Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คอมพิวเตอร์ ม.2

คอมพิวเตอร์ ม.2

Published by ComKuanchalik WatKuanchalik School, 2021-02-15 06:16:04

Description: เนื้อหา คอมพิวเตอร์ ม.2

Search

Read the Text Version

ก หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การสื่อสารข้อมูลและเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ (ง22102)

ก คานา ในการจดั ทาบทเรยี นสาเรจ็ รปู เร่อื ง การส่อื สารข้อมลู และเครือขา่ ย คอมพวิ เตอร์ ในครั้งน้ี เกดิ จากปัญหาในขณะจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในรายวชิ า การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 4 คอื นักเรียนไม่มเี อกสารทีใ่ ชใ้ นการเรียนเนื้อหาการสื่อสารและ เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ต้องคน้ คว้าหาความร้ใู นอนิ เทอรเ์ นต็ และจากการค้นคว้า ของนักเรยี นพบวา่ ข้อมลู ท่เี กย่ี วข้องมคี วามหลากหลายทาใหน้ ักเรยี นสับสน ไม่เขา้ ใจ เน้อื หาและนกั เรยี นต้องใช้เวลามากในการคน้ คว้า กรอบกบั เวลาท่ีใช้ในการจัดกิจกรรม มนี อ้ ยทาให้เรยี นไมท่ ัน และเรียนไมค่ รบในเนือ้ หาทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การสือ่ สารขอ้ มูลและ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จากสภาพปัญหาน้สี ่งผลตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียน ดงั น้ัน เพื่อเปน็ การแก้ปัญหาดงั กล่าว ผ้จู ดั ทาจึงได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกบั การสื่อสารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ และมาพัฒนาเปน็ บทเรียนสาเร็จรูป เพือ่ ใช้ประกอบการเรยี น สาหรบั นักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จานวน 7 เลม่ ดงั นี้ เล่มท่ี 1 เรยี นรเู้ ร่ืองการสือ่ สาร เล่มท่ี 2 หลกั การสื่อสารข้อมลู เล่มที่ 3 สื่อกลางในการรบั ส่งข้อมูล เล่มท่ี 4 ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เลม่ ที่ 5 โครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ เลม่ ที่ 6 อปุ กรณเ์ ครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เลม่ ท่ี 7 เทคโนโลยีการสอื่ สารและเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ในการจดั ทาบทเรยี นสาเร็จรปู ในครัง้ นี้ ผจู้ ัดทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ บทเรียน สาเร็จรูป เร่อื ง การส่อื สารขอ้ มลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จะเกดิ ประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ผู้เรียน สามารถทาใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ือง การสอ่ื สารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรท์ ่เี กิดจากการศึกษาบทเรียนสาเรจ็ รปู เล่มน้ี จรรยา ศรีมังคละ

ข สารบัญ คาชี้แจงในการใชบ้ ทเรยี นสาเร็จรปู สาหรบั ครู..................................................... 1 คาชี้แจงในการใช้บทเรียนสาเรจ็ รูปสาหรบั นกั เรียน............................................ 2 แผนภมู ขิ ัน้ ตอนการศึกษาบทเรียนสาเรจ็ รปู ....................................................... 3 มาตรฐานการเรยี นรู้............................................................................................ 4 ตวั ชี้วัด................................................................................................................ 4 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้......................................................................................... 4 สาระสาคัญ......................................................................................................... 5 แบบทดสอบก่อนเรยี น....................................................................................... . 6 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น................................................................................ 9 กรอบความรู้ที่ 1-7.............................................................................................. 10 สรปุ เน้อื หา...................................................................................... ................... 19 แบบฝกึ หัดทา้ ยบทเรียน..................................................................................... 21 เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบทเรียน............................................................................ 22 แบบทดสอบหลงั เรียน................................................................... .................... 23 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน............................................................................... 26 บรรณานุกรม..................................................................................................... 27

1 คาชแ้ี จงในการใชบ้ ทเรียนสาเรจ็ รปู สาหรับครู บทเรียนสาเรจ็ รปู เล่มน้ี เปน็ บทเรียนสาเร็จรูปเพอื่ เพิ่มประสิทธภิ าพในการเรยี น รายวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยี 4 รหัสวิชา ง 22102 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนโซพ่ สิ ยั พทิ ยาคม กอ่ นเขา้ สู่บทเรยี นครูควรคานึงถงึ เรอื่ งต่อไปน้ี 1. ใชบ้ ทเรยี นสาเร็จรูป ชุดนีร้ ว่ มกับแผนการจดั การเรียนรเู้ ร่ือง การส่อื สาร ขอ้ มูลและเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ รายวิชาการงานอาชพี และเทคโนโลยี 4 กล่มุ สาระ การเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 2. ใช้บทเรียนสาเรจ็ รปู ชดุ นเี้ พอื่ สง่ เสรมิ นกั เรียนท่ีเรียนดี และชว่ ยนกั เรยี นที่ เรียนช้าให้สามารถเรียนทันเพ่อื น หรอื ใช้เพื่อทบทวนบทเรียน 3. แจกบทเรียนสาเร็จรูปใหน้ ักเรยี นอา่ นวิธีการใชบ้ ทเรียนจนเขา้ ใจดแี ลว้ จงึ ให้ นักเรียนเริม่ ศึกษาบทเรยี นด้วยตนเอง 4. ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 5. ให้นกั เรียนศกึ ษาบทเรียนสาเร็จรปู ตั้งแต่กรอบที่ 1 จนถงึ กรอบสุดท้าย ท้ังเนอ้ื หา กิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียน 6. เมอื่ นกั เรียนศกึ ษาบทเรียนแต่ละเลม่ แลว้ ให้นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน ดว้ ย 7. ในแต่ละเลม่ ใช้เวลา 2 ช่วั โมง ศกึ ษาคาชี้แจงให้เขา้ ใจก่อนนะคะ

2 คาชแี้ จงในการใชบ้ ทเรียนสาเรจ็ รูปสาหรับนกั เรียน บทเรยี นสาเร็จรูป เร่ือง การสื่อสารข้อมลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เลม่ ท่ี 1 เรยี นรู้เรอื่ งการสื่อสาร รายวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 สรา้ งข้ึนเพอื่ ให้นักเรียน ได้ศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเองตามความสามารถของแตล่ ะบุคคล ดงั นัน้ ควรศกึ ษาคาแนะนา การใช้บทเรยี นให้เข้าใจก่อนไปศกึ ษาบทเรียน โดยมีขน้ั ตอนดงั น้ี 1. กอ่ นเริ่มศกึ ษาบทเรียน ควรศกึ ษาตัวชี้วดั และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระสาคัญใหเ้ ขา้ ใจ 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน โดยเขยี นคาตอบลงในสมดุ นักเรียน จากน้นั ตรวจคาตอบด้วยตนเอง 3. ศึกษากรอบเนอื้ หา และตอบคาถาม จากนนั้ ตรวจคาตอบดว้ ยตนเอง จากกรอบเฉลยในหน้าถดั ไป 4. ในการศึกษาบทเรียนสาเรจ็ รูป จะต้องตอ้ งศึกษากรอบเนอื้ หาตามลาดับ ควรศึกษาจนครบทกุ กรอบเนือ้ หา และหา้ มขา้ มกรอบใดกรอบหนึง่ ไป เพราะอาจจะทาให้ นกั เรยี นไม่เขา้ ใจเน้อื หาได้ 5. เมอ่ื ศกึ ษาครบทุกกรอบแลว้ ใหท้ าแบบฝกึ หัดทา้ ยบทเรียน เพือ่ ทดสอบความรู้ ความเข้าในในเรอ่ื งท่ไี ดศ้ ึกษามาโดยบนั ทึกคาตอบลงในสมดุ แล้วตรวจเฉลยด้วยตนเอง 6. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เสร็จแล้วตรวจคาตอบดว้ ยตนเอง แล้วตรวจคาตอบ ในเฉลยหน้าถดั ไป เพื่อดคู วามกา้ วหน้าของตนเอง หากตรวจแลว้ พบว่าไม่ถึงรอ้ ยละ 80 ใหก้ ลับไปศึกษาบทเรียนซา้ อีกคร้งั 7. นักเรียนตอ้ งศกึ ษาบทเรยี นดว้ ยความซื่อสัตย์ ไม่เปดิ ดเู ฉลยก่อน และ ควรมรี ะเบยี บวนิ ัยในการเรยี นรแู้ ละบนั ทึกผลการเรียน หากยังไม่เข้าใจไปดแู ผนภูมิ ขน้ั ตอนการศึกษาหนา้ ต่อไปคะ่

3 แผนภูมิขัน้ ตอนการศกึ ษาบทเรียนสาเรจ็ รปู คาช้แี จงสาหรบั ผเู้ รียน ศึกษาตัวชว้ี ัด จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระสาคัญ ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ศกึ ษาบทเรียนต้ังแต่กรอบท่ี 1 ถงึ กรอบสุดท้ายตามลาดับ ทาแบบฝึกหัดทา้ ยบทเรียน สอบผา่ น ทาแบบทดสอบหลังเรยี น สอบผ่านไม่ถึง รอ้ ยละ 80 ศึกษาเร่ืองใหม่ตอ่ ไป รอ้ ยละ 80 กลบั ไปศกึ ษาใหม่ เขา้ ใจแลว้ ไปทาแบบทดสอบ ก่อนเรียนกันเลยคะ่

4 มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เหน็ คุณคา่ และใชก้ ระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการสบื คน้ ข้อมลู การเรยี นรู้ การสือ่ สาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชพี อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล และมีคุณธรรม ตวั ชี้วดั ง 3.1 ม.2/1 อธบิ ายหลกั การเบอ้ื งต้นของการสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของการสอ่ื สารขอ้ มลู ได้ 2. อธิบายองค์ประกอบของการสอ่ื สารได้ถูกต้อง 3. อธบิ ายพฒั นาการของการส่อื สารไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกประโยชนข์ องการสื่อสารขอ้ มลู ไดถ้ กู ตอ้ ง ตัวช้วี ัดและจดุ ประสงค์การเรียนรู้ คือ เป้าหมายในการเรียนรู้ ต้องศึกษาใหเ้ ขา้ ใจนะคะ

5 สาระสาคญั การตดิ ต่อสื่อสาร เป็นส่ิงที่เกดิ ขึน้ ควบคมู่ ากับมนษุ ย์ เนื่องจากมนุษย์ ต้องอยรู่ วมกันเป็นกลุ่มก้อนโดยใชภ้ าษาเป็นส่ือในการสือ่ สารและแลกเปลย่ี น ขอ้ มลู ซึง่ กันและกนั โดยมีอากาศเป็นตวั กลาง หรอื ใชส้ ัญลกั ษณ์ คาพูดเพือ่ ส่อื ถงึ สิ่งใดส่งิ หนึ่ง มนุษยไ์ ด้คดิ คน้ วิธกี ารและเคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการติดตอ่ สอ่ื สารมานาน เชน่ การใชส้ ัญญาณควันไฟ การใช้มา้ เรว็ นกพิราบในการสง่ สาร จนกระท่งั พัฒนามาเป็นการใชโ้ ทรเลข วทิ ยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ และอินเทอรเ์ นต็ ใน ปจั จบุ ัน การสอื่ สารเปน็ เรื่องทีค่ วรศกึ ษาอย่างยงิ่ เพราะการส่อื สารและเทคโนโลยที กุ วนั น้ี กลายเปน็ สว่ น หนง่ึ ของชวี ิตประจาวนั ของมนษุ ย์ และดูเหมือนจะมี บทบาทมากยง่ิ ข้นึ ดงั นั้นเราควรไปศกึ ษาเรื่อง การ สอ่ื สารข้อมูลกัน...พร้อมแล้ว พลิกหนา้ ถดั ไปเลยคะ่

6 แบบทดสอบก่อนเรยี น เรอื่ ง เรียนร้เู รือ่ งการส่อื สาร คาชแ้ี จง ให้นักเรียนทาเครือ่ งหมาย  ทับตัวเลอื ก ก ข ค หรอื ง ทเี่ หน็ ว่าถูกตอ้ ง ท่สี ุดเพียงข้อเดยี ว 1. ขอ้ ใด ใหค้ วามหมายของการสื่อสารขอ้ มูลไม่ถกู ตอ้ ง ก. การถา่ ยทอดข้อมูลจากแหลง่ หนงึ่ ไปยงั อีกแหล่งหน่ึง ข. การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผ้สู ง่ และผ้รู บั ผา่ นสื่อกลาง เชน่ อากาศ ค. การนาเครอื่ งคอมพิวเตอรต์ ้ังแต่ 2 เครอ่ื งขึ้นไปมาเชื่อมต่อกนั เพื่อจุดประสงค์ ในการใชท้ รพั ยากรรว่ มกัน ง. การถ่ายโอนขอ้ มูลจากอุปกรณต์ น้ ทาง ไปยังอุปกรณป์ ลายทาง ผา่ นสอ่ื กลาง ในการรับ-ส่งข้อมลู เช่น บลทู ูธ (Bluetooth) 2. ขอ้ ใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบของการสื่อสารขอ้ มูล ก. computer ข. Receiver ค. Medium ง. Sender 3. องคป์ ระกอบการสอ่ื สารขอ้ ใด สามารถทาใหก้ ารส่ือสารขอ้ มลู เกิดประสิทธภิ าพสงู สุด ก. ผสู้ ง่ ข. ผรู้ บั ขอ้ มลู ค. ผู้ส่ง ผู้รบั ข้อมูล ง. ผู้สง่ ผรู้ ับ ข้อมูล ส่ือกลาง

7 4. ผู้รบั สารที่ดคี วรมลี กั ษณะใด ก. สามารถตอบสนองกลบั ไปยงั ผู้ส่งสารได้ ข. มีความร้ดู า้ นการส่งข้อมลู เปน็ อยา่ งดี ค. มปี ระสบการณ์ในการใชต้ วั กลาง ง. สามารถถ่ายทอดข้อมูลได้เร็ว 5. ขอ้ ใดกล่าวถึงตัวกลางได้ถูกต้อง ก. ส่ิงมชี ีวติ ทีเ่ ป็นผู้ดาเนินการสอ่ื สาร ข. ส่ิงทท่ี าหนา้ ทน่ี าขอ้ มลู จากผู้ส่งสารไปยงั ผรู้ บั สาร ค. เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นกระบวนการการสื่อสารทัง้ หมด ง. เทคโนโลยที ่ีทาหนา้ เปลย่ี นข้อมลู ใหเ้ ปน็ สารสนเทศ 6. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ ลักษณะของการสอื่ สารในยคุ โบราณไดถ้ ูกตอ้ ง ก. การส่ือสารเน้นประสทิ ธภิ าพของขอ้ มูล ข. เป็นการถา่ ยทอดข้อมูลแบบสลับซับซอ้ น ค. เปน็ การส่อื สารทเ่ี น้นการสนองความต้องการขน้ั พื้นฐานของมนุษย์ ง. วธิ ีการสอ่ื สารในยุคโบราณ ได้แก่ การใชค้ วนั ไฟ นกพริ าบ จดหมาย 7. การสอ่ื สารในยุคอตุ สาหกรรม มีลกั ษณะเด่นอย่างไร ก. เปน็ การถา่ ยทอดขอ้ มูลแบบไม่สลบั ซับซ้อน ข. ใช้เทคโนโลยีชว่ ยในการเพ่ิมประสทิ ธิภาพของขอ้ มลู ค. สนองความตอ้ งการขั้นพนื้ ฐานของมนุษย์ ง. ตัวกลางทใี่ ช้มีประสิทธภิ าพสูง และมแี นวโนม้ วา่ อนาคตกย็ งั คงใชอ้ ยู่ 8. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ การส่ือสารยุคโลกไรส้ ายได้ถูกต้อง ก. ตอ้ งค่าใช้จ่ายสงู ในการส่งขอ้ มลู ข. ถ้าต้องส่งขอ้ มลู ในปรมิ าณมาก ๆ การรับ-ส่งขอ้ มลู จะชา้ ลง ค. ผู้ สง่ สารและรบั สารไมจ่ าเปน็ ตอ้ งมคี วามรเู้ กย่ี วกับตวั กลางในการสอ่ื สาร ง. การสอื่ สารเนน้ ความสะดวกสบายของผู้ใช้และประสทิ ธิภาพของข้อมูลเปน็ หลกั

8 9. ข้อใดต่อไปนี้สามารถเรียงลาดับพัฒนาการการสอ่ื สารขอ้ มูลจากอดีตถึงปัจจุบนั ไดถ้ กู ตอ้ ง ก . นกพิราบส่ือสาร โทรเลข โทรศัพท์ E-mail Wi-Fi ข . นกพิราบสอ่ื สาร โทรศพั ท์ โทรเลข Wi-Fi E-mail ค . โทรศพั ท์ นกพริ าบสอ่ื สาร โทรเลข E-mail Wi-Fi ง . โทรศพั ท์ โทรเลข นกพริ าบสอ่ื สาร Wi-Fi E-mail 10. จากสถานการณ์นี้ \"ก้อยสง่ E-mail หาเพอ่ื นท่ีอยู่อเมรกิ า ผ่านไปไม่ถึง 2 นาที เพ่ือนกส็ ง่ รูปมาให\"้ นักเรยี นคิดวา่ เป็นประโยชนข์ องการสอ่ื สารในด้านใด ก. ความเรว็ ในการจัดเก็บข้อมลู ข. ความเร็วในการรบั ขอ้ มูล ค. ความเร็วในการสง่ ขอ้ มลู ง. ความเร็วในการทางาน ทาแบบทดสอบเสรจ็ แลว้ ไปตรวจข้อสอบทห่ี น้าเฉลย นะคะ อยู่หนา้ ถดั ไปคะ่ กันกอ่ นเลยจ๊ะ

9 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เร่ือง เรียนรู้เรอ่ื งการสอื่ สาร ค ก ง ก ข ค ข ง ก ง ผลการทาแบบทดสอบก่อนเรยี นเปน็ ไงบา้ ง อยา่ เสียใจนะคะ เพราะการสอบกอ่ นเรียน เปน็ การตรวจสอบความรูเ้ ดมิ เราไปเริ่ม ศึกษาบทเรียนกันดกี ว่าคะ่

10 สวสั ดคี ะ่ วนั น้เี รามาเรียนรู้ เรอื่ งการสื่อสารกันนะคะ ถา้ พรอ้ มแลว้ เร่มิ เรยี นได้เลยค่ะ กรอบเน้ือหำท่ี 1 ความหมายของการสอื่ สารขอ้ มลู การส่อื สารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง แลกเปลี่ยน ข้อมลู ขา่ วสารจากผสู้ ่งผา่ นส่อื กลาง ดังนน้ั การสื่อสารจงึ เป็นกระบวนการหรือ วธิ ีการถา่ ยทอดข้อมลู ระหวา่ งผูส้ ่งและผู้รบั ทอี่ ยู่หา่ งไกลกันด้วยระบบการสื่อสาร โทรคมนาคม (Telecommunication) เช่น อนิ เทอร์เน็ต โทรศพั ท์ เป็นสอ่ื กลาง ในการสง่ ข้อมูล คำถำมกรอบเน้ือหำที่ 1 1. การสอ่ื สารมคี วามหมายว่าอยา่ งไร 2. จากขอ้ ความตอ่ ไปนี้ \"การส่อื สารขอ้ มูลคอื การส่งขอ้ มลู จากต้นทางไปยงั ปลายทาง ผา่ นส่ือกลางในการรับ-สง่ ข้อมลู \" นกั เรยี นคิดว่า คาวา่ \"ต้นทาง\" ในทน่ี ้นี ่าจะเปรียบ ถึงใคร ระหว่างผสู้ ง่ กับผรู้ ับ

11 เฉลยคาตอบประจากรอบเน้ือหาที่ 1 1. การสื่อสาร คอื แลกเปลยี่ นขอ้ มลู ข่าวสารจากผูส้ ง่ ผ่านสือ่ กลาง 2. จากข้อความในคาถามท่ี 2 ตน้ ทาง เปรียบได้กบั ผสู้ ง่ สาร ไม่ต้องกังวลนะคะ เอ! แล้วการสือ่ สารขอ้ มลู ถ้าตอบคาถามไมไ่ ด้ กลบั ไปศกึ ษาใหม่ จะตอ้ งมีองคป์ ระกอบใดบ้าง คอ่ ยๆ อ่านคะ่ ถงึ จะส่อื สารกันได้นะ กรอบเน้ือหำท่ี 2 องคป์ ระกอบของการส่ือสารข้อมลู ในการสื่อสารขอ้ มลู ระหวา่ งผสู้ ง่ และผ้รู ับ จะเกิดประสทิ ธิภาพสงู สุดนัน้ จะต้องมอี งคจ์ ะประกอบ 4 ส่วน และไม่สามารถขาดส่วนประกอบใดสว่ นประกอบ หนงึ่ ไมไ่ ด้ ซ่งึ ไดแ้ ก่ สอ่ื กลาง ผรู้ ับ ผู้ส่ง หรอื ชอ่ งทางการส่ือสาร 1. ผูส้ ่ง (Sender) คือ บุคคลหรอื อุปกรณ์ที่ทาหนา้ ที่ ส่งข้อมลู ขา่ วสาร ไปยังปลายทาง เช่น คน คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์ กล้องวดิ ีโอ เปน็ ตน้ 2. ข้อมลู ข่าวสาร (Message) คือ สง่ิ ที่ผสู้ ง่ ตอ้ งการสง่ ไปให้ผรู้ ับ ซงึ่ อาจจะ อยูใ่ นรปู ของเสียง ภาพ ขอ้ ความ เชน่ ตวั หนงั สือ ตัวเลข รปู ภาพ วดิ โี อ(เป็นท้งั รปู และเสียง) เสียงเพลง เป็นตน้

12 3. สอ่ื กลางหรือช่องกลางการสอ่ื สาร (Medium) คือ ส่งิ ทีช่ ่วยให้ข้อมลู ข่าวสารเดินทางจากจากต้นทางผ้สู ่งไปสปู่ ลายทางผู้รบั ซ่งึ อาจจะเปน็ ส่อื แบบสาย เช่น สายโทรศัพท์ สายคู่บดิ เกลียว สายโคแอกเชียล สายไฟเบอร์ออพติก หรอื ส่ือ แบบไม่มีสาย เช่น คล่นื วทิ ยุ เลเซอร์ คลนื่ ไมโครเวฟ คล่นื แสง เป็นตน้ 4. ผู้รับ (Receiver)คือ บุคคลหรืออุปกรณ์ทีท่ าหน้าท่ี รบั ข้อมลู ซง่ึ อาจจะ เป็น คน คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ โทรทัศน์ เปน็ ต้น คอ่ ย ๆ อ่านนะคะ ถา้ ยงั ไม่เข้าใจ อา่ นซา้ อกี ครง้ั ..ถ้าเขา้ ใจแลว้ ไปตอบคาถามค่ะ คำถำมกรอบเน้ือหำท่ี 2 1. องค์ประกอบการสือ่ สารมอี ะไรบา้ ง 2. จากข้อมลู ตอ่ ไปน้ี \"สายใยแกว้ นาแสง ดาวเทียม คลนื่ ไมโครเวฟ \" นักเรียนคิดวา่ คือองค์ประกอบใด 3. เพลงชมโซ่ เป็นขอ้ มูลทีอ่ ย่ใู นรปู ใด คอ่ ย ๆ คิดนะคะ ถ้าตอบเสร็จแลว้ ไปดูเฉลยหนา้ ต่อไป

13 เฉลยคาตอบประจากรอบเนือ้ หาท่ี 2 1. องค์ประกอบของการสื่อสาร ได้แก่ ผสู้ ่ง ผ้รู บั สอ่ื กลางหรือชอ่ งทาง การสอื่ สาร และผรู้ บั 2. สื่อกลางหรือชอ่ งทางการส่อื สาร 3. เพลงชมโซ่ อย่ใู นรปู ข้อมูลเสยี ง เพือ่ น ๆ ทราบองคป์ ระกอบของการสอ่ื สาร เรามาศึกษาพัฒนาการ ขอ้ มลู แลว้ นะคะเกง่ จังเลยคะ่ ของการสื่อสารกันต่อค่ะ กรอบเน้ือหำที่ 3 พฒั นาการของการสอ่ื สารขอ้ มลู มนุษย์เปน็ สัตวส์ ังคม ธรรมชาติของมนษุ ยจ์ งึ ตอ้ งการอยรู่ ่วมกนั เพ่อื ดาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ รว่ มกนั การพบปะ พูดคยุ แลกเปลีย่ นข้อมลู ข่าวสารกนั จงึ เกิด ตลอดเวลา แมว้ ่ามนษุ ยจ์ ะอยูห่ ่างไกลกนั มนุษยจ์ ะพยายามหาวิธกี ารเพอ่ื ให้สามารถ ตดิ ตอ่ สื่อสารกนั ได้ ดังนั้น การสอื่ สารจงึ เกิดขึ้นตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ ัน โดยเฉพาะ ในปจั จุบนั การสือ่ สารเจริญมากขน้ึ ทาใหค้ นสามารถสอ่ื สารกันได้ทั่วโลก จนมีคน กล่าวว่าการสื่อสารที่ทนั สมัยทาใหโ้ ลกแคบลง พฒั นาการของการส่ือสารขอ้ มูลจึงเปน็ เรอื่ งสาคญั ที่ควรศกึ ษา เพราะจะทาให้เราทราบความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีการ ส่ือสารแล้ว ยงั มีแนวทางในการพฒั นาการสือ่ สารขอ้ มลู ใหด้ ยี ง่ิ ขนึ้ ในอนาคต เราสามารถแบ่งพฒั นาการการส่ือสารข้อมูลได้เป็น 3 ยุค ดงั นี้คือ การสอ่ื สาร ยุคโบราณ การสอ่ื สารยุคอตุ สาหกรรม การสือ่ สารยคุ ไรส้ าย คำถำมกรอบเน้ือหำที่ 3 พัฒนาการของการสอื่ สารจากอดตี จนถึงปัจจุบนั สามารถแบง่ ไดก้ ย่ี ุค และแตล่ ะยคุ มชี ่ือเรยี กวา่ อย่างไรบา้ ง

14 เฉลยคาตอบประจากรอบเนอ้ื หาท่ี 3 พฒั นาการของการสอื่ สารข้อมลู แบ่งเปน็ 3 ยคุ ไดแ้ ก่ การสื่อสาร ยุคโบราณ การสื่อสารยคุ อุตสาหกรรม การสือ่ สารยคุ ไร้สาย เก่งมาก ๆ คะ่ เพอ่ื น ๆ ช่วยกันคดิ สิคะว่าปัจจุบนั เราอย่ยู คุ การสือ่ สารใด ถ้าอย่างนน้ั มาสบื ค้นเพ่อื หา คาตอบในกรอบเนอ้ื หาถดั ไปคะ่ กรอบเน้ือหำที่ 4 การส่อื สารยุคโบราณ เป็นการสื่อสารท่ีนยิ มใช้ในอดีต ซง่ึ ปจั จุบนั ไม่มกี ารส่อื สารดว้ ยวิธีนแ้ี ลว้ วธิ กี าร สื่อสารยุคนี้ จะกระทาเพือ่ ตอบสนองตอ่ ความต้องการขน้ั พื้นฐานของมนุษย์ เป็นการ ถ่ายทอดข้อมลู แบบไม่สลบั ซับซอ้ น และตวั สือ่ กลางทใ่ี ช้มกั จะมปี ระสิทธภิ าพนอ้ ย ตวั อย่างวธิ กี ารสอื่ สาร เช่น ภาพบนผนังถ้า ควันไฟ นกพิราบ ม้าเรว็ คำถำมกรอบเน้ือหำท่ี 4 1. ยกตวั อย่างวิธีการสอื่ สารทใี่ ชใ้ นยคุ โบราณ 2. จากตวั เลือกตอ่ ไปน้ี ข้อใดไมใ่ ชล่ ักษณะของการส่ือสารในยุคโบราณ ก. เปน็ การสือ่ สารเพ่ือตอบสอนงความต้องการพ้นื ฐานของมนุษย์ ข. การถา่ ยทอดขอ้ มลู จากผสู้ ่งไปยังผรู้ บั เปน็ แบบไม่สลับซับซ้อน ค. ส่ือกลางทใ่ี ช้มกั จะมีประสิทธิภาพสูง

15 เฉลยคาตอบประจากรอบเน้อื หาที่ 4 1. ภาพบนผนังถา้ ควนั ไฟ นกพิราบ มา้ เร็ว 2. ค กรอบเน้ือหำท่ี 5 การส่อื สารยุคอุตสาหกรรม เปน็ การสอื่ สารท่ียงั นิยมในปจั จบุ นั แต่มีแนวโนม้ ท่ีจะเลิกใช้ในอนาคตเนอื่ งจาก มีเทคโนโลยีท่สี ่งเสรมิ การสอ่ื สารใหม่ ๆ เข้ามาแทนทก่ี ารสื่อสารยุคอุตสาหกรรม จะมุ่งเนน้ ประสทิ ธิภาพมากกวา่ การสอ่ื สารยคุ โบราณ ตวั อยา่ งวธิ กี ารสอื่ สาร เช่น จดหมาย โทรเลข โทรศัพท์ โทรสารหรือแฟกซ์ เปน็ ต้น ไมต่ อ้ งรบี นะคะ ค่อย ๆ อา่ น ถา้ ไมเ่ ขา้ ใจ อา่ นเนือ้ หาซา้ อีกคร้ังค่าใจ แล้วอยา่ ลมื ตอบคาถามคะ่ เมือ่ เข้ คำถำมกรอบเน้ือหำท่ี 5 1. บอกลักษณะสาคัญของการส่ือสารยคุ อตุ สาหกรรม 2. ยกตวั อยา่ งวิธกี ารสอ่ื สารที่ใชใ้ นยคุ อตุ สาหกรรม

16 เฉลยคาตอบประจากรอบเนื้อหาที่ 5 1. มุ่งเน้นประสิทธิภาพการสอื่ สาร โดยการนาเทคโนโลยใี หม่ ๆ เข้ามาใช้ 2. จดหมาย โทรเลข โทรศพั ท์ แฟกซ์ คาตอบใกล้เคยี งไหมคะ ไม่ต้องวติ ก กังวลถา้ ตอบผิด ลองกลบั ไปศึกษากรอบ เนอื้ หาใหม่ แล้วตอบคาถามอีกครั้งคะ่ กรอบเน้ือหำที่ 6 การสอ่ื สารในยคุ โลกไรส้ าย ยคุ โลกไรส้ ายเป็นการสอ่ื สารทีม่ ุ่งเนน้ ความสะดวกสบายของผู้ใชแ้ ละประสทิ ธิภาพ ของข้อมลู ทใ่ี ชใ้ นการสือ่ สารเปน็ หลกั ผู้สือ่ สารจะต้องมคี วามรู้ทางด้านเทคโนโลยี เปน็ อย่างดี เพราะเปน็ เทคโนโลยีข้นั สูง วิธีการส่อื สาร เชน่ บลูทูธ (Bluetooth) แชท (Chat) วดี ิโอทางไกล (Video Conferencing) อีเมล์ (E-mail) ไวไฟ (WiFi) ซ่งึ การส่ือสารในสมัยน้ี ผู้ส่อื สารสามารถติดต่อส่ือสารกันได้ทกุ ท่ีทกุ เวลา โดยเฉพาะ การสอ่ื สารกนั ผา่ นทางอนิ เตอร์เนต็ และโทรศพั ท์มือถือ ซึ่งถือวา่ เป็นชอ่ งทางใน การส่อื สารท่ไี ม่มวี นั ส้นิ สดุ การส่ือสารในยคุ ปัจจบุ นั จึงกลายเปน็ ปจั จยั ท่มี ี ความสาคัญตอ่ สภาพสงั คมในปจั จบุ ันทุกระดับเป็นอย่างมาก. คำถำมกรอบเน้ือหำท่ี 6 1. บอกลักษณะเดน่ ของการสือ่ สารยุคไร้สาย 2. ช่องทางการส่ือสารทส่ี าคัญในยคุ นค้ี อื อะไร

17 เฉลยคาตอบประจากรอบเนอื้ หาท่ี 6 1. มุ่งเน้นความสะดวกสบายของผูใ้ ชแ้ ละประสิทธิภาพของข้อมลู 2. ช่องทางท่สี าคัญ คือ โทรศัพท์ และอินเทอรเ์ น็ต แหม...เกง่ สดุ ๆ ไปเลยค่ะยังเหลืออีกกรอบนะคะ ความสาเร็จใกลเ้ อื้อมแลว้ ค่ะ กรอบเน้ือหำท่ี 5 ประโยชน์ของการสือ่ สารข้อมลู ประโยชนข์ องการสือ่ สารขอ้ มลู มีดังน้ี 1. การจดั เก็บขอ้ มลู ได้ง่ายและส่ือสารไดร้ วดเร็ว เพราะการจัดเกบ็ ข้อมลู จะถกู จดั เก็บในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนกิ ส์ สามารถเก็บขอ้ มูลไวใ้ นแผน่ บนั ทึก ทม่ี คี วามจจุ านวนมากได้ 2. ความถกู ต้องของขอ้ มูล เพราะในการรับ-ส่งขอ้ มูลจะมกี ารตรวจสอบ สภาพของข้อมลู หากข้อมูลผิดพลาด ก็จะมกี ารรบั รู้และพยายามหาวิธีการแก้ไขให้ ข้อมูลท่ไี ด้รบั มคี วามถูกต้อง โดยอาจให้ ทาการสง่ ใหม่ เป็นต้น 3. ความเรว็ ของการทางาน สัญญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางดว้ ยความเรว็ เทา่ แสง ทาใหก้ ารใชค้ อมพิวเตอร์ส่งขอ้ มูล จากซีกโลกหน่ึงไปยงั อกี ซกี โลกหนึง่ หรอื การ ค้นหาข้อมลู จากฐานขอ้ มลู ขนาดใหญส่ ามารถทาได้อยา่ งรวดเร็ว 4. ประหยดั ต้นทนุ เพราะมกี ารเชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอร์เข้าหากันเปน็ เครือข่าย เพื่อใชใ้ นการสง่ หรือสาเนาขอ้ มลู ทาให้ประหยัดเม่อื เทียบกบั วิธีอืน่

18 คำถำมกรอบเน้ือหำท่ี 7 1. ขอ้ ใดคอื ประโยชน์ของการส่ือสารขอ้ มูล ก. ส่ือสารไดร้ วดเร็ว ข. ข้อมลู ปลอดภัย ค. มีความทนั สมยั ง. ประหยดั พลังงาน 2. จากสถานการณ์นี้ \"กอ้ ยสง่ E-mail หาเพื่อนทอ่ี ยอู่ เมรกิ า ผา่ นไป ไม่ถึง 2 นาที เพื่อนกส็ ่งรปู มาให\"้ นกั เรียนคิดวา่ เป็นประโยชน์ของการ ส่ือสารในดา้ นใด ก. ความเร็วในการจัดเก็บขอ้ มูล ข. ความเรว็ ในการรับขอ้ มูล ค. ความเรว็ ในการสง่ ขอ้ มลู ง. ความเรว็ ในการทางาน โอโฮ...เกง่ สดุ ยอดเลยค่ะ แลว้ เรากม็ าถงึ เส้นชยั จนได้ แล้วนกั เรียนทราบหรอื ไม่คะวา่ ช่องทางการสอ่ื สารหรือเทคโนโลยใี ด ที่มีแนวโนม้ ว่าจะสาคญั ขน้ึ เรือ่ ย ๆ โทรศพั ทย์ งั ไงคะ ทกุ วันยิ่งทวคี วามสาคัญ เพราะได้ รวมความสามารถตา่ ง ๆ เชน่ อินเตอร์เน็ต เกมส์ ถา่ ยรปู แชทตา่ งๆ รวมไวท้ ีโ่ ทรศัพท์

19 เฉลยคาตอบประจากรอบเน้อื หาท่ี 7 1. ก 2. ง กรอบสรปุ การส่อื สารขอ้ มูล คอื กระบวนการหรอื วธิ กี ารถ่ายทอดขอ้ มลู ระหวา่ งผู้ส่งสาร ผา่ นส่อื กลางไปยังผู้รับสารหรือกระบวนการส่งข้อมูลจากอุปกรณส์ ง่ ขอ้ มลู ต้นทางไปยงั อุปกรณร์ บั ขอ้ มูลปลายทางคอื โดยมสี อ่ื กลางในการนาสัญญาณในการับส่งขอ้ มูล ได้แก่ ส่อื กลางแบบมีสาย คือ สายคบู่ ดิ เกลยี ว สายโคแอกเชยี ล สายใยแก้วนาแสง และ แบบไร้สาย ไดแ้ ก่ ดาวเทียม Wifi คลื่นไมโครเวฟ บลู ทูธ เป็นต้น ในการสอ่ื สารขอ้ มลู จะเกิดประสิทธภิ าพไดน้ ้นั จะตอ้ งครบองคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ ผสู้ ่งสาร ผ้รู บั สาร สือ่ กลาง และข้อมลู นอกจากน้กี ารส่ือสารขอ้ มลู ยงั มีพฒั นาการที่ยาวนานมากทีเ่ ดียว โดยในอดตี มนุษย์พยายามใชส้ ัญลักษณต์ า่ ง ๆ หรอื วิธีการตา่ ง ๆ ในการส่ือสารกนั ซึ่งวธิ กี ารนน้ั เป็นวธิ ีการทไ่ี มซ่ บั ซ้อนยุง่ ยาก ได้แก่ การใชค้ วันไฟ การเขยี นภาพ บนผนงั ถา้ การข้ีม้าและการใช้นกพริ าบสอ่ื สาร ตอ่ มามนุษย์มพี ฒั นาการมากข้นึ มนุษยม์ ีความรู้และมคี วามต้องการมากข้ึน จงึ มีการประดิษฐ์คดิ คน้ ระบบการสอ่ื สาร ข้นึ ไดแ้ ก่ จดหมาย โทรเลขแฟกซ์ โทรศัพท์ ตอ่ มาเทคโนโลยถี ูกพฒั นาใหท้ ันสมัย ขึน้ การใช้จดหมาย และโทรเลขจึงถูกลดบทบาทลง จนปจั จุบันกาลังถกู ยกเลกิ โดยเฉพาะระบบโทรเลข ปัจจุบนั มนษุ ยห์ นั มาใชอ้ ินเทอร์เน็ตในการส่ง E-mail แทน จดหมาย นอกจากน้ีอนิ เทอร์เน็ตยงั ถกู พัฒนาให้สามารถใช้ร่วมกบั โทรศพั ทไ์ ด้ ทาใหท้ ุก วันน้โี ทรศัพท์กลายเปน็ ปจั จยั พ้นื ฐานของมนษุ ย์ในเรือ่ งการตดิ ตอ่ พ้นื ฐานทแ่ี ทบจะขาด ไม่ได้เลยทเ่ี ดยี ว

20 ยนิ ดีด้วยนะคะ ทสี่ ามารถศึกษาไดส้ าเรจ็ ทกุ กรอบเนอ้ื หาหวังวา่ จะได้รบั ความรู้และเข้าใจในเรื่องการสื่อสารไดม้ ากย่ิงข้นึ นะคะ อยา่ ลืมทา แบบทดสอบหลงั เรียน นะคะ ขอให้โชคดที ุกคนคะ่ เมื่อศกึ ษาบทเรยี นสาเร็จรูปเลม่ ท่ี 1 เรื่อง เรยี นรู้ เรอ่ื งการสือ่ สารจบเลม่ แลว้ ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ หัด ทบทวนความรู้ ความเข้าใจอีกครัง้ นะคะ ก่อนไปทา แบบทดสอบหลงั เรียน (ชดุ เดียวกันกบั กอ่ นเรียน) แล้ว อย่าลมื นาบทเรียนสาเร็จรปู ไปคนื คุณครูดว้ ยนะคะ ออ้ ! ทส่ี าคัญนกั เรยี นลองเทียบผลการทดสอบกอ่ นเรียน กับหลงั เรยี นดูซวิ ่า เรามีคะแนนเพ่ิมขน้ึ เทา่ ใดบา้ ง ยนิ ดว้ ย กบั นักเรียนทุกคนทม่ี คี ะแนนเพม่ิ ขน้ึ ส่วนคนทีไ่ ดค้ ะแนน ไมผ่ า่ นเกณฑ์ กไ็ มต่ ้องเสียใจนะคะ พยายามใหม่ ส้ตู อ่ ไป คะ่ แลว้ พบกันในบทเรียนสาเร็จรปู เลม่ ต่อไป คอื เล่มท่ี 2 เร่ือง หลกั การสอื่ สารขอ้ มูลนะคะ ..... ... สวัสดีคะ่ ...

21 แบบฝกึ หดั เร่อื ง เรยี นรูเ้ รอื่ งการส่ือสารข้อมลู คาช้แี จง ตอนที่ 1 จับคู่ข้อความท่มี คี วามสัมพันธ์กันต่อไปนี้ ............1. การสื่อสารขอ้ มลู ก. วันน้ที านข้าวหรอื ยังคะ ............2. สอื่ กลางข้อมูล ข. รวดเร็ว ลดตน้ ทุน ............3. ข้อมูล ค. โทรศพั ท์มือถอื ทม่ี รี ะบบ WiFi ............4. ช่องทางการส่ือสารที่มแี นวโนม้ วา่ ง. การส่งขอ้ มูลระหวา่ งผูส้ ง่ ไปยงั ผูร้ ับ จะมีบทบาทมากในการสือ่ สารในปจั จุบัน ผ่านส่อื กลางในการรบั -ส่งขอ้ มลู ............5. ประโยชนข์ องการส่อื สาร ง. WiFi สายใยแก้วนาแสง ตอนที่ 2 พจิ ารณาวิธกี ารส่ือสารตอ่ ไปน้ี ว่าควรอย่ใู นยคุ การส่ือสารใด โดยการเตมิ ยุคต่าง ๆ ทสี่ มั พนั ธก์ ับวธิ กี ารสือ่ สารลงหนา้ วิธกี ารส่อื สารทกี่ าหนดให้ 1. ...................................................... เกมส่ง E-mail หาเพ่ือน 2. ...................................................... การใชค้ วนั ไฟเพื่อส่งสัญญาณ 3. ...................................................... จอยสง่ ธนาณตั ิใหค้ ุณแม่ทกุ เดอื น 4. ...................................................... เอกคยุ ออนไลน์กบั เพอ่ื น ๆ ในกลุ่ม 5. ...................................................... แก้มส่งแฟกซเ์ อกสารเพื่อสมัครงาน ทาแบบฝกึ หัดทบทวนแลว้ ไปดเู ฉลย แบบฝึกหัดกันนะคะ จากนนั้ ทาแบบทดสอบ หลังเรียน ตั้งใจทานะคะ

22 เฉลยแบบฝกึ หัดเรื่อง เรียนรูเ้ ร่อื งการสือ่ สารขอ้ มลู ตอนที่ 1 จบั คขู่ อ้ ความท่มี คี วามสัมพันธ์กนั ต่อไปน้ี .....ง.......1. การส่อื สารขอ้ มูล ก. วันนีท้ านขา้ วหรอื ยังคะ .....จ.......2. สอ่ื กลางข้อมลู ข. รวดเรว็ ลดต้นทนุ .....ก.......3. ขอ้ มูล ค. โทรศพั ท์มือถอื ที่มรี ะบบ WiFi .....ค.......4. ชอ่ งทางการสอื่ สารท่มี แี นวโน้ม ง. การส่งขอ้ มลู ระหวา่ งผู้ส่งไปยังผรู้ ับ วา่ จะมบี ทบาทมากในการส่อื สารในปัจจุบัน ผา่ นสื่อกลางในการรับ-ส่งขอ้ มลู .....ข.......5. ประโยชน์ของการสือ่ สาร จ. WiFi สายใยแกว้ นาแสง ตอนที่ 2 พจิ ารณาวธิ กี ารส่ือสารตอ่ ไปนี้ วา่ ควรอยู่ในยุคการส่ือสารใด โดยการเตมิ ยุคต่าง ๆ ท่สี มั พันธก์ ับวธิ ีการส่ือสารลงหนา้ วิธีการสื่อสารทก่ี าหนดให้ 1. ....ก..า..ร..ส...ื่อ..ส...า..ร..ย..ุค...ไ.ร..้ส...า..ย................... เกมส่ง E-mail หาเพอ่ื น 2. ....ก..า..ร..ส...่อื..ส...า..ร..ย..คุ...โ.บ...ร..า..ณ................... การใชค้ วนั ไฟเพอื่ สง่ สญั ญาณ 3. ....ก..า..ร..ส...ื่อ..ส...า..ร..ย..ุค...อ..ตุ...ส..า..ห...ก..ร..ร..ม......... จอยสง่ ธนาณัตใิ ห้คุณแมท่ กุ เดอื น 4. ....ก..า..ร..ส...ือ่..ส...า..ร..ย..ุค...ไ.ร..้ส...า..ย................... เอกคยุ ออนไลน์กบั เพื่อน ๆ ในกลมุ่ 5. ....ก..า..ร..ส...อื่..ส...า..ร..ย..คุ...อ..ุต...ส..า..ห...ก...ร..ร..ม........ แกม้ สง่ แฟกซ์เอกสารเพ่ือสมคั รงาน ดเู ฉลยแลว้ เป็นไงคะ เย่ียมไปเลยคะ่ ไปทาแบบทดสอบหลงั เรียนกันตอ่ นะคะ คนเก่งตง้ั ใจทานะคะ

23 แบบทดสอบหลังเรียน เรอ่ื ง เรยี นรเู้ ร่ืองการส่ือสาร คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนทาเครอื่ งหมาย  ทับตัวเลือก ก ข ค หรือ ง ท่เี หน็ วา่ ถกู ตอ้ ง ทีส่ ุดเพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใด ใหค้ วามหมายของการส่อื สารข้อมูลไมถ่ ูกตอ้ ง ก. การถา่ ยโอนข้อมลู จากอปุ กรณ์ตน้ ทาง ไปยงั อปุ กรณป์ ลายทาง ผา่ นส่อื กลาง ในการรบั -ส่งขอ้ มูล เชน่ บลทู ธู (Bluetooth) ข. การนาเครือ่ งคอมพวิ เตอรต์ ้ังแต่ 2 เครือ่ งขึน้ ไปมาเชื่อมตอ่ กนั เพ่อื จุดประสงค์ ในการใช้ทรพั ยากรรว่ มกัน ค. การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผสู้ ง่ และผรู้ ับผา่ นส่ือกลาง เชน่ อากาศ ง. การถ่ายทอดขอ้ มลู จากแหลง่ หนึ่งไปยงั อีกแหล่งหน่งึ 2. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ ไมใ่ ช่ องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมลู ก. Data ข. Sender ค. Receiver ง. Communication 3. องค์ประกอบการสอื่ สารข้อใด สามารถทาใหก้ ารสื่อสารข้อมลู เกิดประสิทธิภาพสงู สุด ก. ผูส้ ง่ ผ้รู บั ขอ้ มลู สายใยแก้วนาแสง ข. ผรู้ ับ บลูทูธ ขอ้ มูล ค. ผสู้ ง่ ขอ้ มลู ง. ผรู้ ับ

24 4. ผู้รับสารที่ดีควรมลี กั ษณะใด ก. สามารถถ่ายทอดข้อมลู ได้เรว็ ข. มปี ระสบการณ์ในการใชต้ ัวกลาง ค. มคี วามรดู้ ้านการส่งขอ้ มลู เป็นอยา่ งดี ง. สามารถตอบสนองกลบั ไปยังผสู้ ่งสารได้ 5. ข้อใดกล่าวถึงตัวกลางไดถ้ กู ต้อง ก. สิง่ มชี วี ิตทเี่ ป็นผดู้ าเนินการสอื่ สาร ข. เครื่องมือทใี่ ชใ้ นกระบวนการการสอื่ สารท้ังหมด ค. สงิ่ ทท่ี าหน้าทีน่ าข้อมลู จากผสู้ ง่ สารไปยงั ผู้รับสาร ง. เทคโนโลยที ่ที าหน้าเปลยี่ นขอ้ มูลให้เปน็ สารสนเทศ 6. ข้อใดกล่าวถึงลกั ษณะของการส่ือสารในยคุ โบราณไดถ้ กู ต้อง ก. วธิ ีการสื่อสารในยุคโบราณ ได้แก่ การใชค้ วนั ไฟ นกพิราบ จดหมาย ข. เป็นการสอ่ื สารที่เน้นการสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ค. เป็นการถา่ ยทอดขอ้ มลู แบบสลบั ซับซ้อน ง. การสื่อสารเนน้ ประสิทธภิ าพของขอ้ มลู 7. การสื่อสารในยคุ อุตสาหกรรม มลี กั ษณะเด่นอยา่ งไร ก. เป็นการถา่ ยทอดข้อมลู แบบไม่สลับซบั ซอ้ น ข. สนองความต้องการขนั้ พ้ืนฐานของมนษุ ย์ ค. ใช้เทคโนโลยีชว่ ยในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของขอ้ มลู ง. ตวั กลางท่ใี ช้มีประสทิ ธิภาพสงู และมแี นวโน้มวา่ อนาคตกย็ งั คงใชอ้ ยู่ 8. ข้อใดกลา่ วถึงการส่อื สารยคุ โลกไรส้ ายได้ถูกต้อง ก. การสือ่ สารเนน้ ความสะดวกสบายของผูใ้ ช้และประสทิ ธภิ าพของขอ้ มลู เปน็ หลกั ข. ผู้ สง่ สารและรบั สารไมจ่ าเปน็ ตอ้ งมีความรู้เก่ียวกับตัวกลางในการส่อื สาร ค. ถา้ ต้องสง่ ข้อมลู ในปรมิ าณมาก ๆ การรบั -ส่งขอ้ มูลจะช้าลง ง. ต้องค่าใช้จา่ ยสงู ในการส่งขอ้ มูล

25 9. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้สี ามารถเรยี งลาดบั พัฒนาการการสอ่ื สารข้อมลู จากอดีตถึงปจั จบุ นั ไดถ้ ูกต้อง ก . Wi-Fi E-mail นกพริ าบสือ่ สาร โทรเลข โทรศพั ท์ ข . นกพิราบสื่อสาร โทรเลข โทรศพั ท์ E-mail Wi-Fi ค . โทรเลข E-mail โทรศัพท์ Wi-Fi นกพิราบสอ่ื สาร ง . โทรศัพท์ โทรเลข นกพิราบสือ่ สาร Wi-Fi E-mail 10. จากสถานการณ์นี้ \"ก้อยส่ง E-mail หาเพอ่ื นท่ีอยอู่ เมริกา ผ่านไปไม่ถึง 2 นาที เพือ่ นกส็ ง่ รปู มาให\"้ นักเรยี นคิดว่าเป็นประโยชน์ของการสือ่ สารในด้านใด ก. ความเร็วในการทางาน ข. ความเรว็ ในการรับข้อมูล ค. ความเรว็ ในการสง่ ข้อมูล ง. ความเร็วในการจัดเก็บขอ้ มลู

26 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น เรอื่ ง เรียนรู้เร่อื งการส่อื สาร ข ง ก ง ค ข ค ก ข ก ยินดีดว้ ยนะคะ เพ่ือน ๆ เกง่ มาก ๆ เลยคะ่

27 บรรณานกุ รม ณาตยา ฉาบนาค. (2547).คอมพิวเตอร์เบอ้ื งตน้ เลม่ ท่ี 5. กรุงเทพฯ : เอส.พ.ี ซ.ี บคุ๊ ส.์ น้อย สุวรรณมณี และคณะ. (2553). การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 . กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แมค็ . ถวัลย์วงศ์ ไกรโรจนานันท์ และคณะ. เทคโนโลยีสารสนเทศช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2, กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แม็ค, 2553. ฤทธิชัย เตชะมหทั ธนันท์. (2549). เอกสารประกอบคาสอนวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ กบั การเรียนรู้ . สมทุ รปราการ : คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลมิ พระเกยี รติ. ราชบัณฑติ ยสถาน.(2546).พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ : นานมบี คุ๊ สพ์ ับลเิ คชน่ั ส.์ รุจพร ชนะชัย รศ.ดร. และคณะ. (2546). เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้อื งตน้ . กรุงเทพฯ :สานักพิมพ์แม็ค. ลอง ลาร่ี.(2546).เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์สารสนเทศ=Computer. กรุงเทพฯ : เพยี ร์สัน เอด็ ดเู คชน่ั . สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(2551).ตวั ชีว้ ดั และ สาระแกนกลางกลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. www.thaigoodview.com(วนั ทคี่ ้นขอ้ มลู : 4กนั ยายน 2554) http://kroopoom.files.wordpress.com/2012/11/boran.pdf (วันทีค่ ้นขอ้ มลู : 16 ตุลาคม 2554)

เลม่ ที่ 1 เรยี นน้เู รื่องการสื่อสาร ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 28 giu


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook