง ใหอ้ ยอู่ าศัย งดการกนิ เมืองแบบเกา่ ๆ การเลกิ ทาส พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงเหน็ ว่าทาสมักจะถกู นายเงินกดขขี่ ่มเหง ต้องทาํ งานอาบเหง่อื ต่างน้าํ ทาสบางคนท่ไี มท่ าํ ตามคาั ส่งั จะถกู ลงโทษอย่างทารณุ ถึงเลือดตกยางออก แม้จะทาํ
ผดิ เพยี งเลก็ ๆนอ้ ยๆ พระองคท์ รงพระเมตตาตอ่ มนุษย์ ด้วยทรงเห็นว่าไม่ยุติธรรม ยังทรงมพี ระราชดาํ รดิ ้วยวา่ การมีทาสเป็นเครื่องถว่ งความเจริญของชาตกิ ารเลิกทาส พระพทุ ธเจา้ หลวงทรงเหน็ วา่ ควรลดจาํ นวนทาสลงจึงทรงตราพระราชบญั ญตั ลิ ดทาส เมอื่ พ.ศ. 2411 จนกระท่งั พ.ศ. 2448 จงึ มีพระราชบัญญัตเิ ลกิ ทาส ทาสท่ีปรากฎในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวมีอยู่ 7 พวกคือ1. ทาสสินไถ่ คือ ทาสทข่ี ายตงั เองหรือถกู คนอื่นขายให้แก่นายเงิน ต้อง ทํางานจนกว่าจะหาเงินมาใช้แทนเงินราคาขาย จึงจะหลดุ เป็นไท2. ทาสในเรอื นเบ้ีย คือ ลูกทาสทเี่ กิดจากพ่อแม่ในขณะเป็นทาสนายเงนิ อยู่ ลูกทอี่ อกมาก็ตกเป็นทาสไปด้วย
3. ทาสได้มาแต่บดิ ามารดร คือ ลูกทาสทีเ่ กดิ จากพอ่ หรอื แมท่ เี่ ปน็ ทาส 4. ทาสทา่ นให้ คอื ทาสของคนอื่นทยี่ กใหก้ บั อกี บคุ คลหน่งึ ซงึ่ มีคา่ เหมอื นยกสิง่ ของเปลยี่ นมือกัน5. ทาสท่ชี ว่ ยมาจากโทษทัณฑ์ คอื ทาสที่ถกู คดีความ พอชว่ ยให้พน้ โทษ แล้วกเ็ อามาใช้เป็นทาส 6. ทาสท่เี ล้ียงไว้เม่อื เกดิ ทพุ ภิกขภยั คอื ทาสท่ไี ด้มาจากคนที่ถกู ภยั ธรรมชาตหิ มดตวั ไม่สามารถเล้ียงตัวเองได้ ยามขา้ วยากหมากแพง7. ทาสเชลย คือ ทาสทีแ่ ม่ทัพนายกองไดม้ าจากสว่ นแบ่งเชลยจากการ ออกรบสงคราม
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ทรงดาํ เนินนโยบายดว้ ยพระ ปรีชาญาณอย่างสุขุมรอบคอบ ทรงดาํ เนนิ งานเพอ่ื เลิกทาสดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ ตง้ั แต่ พ.ศ. 2417 ถงึ พ.ศ. 2448 ทรงเลกิ ทาสแต่ละจําพวก ดว้ ยวิธกี ารตา่ งๆคอื ทาสเชลย ได้รับการปลดปลอ่ ยให้เปน็ อิสระได้เมอื่ มี อายุ 60 ปี ทาสนํา้ เงิน ให้หมดค่าตวั เมอ่ื อายุ 60 ปี เช่นเดียวกับ ทาสเชลย เม่ือคราวเฉลิมพระชนมพรรษาเม่อื พ.ศ. 2420พระองคท์ รงมีพระชนม์ได้ 24 ชนั ษา ซงึ่ นับจาํ นวนวันได้ 8.766 วัน (
ปลี ะ 365 วัน 24 คร้งั กบั วันที่ 29 กุมภาพนั ธ์ อกี 6 ครั้ง ) ทรงบริจาคพระราชทรพั ยจ์ ํานวน 8.767 บาท ไถถ่ อนทาสได้ 44 คน ทาสทง้ั 44 คน ทีไ่ ดร้ บั การไถ่ถอนนั้น ทรงกําหนดใหเ้ ปน็ พวกท่ีอยูก่ ับนายเงนิรายเดียวมาไมต่ ่ํากวา่ 25 ปี เพราะทรงพระราชดําริวา่ \" พวกเขาคงเป็น คนดมี ากกวา่ คนช่ัว นายเงินคนเดิมจงึ ยังคงเก็บตวั พวกเขาไว้เปน้ สมบตั ิ ของตนไมข่ ายต่อใหพ้ ้นๆไปเสีย\" พ.ศ. 2417 ได้ออกพระราชบญั ญัติลกู ทาส หญงิ ชายเกดิ ต้งั แต่ ปีมะโรงอายุ 21 ปี ใหห้ ลุดเป็นไทแกต่ น ลกู ทพ่ี ่อแม่จะขายให้ ไปเปน็ ทาสต้องมีอายไุ ม่ตา่ํ กวา่ 15 ปี และลกู ตอ้ งยินยอมตาม กรมธรรม์ด้วย พ.ศ. 2448 ออกพระราชบญั ญตั เิ ลกิ ทาสทั่วราชอาณาจักร ห้ามการซอ้ื ขายทาส และบรรดาลกู ทาสก็ให้ปลดปล่อย เปน็ ไทใหห้ มด พวกทีเ่ ปน็ ทาสเกา่ ใหล้ ดค่าตัวลงเดือนละ 4 บาท จน หมดคา่ ตัว
การออกกฎหมาย ไดอ้ าศัยพวกลกู ขุนชว่ ยเหลือพวกลูกขุน มี 2 พวก คือ 1. ลูกขุน ณ ศาลาไดแ้ กพ่ วกขา้ ราชการและเสนาบดี2. ลกู ขุน ณ ศาลหลวงได้แก่ ผพู้ ิพากษาคดี มาเลิกใชใ้ น พ.ศ. 2416หลังจากท่พี ระองค์ทรงกลับจากประพาสอินเดยี พระองค์ได้นาํ เอาแบบการมสี ภาของอนิ เดยี มาใช้ พ.ศ. 2417 จงึ โปรดใหต้ ้ังมนตรสี ภาขึน้ สอง สภา คือ รฐั มนตรีสภา กบั องคมนตรสี ภา
การแกไ้ ขขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ท่ีสาํ คญั คือการตัดผมชาย ให้ใชแ้ บบสากลเลิกทรงผมมหาดไทย หญิงไวผ้ มยาว เคร่ืองแบบทหารก็เปลย่ี นแบบฝรง่ั เครอ่ื งแบบ ข้าราชการพลเรอื นเต็มยศ ใชเ้ ส้อื แพรสกี รมท่าปกั ทองมขี อบคอและขอบข้อมือ สว่ นเวลาปรกติใชเ้ ส้อื ปิดคอ มีผ้าผกู คออย่างฝร่งั ผา้ นุ่งใช้ผา้ ม่วงทง้ั ฝ่ายทหารและพลเรือน ต่อมาภายหลัง เสอ้ื ใหใ้ ช้เปลยี่ นเป็น เสื้อคอปิด นิยมใช้กันอย่างแพรห่ ลายมาจนถงึ พ.ศ. 2475 การทหาร พระองคไ์ ดท้ างเร่งรดั การปฎริ ูปทางการทหาร ให้ทนั สมยั เลียนแบบยโุ รปไดส้ ง่ ราชโอรสไปศกึ ษาวชิ าทหาร ณ ยุโรป ปรบั ปรุง ยุทธวิธที างทหาร ยบุ ตัง้ กรมกองตา่ งๆ เพิ่มขน้ึ รวม 9 กรม กรม ทหารบก 7 กรมทหารเรอื 2 กรม
พ.ศ. 2430 ได้ตราพระราชบัญญตั ิ ทหารขึ้นรวมกรมทหารเรอื เปน็ กรมยทุ ธนาธิการตงั้ โรงเรยี นนายร้อยทหารบกขึน้พ.ศ. 2345 ตั้งกระทรวงกลาโหม มีหนา้ ทีบ่ ัญชาการรบทางทหารทั่วไป การสงคราม ปราบฮอ่ คร้งั ที่ 1 ฮอ่ คือพวกจีนกบฎไทเผ็งของจีน การปราบฮ่อครั้งท่ี 1 เรมิ่ เมื่อ พ.ศ. 2418 ได้โปรดให้พระยามหาอาํ มาตย์เป้นทพั ท่ี 1เจา้ พระยาพชิ ัยเปน็ ทัพที่ 2 เจ้าพระยาภูธรภยั เป็นทัพท่ี 3 ตพี วกฮ่อแตก หนไี ปจากชายแดนไทย
ปราบฮ่อครงั้ ท่ี 2 เมื่อ พ.ศ. 2421 โปรดให้กองทพั เมืองทางเหนือไปกอ่ นภายหลงั ให้เจา้ พระยาศรีธรรมมาธริ าช ซง่ึ ในขณะนัน้ เป็นพระยาวัชรานกุ ลู เปน็ ทพั หนนุ แต่ปราบพวกฮ่อไมส่ ําเรจ็ เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราชถกู กระสนุ ปืนของพวกฮอ่ ต้องถอยทพั กลับคนื ปราบฮอ่ คร้งั ที่ 3 เม่ือ พ.ศ. 2428 โปรดใหก้ รมหลวงประจกั ษ์ศลิ ปาคมซ่ึงขณะน้นั ยังเปน็ กรมหม่ืนทัพที่ 1 เจา้ พระยาสุรศกั ดมิ์ นตรีซง่ึ ขณะน้นั เป็น
หมน่ื ไวยยวรนารถ เป็นแมท่ พั ยกไปทางเมืองหลวงพระบางเปน้ ทพั ท่ี 2 การรบคร้งั นี้ พวกฮอ่ ออ่ นน้อมตอ่ ไทย ปราบฮอ่ ครง้ั ที่ 4พวกฮอ่ เผาเมอื งหลวงพระบาง ได้โปรดให้เจ้าพระยาสรุ ศกั ดิม์ นตรียก กองทพั ไปปราบจนพวกฮ่อแตกหนีไป การเสียแวน่ แคว้นลาวแก่ฝรั่งเศส หลงั จากปราบฮ่อแล้วฝรง่ั เศสได้ส่งทหารเขา้ ยดึ หัวเมอื งสบิ สองจุไทย และหัวพันท้งั ห้าทัง้ หก ไทยจะเจรจาอย่างไร ฝร่งั เศสกไ็ ม่
ยอมถอนทหารออกไป ผลทสี่ ดุ ไทยกต็ อ้ งยอมยกให้ฝ่ังเศสไปโดย ปรยิ ายและเปลีย่ นชอื่ ใหมเ่ ป็น \"เดียนเบียนฟ\"ู พ.ศ. 2435 ฝรัง่ เศส พยายามเรยี กร้องเอาดินแดน ทางฝั่งซา้ ยของแม่นํ้าโขงจากไทย แตไ่ ทยไม่ยอมให้ฝร่ังเศส ฝร่งั เศสได้รวบรวมเอาทหารญวนบกุ รกุ เข้ามาในเขตแดนฝ่ังซา้ ยแมน่ ้าํ โขงของไทย แต่ไทยไมย่ อมในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 ฝรัง่ เศสได้สง่ เรือรบมาปิดปากอา่ ว และส่งทหารเข้ายดึ เกาะสีชงั ไทยมกี าํ ลังไม่พอจึงยอมปฎบิ ัติ ตามคาํ เรยี กรอ้ งของฝรัง่ เศส พ.ศ. 2449 ไทยต้องทาํ สญั ญาอกี ฉบบั ยกเขมรส่วน ในมเี มอื งพระตะบอง เสียมราฐ และศรโี สภณใหฝ้ รั่งเศสเพ่ือแลกกับ เมอื งตราด และเกาะทง้ั หลาย ซ่ึงอยใู่ ตแ้ หลมสิงห์ลงไปจนจดเกาะกูด
พ.ศ. 2452 อังกฤษเรม่ิ เข้ามารุกรานไทยเพราะองั กฤษเหน็ ฝรัง่ เศสบบี ไทยได้อังกฤษจึงทาํ บ้าง ซง่ึ ครั้งนไี้ ทยตอ้ งเสยี กลนั ตัน ตรังกานู ปลสิ และเกาะใกล้เคยี งให้กลบั อังกฤษพ.ศ. 2434 พระเจ้าชาร์ นิโคลาส ท่ี 2 แหง่ ประเทศรัสเซียได้เสด็จมา ประพาสประเทศไทย เป็นการต้อนรับทเ่ี ตม็ ไปด้วยไมตรี พ.ศ. 2440 พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้า พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ไดเ้ สด็จประพาสยุโรปเป็นคร้งั แรก ศาสนา พ.ศ. 2431 พระองคไ์ ด้ทรงอาราธนา พระราชาคณะใหม้ าช่วยชําระ คัมภีรพ์ ระไตรปฎิ กให้เปน็ ที่เรยี บรอ้ ย
พ.ศ. 2441 ทเ่ี มอื งกบิลพสั ด์ุ ได้มีผพู้ บพระอฐั ธิ าตุของพระพุทธเจา้ อปุ ราชอินเดยี มาควสิ เตอรซ์ นั ไดจ้ ัดชิงพระบรมสารีริกธาตมุ าถวายพ.ศ. 2445 โปรดใหต้ ราพระราชบัญญตั ิ ลกั ษณะปกครอง คณะสงฆ์เพ่ือทจ่ี ะไดจ้ ัดสงั ฆมณฑลใหเ้ ปน็ ท่ีเรยี บร้อย แบง่ คณะมหาเถระสมาคมออกเป็น 4 คณะใหญ่ดว้ ยกนั คือ คณะกลาง คณะเหนือ คณะใต้ และ คณะธรรมยุตกิ นกิ าย พ.ศ. 2435 จัดตง้ั ระเบยี บการศึกษาพระศาสนาใหม้ สี นามสอบไล่ พระปริยตั ิธรรม ได้โปรดใหต้ ง้ั กระทรวงธรรมการขน้ึ เพอื่ ควบคมุ โปรดใหส้ รา้ งวัดตา่ งๆขึน้ มาหลายวัด เช่น วดั เทพศริ ินท ราวาส วดั เบญจมบพติ ร วกั ราชบพิธ วดั จฑุ าธรรม วดั นิเวศน์ธรรมประวตั ิ ทรงจําลองพระพุทธชนิ ราชมาจากพษิ ณุโลก มาประดิษฐานเป็น พระประธานอยู่ท่วี ดั เบญจมบพติ ร รวบรวมพระพุทธร)ู ท่ตี กค้างมา ประดษิ ฐไว้นอบระเบยี งวัดเบญจมบพิตร ตง้ั มหาธาตวุ ทิ ยาลยั
การศกึ ษาโปรดใหต้ ง้ั โรงเรียนหลวงขนึ้ ในพระบรมมหาราชวัง และได้โปรดใหพ้ ระยา ศรสี นุ ทรโวหาร ( นอ้ ย ) เป็นอาจารยใ์ หญ่พ.ศ. 2424 โปรดใหจ้ ดั ตงั้ โรงเรยี นฝึกหดั ผู้ที่ตอ่ ไปจะทาํ หนา้ ทีน่ ายร้อย นายสิบ พ.ศ. 2425 จดั ต้งั โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก พ.ศ. 2430 จัดตัง้ กรมศึกษาธิการ พ.ศ. 2435 โปรดให้ต้ังกระทรวงกรรมการ เป็นกระทรวงเสนาบดีและตั้งโรงเรยี นฝกึ หดั ครูขน้ึ เป็นแหง่ แรกท่ีโรงเรียนเบญจมราชทู ศิ เดี๋ยวนี้ โดยมคี รูเปน็ ชาวอังกฤษ
พ.ศ. 2439 โปรดให้มีการสอบคดั เลือกนกั เรียนสง่ ไปเรียนตอ่ ต่างประเทศ 6 คน พ.ศ. 2440 ให้มกี ารสอบชงิ ทนุ ขนึ้ เปน็ ครง้ั แรกพ.ศ. 2444 ตราพระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยกรรมสทิ ธข์ิ องผูแ้ ต่งหนงั สอื ออกประกาศใช้บงั คับ พ.ศ. 2445 สง่ ข้าหลวงไปดงู านการศึกษาทปี่ ระเทศญปี่ ุ่นพ.ศ. 2447 ได้โปรดให้รวมหอสมุดวชริ ญาณ หอพระมณเฑยี รธรรม หรอื หอพระพทุ ธสังคหะ รวมกันตั้งเป็นหอสมุดแห่งชาติ สวรรคต พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ครองราช สมบตั นิ านถงึ 42 ปี เสด็จส่สู วรรคตเมื่อวนั ท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 ( ตรงกับวันอาทิตย์ ) พระองคท์ รงมีพระสมมญั นามอกี สอง
อย่างคือ พระพทุ ธเจา้ หลวง และพระปยิ ะมหาราช มพี ระราชโอรสและ พระราชธดิ ารวม 77 พระองค์ ประสตู กิ ่อนราชาภเิ ษก 2 พระองค์หลงั ราชาภิเษกแลว้ 75 พระองค์ เม่อื หลงั จากสวรรคตแลว้ พระราช โอรสพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั พระยุพราชได้ชักชวน ประชาชนร่วมกันบริจาคสรา้ งพระบรมรปู ทรงมา้ ไว้เพื่อเป็นอนสุ าวรยี ์ พระราชลญั จกรประจํารัชกาลที่ ๕ เป็นรูปพระจลุ มงกุฎเปล่งรัศมี บนพานแว่นฟา้ เป็นสญั ลักษณ์ของ พระบรมนามาภิไธย \"จุฬาลงกรณ์\" มฉี ัตรตั้งขนาบข้างริมขอบสองข้าง มีแว่นสุรยิ กานตข์ า้ งหน่ึง กบั สมดุ ตําราขา้ งหนงึ่ วางอยู่ บนพานแว่นฟ้า
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: