จดั ทำโดย 1.นายนพรจุ สอนใหม่ ม.5/4 เลขท่ี 6 2.นายเจษฎา พิทักษวาณิชย์ ม.5/4 เลขท่ี 8 3.นายอำพัน เพรชนนิ จนิ ดา ม.5/4 เลขที่ 4.นายสิรวชิ ญ์ จนั ทร์เสถยี ร ม.5/4 เลขท่ี 27 5.นายปิยวัฒน์ นลิ กลาง ม.5/4 เลขที่ 32 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนราชสมี าวิทยาลยั
รายงานเลม่ น้ีเป็นสว่ นหน่ึงของรายวิชาภาษาไทยท่จี ดั ทำข้นึ มาเพอ่ื ศกึ ษา เก่ยี วกับความเช่อื ในวรรณคดีไทย เพื่อเปน็ ประโยชน์แก่การศกึ ษาต่อไป ซึง่ ใน รายงานเลม่ นี้จะกลา่ วถงึ ความเช่อื ทอ่ี ยู่ในวรรณคดที ม่ี ีอย่ใู นทกุ ภมู ิภาคของไทยท่ี สะท้อนวถิ ีชีวติ ของสังคมในสมยั น้นั ทั้งนที้ างขณะผู้จดั ทำขอขอบคุณผู้ให้ขอ้ มลู และสอ่ื รปู ภาพประกอบรายงานมา ณ ที่น้ีดว้ ย คณะผู้จัดทำ
บท ๔ นำ ๕ อิทธิพลท่ีมีผล ต่อควำมเชื่อ ตัวอย่างความเชื่อใน ๖ วรรณคดี
ความเชื่อ หมายถึง ความคดิ ความเขา้ ใจและการยอมรับ นับถอื เช่อื มนั่ ในส่งิ หนง่ึ สงิ่ ใดโดยไมต่ ้องมเี หตุผลใดมาสนับสนุนหรอื พิสูจน์ ไมว่ า่ จะเปน็ ความเช่ือเรอื่ งผสี าง หรอื เทวดา หรอื เรอื่ งปรากฏการทางธรรมชาติกเ็ ช่นกัน ซ่ึงในวรรณคดขี องไทยเองก็ปรากฏ ความเชือ่ เหลา่ น้ีมามากมาย เช่น ความเชื่อเรื่องเวทมนต์คาถาในเรอ่ื งขนุ ช้างขุนแผน หรอื ความเช่อื เรอื่ งการเกดิ ฟ้าผ่าเกดิ จากยักษร์ ามสรู ปาขวานลงมาบนพนื้ โลก เปน็ ต้น โดยความ เชอื่ เหลา่ นี้จะบง่ บอกถงึ สังคมและวัฒนธรรมของผู้คนในยคุ น้นั ๆทเ่ี ปน็ ส่งิ ท่เี ราควรจะศึกษา
ความเชอ่ื เกีย่ วกบั พระพทุ ธศาสนา ความเชือ่ เรื่องไสยศาสตร์ ความเชอ่ื เรือ่ งความฝนั ความเชอ่ื เรือ่ งสตั ว์บอกเหตุ เขมน่ ตาบอกเหตุ การแต่งกายประจำวัน ความเชือ่ เรอ่ื งผีสาง เทวดา
ความเช่ือเก่ยี วกับพระพทุ ธศาสนา เช่น • ความเชือ่ เรือ่ งกรรม ฉนั ใด พระเอย ถึงกรรมจักอยู่ได้ ฆา่ ข้า กรรมบ่มมี ใี คร ถึงท่ี สขุ นา กศุ ลส่งสนองไป ช่วยไดฉ้ นั ใด (ลิลติ พระลอ) บาปสง่ จำตกช้า • ความเช่ือเร่อื ง บุญ บาป สง่ิ ใดในโลกล้วน อนิจจงั คงแต่บาปบญุ ยัง เทีย่ งแท้ คือเงาตดิ ตวั ตรัง ตรงึ แนน่ อยู่นา ตามแตบ่ ุญบาปแล กอ่ เก้อื รักษา (ลลิ ิตพระลอ)
ความเชือ่ เรอื่ งไสยศาสตร์ เชน่ • คาถาอาคม เจา้ อตุ ส่าห์ศกึ ษาวิชาการ เขียนอ่านท่องไดแ้ ล้วไต่ถาม ตำรบั ใหญ่พิชัยสงคราม สรู ยจ์ ันทรฤ์ กษ์ยามกร็ อบรู้ อยู่ยงคงกระพนั ลอ่ งหน ภาพยนตร์ผกู ใชใ้ ห้ต่อสู้ รกั ทัง้ เรียนเสกเป่าเป็นเจา้ ชู้ ผกู จติ รหญิงอยไู่ ม่เคลอ่ื นคลาย ทา่ นขรวั หัวร่อวา่ ออแก้ว เรอ่ื งเจ้าชรู้ ู้แลว้ ตอ้ งมัน่ หมาย เมยี ของเขาเจ้าอยา่ ได้ทำร้าย สาวแก่แมห่ มา้ ยเอาเถดิ วา กจู ะใหว้ ชิ าสารพัด ใหช้ ะงดั เวทมนตรพ์ ระคาถา ท่วงทีเอง็ จะดีดงั จินดา แลว้ คายชานหมากมาให้เณรกนิ เณรแก้วรับแล้วกนิ ชานหมาก ขรวั ต่อยดว้ ยสากแทบหวั บิน่ ไมแ่ ตกไม่บบุ ดังทบุ หนิ ทา่ นขรวั หัวเราะด้นิ คากๆ ไป (ขนุ ช้างขนุ แผน)
ความเช่อื เรอ่ื งความฝัน มักจะเปน็ ความฝนั เพ่อื บอกเหตทุ ก่ี ำลังจะเกดิ ขึน้ สามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ 1.ฝนั ดี เชน่ นางศรีประจันฝันว่าได้แหวน ตอ่ มาก็ต้งั ครรภ์ พอคลอดลกู ออกมาเปน็ หญิงกต็ ้งั ช่ือวา่ พมิ พิลาไลย “ว่าพระพษิ ณกุ รรมเ์ หาะดนั้ ฟ้า ถือแหวนประดบั มาสวมน้วิ นาง” 2.ฝันรา้ ย เช่น นางวันทองฝันว่าถกู เสือลากเข้าไปในป่า ตอ่ มานางกถ็ กู ตดั สินประหารชีวติ “ฝนั ว่าพลดั ไปในไพรเถื่อน เลือ่ นเปือ้ นไมร่ ้ทู ่จี ะกลับหลงั ลดเลยี้ วเทย่ี วหลงในดงรัง ยงั มพี ยัคฆร์ ้ายมาราวี ทั้งสองมองหมอบอยู่รมิ ทาง พอนางด้ันปา่ มาถึงท่ี โดดตะครบุ คาบค้ันในทนั ที แลว้ ฉุดคร่าพารีไ่ ปในไพร
ความเชื่อเรอ่ื งสัตวบ์ อกเหตุ หวีดผวากอดผวั สะอ้นื ไห้ ประหลาดใจนอ้ งฝันพร่ันอรุ า “สนิ้ ฝันครั้นตน่ื ตกประหม่า แมงมมุ ท่มุ อกท่รี มิ ฝา เลา่ ความบอกผวั ดว้ ยกลวั ภัย ดงั วิญญานางจะพรากไปจากกาย ใต้เตยี งเสียงหนกู ก็ ุกกก ยง่ิ หวาดหว่ันพร่นั ตวั กลวั มรณา ฟังความตามนิมติ ก็ใจหาย ครานั้นขุนแผนแสนสนทิ ฝนั รา้ ยสาหัสตดั ตำรา” ครั้งนนี้ า่ จะมอี นั ตราย แมงมมุ ท่มุ อก หมายถงึ ท่มุ อกคือตีอกเชอื่ กันว่าเมอ่ื แมงมมุ ตีอกของมันจะเป็นลางร้ายอย่างหนง่ึ เงอื้ ดาบจะฟาดให้ขาดกลาง พอจง้ิ จกทกั ขวางไมห่ างที่ เง้อื งดอดใจไม่ฆ่าตี เคราะห์ดแี ล้วมงึ จึงจะรอดตัว เขมน่ ตาบอกเหตุ เช่น หลังตาขวามีผู้ใหล้ าภ หลังตาซ้ายผูห้ ญิงกล่าวถงึ ก่งึ กลางตาจะมีคนมาสู่ ตาซ้ายเบือ้ งตำ่ เขาจะหาความเอา จมูกจะมคี นหาความเอาไม่ดี หูขวาจะไดย้ นิ ข่าวรา้ ยมาบอก หูซา้ ยดจี ะได้ลาภ คอขา้ งขวาจะมลี ูกชายอนั พึงใจ คอขา้ งซ้ายจะมีลกู หญิงอันพงึ ใจ จะรักข้าวของนักนา รกั แรข้ า้ งซ้ายจะไดล้ าภ รกั แรข้ า้ งขวาความจะมาถงึ หวั ใจเขาจะทำโทษ หลงั ตาจะไดเ้ ปน็ นอ้ ยกว่าท่าน ปากขวาจะมลี าภ ปากลา่ งจะมที ุกข์เพราะญาติ การแต่งกายประจำวัน เช่น
วนั อาทติ ยส์ ทิ ธิโชคโฉลกดี เอาเครอ่ื งสแี ดงแรงเปน็ มงคล วนั จันทร์น้ันควรสีนวลขาว จะยืนยาวชนั ษาสถาผล อังคารม่วงช่วงงามสคี รามปน เปน็ มงคลขัตยิ าไม่ราคี วันพุธสดุ ดีด้วยสีแสด กบั เหลอื งแปดปนประดับสลับสี วันพฤหัสบดีจัดเคร่อื งเขียวเหลืองดี วนั เสารท์ รงดำจึงล้ำเลศิ วันศุกร์เมฆหมอกออกสงคราม ทัง้ พาชีขข่ี บั ประดับงาม แสนประเสรฐิ เส้ยี นศกึ จะนึกขาม ใหต้ อ้ งตามสีสันจึงกนั ภัย ความเช่อื เรือ่ งผสี าง เทวดา เช่น ปู่รำพึงถึงเทพดา หากันมาแต่ป่า มาแตท่ ่าแต่น้ำ มาแตถ่ ำ้ คูหา ทุกทศิ มานง่ั เฝ้าพระปู่ เจ้าทุก ตำบล ตนบรพิ ารทุกหมู่ ตรวจตราอย่ทู ุกแหง่ ปู่ แต่งพระพนสั บดี ศรีพรหมรักษ์ ยกั ษ์กมุ าร บรพิ าร ภตู ปีศาจ ดาเดยี รดาษมหิมา นายกคนแลคน ตนเทพยผู้หา้ วทา้ วผหู้ าญเรอื งฤทธ์ิชาญเหลอื หลาย ตงั้ เปนนายเปนมลุ ตวั ขุนให้ขี่ชา้ ง บ้างขี่เสือข่สี หี ์ บ้างขห่ี มขี ีห่ มูบา้ งข่งี ู่ขี่เงือก ขี่มา้ เผอื กผันผาย บา้ ง ขี่ควายขี่แรด แผดรอ้ งกอ้ งน่ากลัว ภูตแปรตัวหลายหลากแปรเปนกากภาษา เปนหวั กาหวั แรง้ แสร้งเปนหวั เสือหัวชา้ ง เปนหวั กวางหัวฉมนั ตวั ตา่ งกันพนั ลึก ลคึกกมุ อาวุธ เครอ่ื งจะยทุ ธยงยงิ่ เตน้ โลดวง่ิ ระเบง คกุ เครงเสียงคะคร้ืน ฟน้ื ไม้ไหล้หนิ ผา ดาษดากนั ผาดเผง้ รเร้งรอ้ งก้องกเู่ กรียง เสยี งสเทือนธรณี เทียบพลผีเสร็จสรรพ ปกู่ ็บงั คับทุกประการ จ่ึงบอกสารอันจะใช้ ให้ทงั้ ยามนตร์ ดล บอกทั้งกลอันจะทำ ใหย้ ายำเขาเผอื ด มนตราเหือดหายศกั ด์ิ ให้อารกั ษเ์ ขาหนี ผีเขาแพ้แลว้ ไส้ กจู ึงจะใช้สลาเหริ เดริ เวหาไปสู่ เชญิ พระภธู รท้าว ชักมาสูส่ องหย้าว อยา่ คล้าวคำกู ส่ังน้ี (ลลิ ิต พระลอ) ตวั อย่างของวรรณคดีท่ีมคี วามเชอ่ื ตามอิทธพิ ล
ลลิ ติ พระลอ เป็นลลิ ิตโศกนาฏกรรมความรกั ทแี่ ต่งขน้ึ อย่างประณตี งดงาม มีความไพเราะของ ถ้อยคำ และเต็มไปดว้ ยสนุ ทรียศาสตร์ พรรณนาเรอ่ื งดว้ ยอารมณ์ท่ีหลากหลาย ใช้กวโี วหารอยา่ ง ยอดเยี่ยม ในการบรรยายเน้ือเร่อื ง ทีม่ ฉี ากอยา่ งมากมาย หลากหลายอารมณ์ โดยมีแกน่ เร่ืองแบบ รกั โศก หรือโศกนาฏกรรม และแฝงแงค่ ิดถึงสัจธรรมของชีวติ คำประพนั ธ์ในเรอื่ งลิลิตพระลอ เปน็ ลิลิตสภุ าพ ประกอบด้วย ร่ายสภุ าพ, รา่ ยสอดสรอ้ ย, โคลง สองสภุ าพ, โคลงสามสุภาพ และ โคลงสี่สภุ าพ สลบั กันตามจังหวะ ลีลา และเน้ือหาของเรอ่ื ง ลลิ ิตพระลอ กวี : ไม่ทราบ ประเภท : นยิ าย คำประพนั ธ์ : ลลิ ติ สภุ าพ ความยาว : 660 บท สมัย : กรงุ ศรีอยธุ ยา ปีทีแ่ ต่ง : ไม่ทราบ ช่อื อน่ื : ไมท่ ราบ ขุนช้างขนุ แผน เสภาเรือ่ งขุนช้างขนุ แผน เปน็ นิทานมหากาพย์พืน้ บ้านของไทย เคา้ เรื่องขนุ ช้าง ขนุ แผนนส้ี นั นษิ ฐานวา่ เคยเกิดข้ึนจรงิ ในสมัยกรงุ ศรีอยุธยา แล้วมีผ้จู ดจำเลา่ สืบต่อกันมา เนอื่ งจาก
เร่ืองราวของขุนชา้ งขุนแผนมีปรากฏในหนงั สือคำใหก้ ารชาวกรุงเก่า แต่มีการดดั แปลงเพิ่มเตมิ จน มลี ักษณะคลา้ ยนิทานเพ่อื ใหเ้ น้ือเร่อื งสนุกสนานชวนติดตามยิง่ ขึน้ รายละเอยี ดในการดำเนนิ เรอื่ ง ยงั สะทอ้ นภาพการดำเนินชวี ติ ขนบธรรมเนยี มประเพณีและวัฒนธรรมของชาวสยามในครงั้ อดีตได้ อย่างชดั เจน เรอ่ื งขนุ ชา้ งขนุ แผนน้ี ถูกสนั นษิ ฐานวา่ เป็นการแต่งขนึ้ รอ้ งแบบมุขปาฐะ (ปากต่อปาก) เพื่อความ บันเทิงโดยคงจะเรม่ิ แต่งตัง้ แตร่ าวอยธุ ยาตอนกลาง (ราว พ.ศ. 2143) และมกี ารเพมิ่ เตมิ หรือตดั ทอนเรือ่ ยมา จนมีรายละเอยี ดและความยาวอย่างท่ีสบื ทอดกันอยใู่ นสมัยอยธุ ยาตอนปลาย แต่ ไม่ได้ถูกบันทึกลงไวเ้ ป็นกจิ ลักษณะ เน่อื งจากบุคคลช้ันสูงสมยั นัน้ เหน็ ว่าเปน็ กลอนชาวบ้าน ทมี่ ี เน้ือหาบางตอนหยาบโลน และไม่มกี ารใช้ฉันทลักษณอ์ ยา่ งวจิ ติ ร สำหรับเน้อื หาของขนุ ช้างขุนแผนในปัจจุบนั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ได้โปรดเกล้า ฯ ให้กวีในรชั สมยั ของพระองค์ ตลอดจนพระองค์เองรว่ มกันแตง่ และทรงพระราชนิพนธ์ขีน้ เป็น วรรณคดีท่ีมีคา่ ทงั้ ในดา้ นความไพเราะและในลีลาการแตง่ ตลอดจนเค้าโครงเร่อื ง ขุนช้างขุนแผน
กวี : ไมท่ ราบ.... ประเภท : นทิ าน/ตำนาน คำ กลอนสุภาพ/กลอนแปด ประพนั ธ์ : ความยาว : สมัย : ราวอยธุ ยาตอนปลาย-รตั นโกสนิ ทร์ ตอนตน้ ปที ีแ่ ตง่ : ชื่ออ่ืน : การนำความเช่ือของวรรณคดไี ทยไปใช้ประโยชน์
ลลิ ิตพระลอ 1.ในดา้ นพระศาสนา ได้ใหแ้ งค่ ดิ ทางศาสนาอยา่ งเช่นความไมเ่ ทีย่ งแทแ้ นน่ อนของชวี ติ 2.ในด้านการปกครอง จะเห็นว่าการปกครองในสมยั น้ัน ตา่ งเมอื งตา่ งก็เป็นอิสระ เป็นใหญ่ ไม่ ขึ้นแกก่ ัน แตส่ ามารถมสี ัมพนั ธไมตรกี ันได้ 3.ในด้านประวัตศิ าสตร์ ลลิ ติ พระลอไดใ้ ห้ความรใู้ นทางประวตั ิศาสตรข์ องไทยได้ในแงม่ มุ ต่าง ๆ โดยเฉพาะทำให้รเู้ รอ่ื งราวความเปน็ มาของเมืองสรวงและเมืองสรองอันไดแ้ ก่ ลำปางและแพร่ 4.ในดา้ นวิถีชีวิต ไดม้ องเหน็ ถงึ ความเป็นอยูข่ องคนไทยสมัยนนั้ ท่ยี งั เชอื่ ในเรอ่ื งไสยศาสตรอ์ ยู่ มากมีการนับถือผีสางนางไม้ แม้ปัจจบุ ันกย็ ังมอี ยู่ ขนุ ชา้ งขุนแผน 1.ทางดา้ นวรรณศิลป์ ได้แก่การใชภ้ าษาคำเจรจา การใชภ้ าษาท่ีทำใหเ้ กิดภาพพจน์การใชค้ ำให้ เกดิ จินตภาพ การใช้ภาษาที่รวบรัดของกวี 2. คุณค่าทางดา้ นวัฒนธรรม จำแนกได้ดังน้ี 2.1ขนบธรรมเนยี มประเพณีและพิธีกรรม ได้แกก่ ารเกดิ การโกนจุก การบวชเรียน การแต่งงานการทำศพ ประเพณีการทำบุญในวัน สงกรานต์ ประเพณกี ารฟังเทศน์มหาชาติ ความเช่ือในเรอื่ งไสยศาสตร์ ความเชื่อในเรื่องความฝัน 2.2ความเป็นอยูค่ ่านิยม จำแนกเป็นลักษณะบา้ นเรือน ลักษณะครอบครัว การต้อนรบั หลกั ความ สามคั คี คุณค่าที่กล่าวมาเป็นหน้าทข่ี องทุกคนท่ตี ้องรักษาวรรณคดีใหท้ รงคุณค่าควรแก่การอนรุ ักษ์ ไวใ้ นฐานะเป็นตำราไทยคดีศกึ ษา เพราะประกอบด้วยความรู้ในทางอกั ษรศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ท้ังยงั คงความเปน็ เอกลกั ษณ์และวฒั นธรรมคกู่ ับชาตติ ลอดไป บรรณานุกรมหรือแหลง่ อา้ งอิง https://th.wikipedia.org/ https://www.museumthailand.com/
http://www.suphan.biz/ https://so02.tci-thaijo.org/ https://teen.mthai.com/ https://sites.google.com/
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: