รายงาน พระพทุ ธศาสนา ในประเทศและต่างประเทศ จัดทำโดย วรชิต ภูลายยาว รหสั นกั ศกึ ษา 6410830432076 นกั ศกึ ษาชั้นปีที่ 1 เสนอ นายเตชทตั ปักสังขาเนย์ นธ.เอก , ป.ธ. ๓ , ศน.บ , ศน.ม อาจารย์ประจำวิชา ประวตั ิพระพุทธศาสนา รายงานเล่มนเ้ี ปน็ ส่วนหนงึ่ ของวชิ า ประวัตพิ ระพทุ ธศาสนา ประจำภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษาท่ี 2564 มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตศรลี ้านชา้ ง
คำนำ รายงานเล่มนี้เปน็ ส่วนหนึง่ ของรายวชิ า ประวัตพิ ระพทุ ธศาสนา (BU5001) ประจำภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษาท่ี 2564 เพอื่ ศึกษาความรเู้ กย่ี ว พุทธศาสนาในประเทศและตา่ งประเทศ ซึง่ รายงานน้ีมีเนือ้ หา ความรู้เกี่ยวกบั พุทธศาสนาในประเทศไทย พทุ ธศาสนาในตา่ งประเทศ พุทธศาสนานิกายเถรวาท พทุ ธ ศาสนานิกายมหายาน ผูจ้ ดั ทำหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่า รายงานเลม่ นจี้ ะเป็นประโยชน์กบั ผอู้ า่ น นักเรยี น นักศึกษา ทีก่ ำลงั หา ข้อมลู เร่อื งน้ีอยู่ และไม่ไดม้ เี จตนา ลบหลู่ หรือทำให้เกิดความเสอ่ื มตอ่ ศาสนาแต่อยา่ งใด หากมขี อ้ แนะนำ หรอื ขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ัดทำขอน้อมรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทนี่ ้ีด้วย วรชติ ภูลายยาว นักศึษาช้ันปีท่ี 1/2564 ผจู้ ัดทำ
สารบัญ 1 2 พระพทุ ธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ 3 พุทธศาสนาในไทย 4 4-5 • สมยั ทวารวดี 5 6 • สมัยอาณาจักรอ้ายลาว 7 • สมยั อาณาจกั รศรีวิชัย (พทุ ธศตวรรษที่ 13) 7-12 • สมัยลพบรุ ี (พุทธศตวรรษท่ี 15) 12-13 13 • สมัยเถรวาทแบบพุกาม 13-14 • สมัยกรงุ สุโขทยั • สมัยลา้ นนา • สมยั กรุงศรีอยธุ ยา สมยั อยุธยาช่วงแรก (พ.ศ. 1991 - พ.ศ. 2031) สมยั อยธุ ยาช่วงท่ีสอง ( พ.ศ. 2031 - พ.ศ. 2173) สมยั อยธุ ยาช่วงท่ีสาม (พ.ศ. 2173 - พ.ศ. 2275) สมัยอยุธยาช่วงท่สี ี่ (พ.ศ. 2275 - พ.ศ. 2310) • สมยั กรงุ ธนบุรี • สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ 1 (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2352) รชั กาลที่ 2 (พ.ศ. 2352 - พ.ศ. 2367) รัชกาลท่ี 3 (พ.ศ. 2367 - พ.ศ. 2394) รชั กาลท่ี 4 (พ.ศ. 2394 - พ.ศ. 2411) รชั กาลที่ 5 (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453) รชั กาลที่ 6 (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2468) รชั กาลที่ 7 (พ.ศ. 2468 - พ.ศ. 2477) รัชกาลที่ 8 (พ.ศ. 2477 - พ.ศ. 2489) พระพุทธศาสนาในตา่ งประเทศ • นิกายสำคัญของพระพุทธศาสนา • นกิ ายเถรวาท • นกิ ายมหายาน • เปรียบเทยี บนิกายเถรวาทกับมหายาน
พระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทในทวีปเอเชียใตแ้ ละตะวันออกเฉยี งใต้ 14 • อนิ เดีย • ศรีลงั กา 14-15 • เมียนมาร์ (พมา่ ) 15 • บังกลาเทศ • ลาว 16 • กัมพูชา • เวียดนาม 16-17 • อินโดนเี ซยี และมาเลเซีย 17 พระพุทธศาสนานิกายมหายานในทวีปเอเชียตะวันออก 18 • สาธารณรฐั ประชาชนจนี สาธารณรัฐประชาชนจีน • ไต้หวัน ฮอ่ งกง และชุมชนชาวจนี ในต่างประเทศ 19 • เกาหลีใต้ • ญีป่ ุ่น 20 พระพุทธศาสนานิกายมหายานในทวปี เอเชียกลาง 20-21 • ทเิ บต 21 • สาธารณรัฐเตอรก์ สิ ถานตะวันออก • มองโกเลยี ใน 21-22 • มองโกเลีย 22 • ชาวทิเบตพลัดถิ่น 22-23 • เนปาล 23 • รัสเซยี 24 การเผยแผศ่ าสนาในทวีปยุโรป 25 • การเผยแผ่พทุ ธศาสนาในประเทศอังกฤษ 26 • การเผยแผพ่ ทุ ธศาสนาในประเทศเยอรมนี • การเผยแผพ่ ทุ ธศาสนาในประเทศเนเธอร์แลนด์ • การเผยแผ่พทุ ธศาสนาในประเทศฝร่ังเศส • การเผยแผ่พทุ ธศาสนาในประเทศอดีตสหภาพโซเวยี ต บทสรปุ บรรณานกุ รม
1 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาพุทธ เป็นศาสนาทม่ี ีพระพุทธเจา้ เป็นศาสดา มพี ระธรรมที่พระองคต์ รสั รู้ชอบด้วยพระองคเ์ อง และตรสั สอนไว้เปน็ หลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศกึ ษาปฏบิ ัติตนตาม คำสั่งสอน ธรรม-วินยั ของพระบรมศาสดา เพอื่ บรรลุสู่จุดหมายคอื พระนิพพาน และสร้างสังฆะ ศาสนาพทุ ธเป็นศาสนาอเทวนยิ ม ปฏิเสธการมอี ยขู่ องพระเป็นเจา้ หรือพระผู้สรา้ ง และเช่ือใน ศักยภาพของมนษุ ย์ ว่าทุกคนสามารถพฒั นาจติ ใจ ไปสู่ความเป็นมนษุ ย์ที่สมบรู ณไ์ ด้ ด้วยความเพียรของ ตน กลา่ วคอื ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษยบ์ ันดาลชีวิตของตนเอง ดว้ ยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแหง่ กรรม มไิ ดม้ าจากการอ้อนวอนขอจากพระเปน็ เจ้าและสิ่งศักดส์ิ ิทธิ์นอกกาย คอื ให้พึง่ ตนเอง เพื่อพาตัวเอง ออกจากกอง ทุกข์ มจี ดุ มุ่งหมายคอื การสอนใหม้ นษุ ย์หลุดพน้ จากความทุกข์ทั้งปวงในโลกดว้ ยวิธีการสรา้ ง ปัญญา ในการอยู่กบั ความทุกขอ์ ยา่ งรู้เท่าทันตามความเป็นจริง วตั ถปุ ระสงค์สูงสุดของศาสนาคอื การหลุด พน้ จากความทุกข์ทั้งปวงและวฏั จกั รการเวียนว่ายตาย ปัจจบุ นั ศาสนาพทุ ธได้เผยแผไ่ ปทวั่ โลก โดยมจี ำนวนผนู้ ับถอื ส่วนใหญ่อยใู่ นทวปี เอเชีย ทง้ั ในเอเชยี กลาง เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบนั ศาสนาพุทธ ไดม้ ีผ้นู ับถือกระจายไปท่ัวโลก ประมาณ 700 ล้านคน ด้วยมผี นู้ ับถือในหลายประเทศ ศาสนาพุทธจงึ เปน็ อีกหนง่ึ ศาสนาทเ่ี รยี กว่า ศาสนา สากล พทุ ธศาสนาในไทย พระพทุ ธศาสนาเข้ามาสูด่ ินแดนทเี่ ป็นประเทศไทยในปจั จุบัน เมอ่ื ประมาณ พ.ศ. 236 สมยั เดยี วกันกับประเทศศรลี ังกา ด้วยการสง่ พระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดย การอุปถมั ภ์ของพระเจา้ อโศกมหาราช กษัตริย์อินเดยี ในขณะนนั้ ประเทศไทยรวมอย่ใู นดินแดนที่เรียกว่า สุวรรณภูมิ ซง่ึ มีขอบเขตกวา้ งขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ท้ัง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรลี งั กา ญวน กัมพชู า ลาว มาเลเซีย ซ่งึ สันนิษฐานว่ามีใจกลางอยทู่ จี่ ังหวัดนครปฐมของไทย เนอ่ื งจากได้พบโบราณวัตถทุ ี่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรปู ธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลกั ฐานสำคัญ แต่ พมา่ ก็สนั นษิ ฐานว่ามีใจกลางอย่ทู เ่ี มอื งสะเทมิ ภาคใต้ของพมา่ พระพุทธศาสนาเขา้ มาสสู่ วุ รรณภูมิในยุคน้ี นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอนิ เดีย เดินทางมาเผยแผพ่ ุทธศาสนาในแถบนี้ จน เจรญิ ร่งุ เรืองมาตามลำดับ ตามยคุ สมยั ต่อไป
2 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ สมัยทวารวดี ศาสนาพทุ ธท่ีเข้ามาในสมัยน้ี เปน็ นิกายเถรวาทดั้งเดิม โดยพทุ ธศาสนิกชนมีความศรัทธาเลือ่ มใส บวชเป็นพระภกิ ษุจำนวนมาก และได้สรา้ งสถูปเจดีย์ไวส้ ักการบชู า เรียกวา่ สถปู รปู ฟองนำ้ เหมือนสถปู สาญ จี ในประเทศอินเดียที่พระเจ้าอโศกมหาราชทรงสร้างขึ้น โดยศิลปะในยคุ น้ี เรยี กว่าศลิ ปะทวารวดี สมยั อาณาจกั รอา้ ยลาว สมยั อาณาจกั รอา้ ยลาว ซง่ึ เปน็ อาณาจกั รของบรรพบุรุษชาวไทยที่อาศัยอยู่บริเวณลมุ่ นำ้ แยงซีเกียง ซ่งึ ปจั จุบันอยูภ่ ายใต้การยดึ ครองของชาวจีนฮน่ั ศาสนาพทุ ธในยุคนี้คาดว่าเป็นแบบมหายาน ในสมัยขุน หลวงม้าว กษัตรยิ ์ที่ทรงครองราชย์อยใู่ นอาณาจกั รอ้ายลาว กอ่ นทจ่ี ะอพยพเข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทยใน ปจั จุบนั ได้รบั เอาศาสนาพุทธนิกายมหายาน โดยการนำของพระสมณทูตชาวอินเดียมาเผยแผ่ ในคราวท่ี พระเจ้ากนิษกะมหาราชทรงอุปถัมภก์ ารสงั คายนาคร้ังที่ 4 ของฝ่ายมหายาน ณ เมืองชลนั ธร พระสมณทูต ไดเ้ ขา้ มาเผยแผ่พุทธศาสนาในเอเชียกลาง ทำให้หัวเมอื งไทยทงั้ 77 มีราษฎร 51,890 ครอบครัว เปล่ยี นมา นับถือพุทธศาสนาแบบมหายานแทนเถรวาท
3 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ สมยั อาณาจกั รศรีวชิ ยั (พทุ ธศตวรรษที่ 13) อาณาจักรศรีวิชัยในเกาะสมุ าตราเจรญิ รุง่ เรืองในช่วงพทุ ธศตวรรษท่ี 12-13 กษัตริย์ศรวี ิชยั มีพระ ราชศรทั ธาในพุทธศาสนาอย่างแน่นแฟ้น ดงั หลักฐานท่ปี รากฏ ได้แก่ เจดยี ์พระบรมธาตุไชยา เจดยี โ์ บโรพุท โธ รปู หลอ่ พระโพธิสตั วอ์ วโลกิเตศวร รวมถึงหลกั ฐานทางโบราณคดอี ื่นๆ อกี เป็นจำนวนมากซ่งึ พบกระจาย อยทู่ ัว่ ไปในดนิ แดนสุวรรณภูมิ สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษท่ี 15) ในสมัยกษัตริย์กัมพูชาราชวงศส์ รุ ิยวรมันเรืองอำนาจนั้น ไดแ้ ผอ่ าณาเขตขยายออกมาทวั่ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื และภาคกลางของประเทศไทย ในราว พ.ศ. 1540 และได้ตั้งราชธานเี ป็นท่อี ำนวยการ ปกครองเมืองต่าง ๆ ในดินแดนดังกลา่ วข้ึนหลายแห่ง เมืองตา่ ง ๆ ท่ตี ้ังขึ้นนี้ เมืองลพบรุ ี หรอื ละโว้ ถอื ว่าเป็นเมืองสำคัญท่ีสดุ กษัตริยก์ มั พชู าราชวงศ์สุ ริยวรมัน ทรงนับถอื พุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ซง่ึ มีสายสัมพันธ์เช่ือมต่อมาจากอาณาจักรศรวี ชิ ยั แต่ฝา่ ย มหายานในสมยั นผี้ สมกบั ศาสนาพราหมณม์ าก ประชาชนในอาณาเขตตา่ ง ๆ ดังกลา่ ว จึงได้รบั พุทธศาสนา ทั้งแบบเถรวาทท่ีสืบมาแต่เดิม กบั แบบมหายานและศาสนาพราหมณ์ท่เี ข้ามาใหม่ด้วย ทำให้มีผู้นบั ถอื พุทธ ศาสนาทั้ง 2 แบบ และมีพระสงฆท์ ้ังสองฝ่าย คอื ฝา่ ยเถรวาท และฝา่ ยมหายาน สำหรับศาสนสถานที่เป็นที่ ประจักษ์พยานให้ไดศ้ กึ ษาถงึ ความเป็นมาแห่งพทุ ธศาสนาในประเทศไทยคร้ังนั้น ได้แก่พระปรางค์สามยอด ทีจ่ งั หวัดลพบุรี ปราสาทหินพิมาย ทจ่ี ังหวัดนครราชสีมา และปราสาทหินเขาพนมรุ้งท่จี ังหวดั บรุ ีรมั ย์ เป็นต้น สว่ นพระพุทธรปู ท่ีสร้างในสมัยนน้ั ถือเป็นศิลปะอยู่ในกลมุ่ ศิลปสมยั ลพบรุ ี
4 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ สมยั เถรวาทแบบพกุ าม ในสมัยท่ีพระเจา้ อนรุ ุทธิ์มหาราช กษัตรยิ ์พุกามเรืองอำนาจ ทรงรวบรวมเอาพมา่ กับมอญเขา้ เป็น อาณาจกั รเดยี วกัน แล้วแผอ่ าณาเขตเข้ามาถึงอาณาจกั รลา้ นนา อาณาจกั รลา้ นชา้ ง ละโว้ และทวารวดี พระ เจา้ อนุรทุ ธทรงนับถือพทุ ธศาสนาฝา่ ยเถรวาท ทรงสง่ เสรมิ ทำนบุ ำรุงพุทธศาสนาอยา่ งจริงจงั สว่ นชนชาติไท หลังจากอาณาจกั รอา้ ยลาวถูกจนี ทำลายจนพนิ าศ กไ็ ดม้ าต้ังอาณาจกั รน่านเจา้ ถงึ ประมาณ พ.ศ. 1299 ขุนท้าวกวาโอรสขุนบรมแห่งอาณาจักรนา่ นเจ้า ไดส้ ถาปนาแคว้นโยนกเชียงแสนขน้ึ ตอ่ มาอาณาจกั รนา่ นเจ้าไดถ้ ูกจนี แทรกซมึ เขา้ ทำลายจนพินาศอีกคร้ัง ซ่งึ ในคราวนผ้ี ู้ปกครองของจีนไดใ้ ชว้ ธิ ี แบ่งชาวไทออกเป็นกลุ่มเลก็ กลุ่มนอ้ ยแลว้ ผลกั ดนั ออกไปคนละทศิ ละทาง และนับแต่น้ันเป็นต้นมาชาวไทก็ ไดแ้ ตกสานซา่ นเซ็นจนรวมกันไมต่ ิดอยู่จนถึงวันน้ี คือ ทางตะวันตกได้ถูกจีนผลกั ดันจนแตกกระจัดพลดั พรายไปถงึ อสั สัม (อยู่ทางภาคตะวันออกของอนิ เดียในปจั จุบนั ) สว่ นทางตะวนั ออกก็กระจัดกระจายไปถึง กวางสี หหู นาน เกาะไหหลำ รวมถึงตอนเหนอื ของประเทศเวียดนามในปัจจบุ ัน ส่วนทางใตน้ ั้นกไ็ ดแ้ ก่ ประชากรในประเทศตา่ งๆ ทางเอเชียอาคเนย์ปจั จบุ ัน โดยเฉพาะในประเทศลาวและไทย เมอ่ื กษตั ริยข์ อม (กัมพชู า) เรืองอำนาจ คนไทยท่อี ย่ใู นเขตอำนาจของขอม ก็ได้รบั ทั้งศาสนาและ วัฒนธรรมของเขมรไว้ด้วย ส่วนทางลา้ นนากไ็ ดร้ ับอิทธิพลจากพม่าเช่นเดียวกัน คือ เมื่ออาณาจักรพกุ าม ของกษัตริย์พมา่ เข้ามาครอบครองดนิ แดนแถบน้ี ดงั เหน็ ว่ามปี ูชนยี สถานแบบพม่าหลายแห่ง และเจดีย์ที่มี ฉตั รอยู่บนยอด และฉัตรที่ 4 มุมของเจดยี ์ ก็ได้รับอิทธพิ ลมาจากศลิ ปะพกุ ามแบบพม่า สมัยกรงุ สโุ ขทยั หลังจากอาณาจกั รพุกามและกมั พูชาเส่ือมอำนาจลง คนไทยจึงได้ตัง้ ตัวเป็นอิสระ ได้ก่อตงั้ อาณาจักรขนึ้ เอง 2 อาณาจักร ไดแ้ ก่ อาณาจกั รล้านนาทางภาคเหนอื ของไทย ซึง่ มีศูนยก์ ลางอยู่ท่จี งั หวัด เชยี งใหม่และอาณาจักรสุโขทยั ซงึ่ มีศูนย์กลางอย่ทู จี่ ังหวัดสุโขทยั ในปัจจุบนั เม่ือพอ่ ขุนรามคำแหงมหาราช เสดจ็ ข้ึนครองราชย์ ทรงสดับกติ ตศิ ัพท์ของพระสงฆล์ ังกา จงึ ทรงอาราธนาพระมหาเถระสังฆราช ซ่งึ เป็น พระเถระชาวลังกาท่มี าเผยแผอ่ ยู่ท่นี ครศรธี รรมราช มาเผยแผ่พุทธศาสนาในกรุงสุโขทัย
5 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ พุทธศาสนาแบบลังกาวงศไ์ ด้เขา้ มาเผยแผใ่ นประเทศไทย ถงึ 2 ครั้ง คอื ครั้งท่ี 1 ในสมัยพ่อขนุ รามคำแหงมหาราช และคร้งั ที่ 2 ในสมยั พระยาลไิ ท ศาสนาพุทธเจริญรุง่ เรอื งมาก ศิลปะสมัยสโุ ขทัยได้รบั การกลา่ วขานว่างดงามมาก โดยเฉพาะพระพุทธรปู สมัยสโุ ขทัย มีลกั ษณะงดงาม ไม่มีศิลปะสมยั ใดเหมอื น สมยั ล้านนา ปี พ.ศ. 1839 พญามงั ราย ทรงสร้างราชธานีขน้ึ ชอ่ื ว่า \"นพบุรีศรนี ครพิงค์เชียงใหม\"่ ได้ตัง้ ถิ่นฐาน ณ ลุ่มแมน่ ้ำปงิ ได้สรา้ งเมือง สร้างวงั และวัดข้ึน ทรงทำนุบำรงุ พทุ ธศาสนา ไดส้ รา้ งวัดตา่ ง ๆ มากมาย ท้งั ที่ เป็นฝ่ายคามวาสี และอรัญญวาสี จนพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง เมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรลา้ นนา เช่น เชียงราย ลำพูน ลำปาง แพร่ นา่ น และพะเยา ตา่ งก็มคี วามเจรญิ รุ่งเรือง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ พธิ ีกรรมและ ความเช่ือทางพุทธศาสนามอี ิทธพิ ลตอ่ ชาวล้านนาอยา่ งมาก ในรชั สมัยของพระเจ้าติโลกราชแห่งเชยี งใหม่ ได้ทำการสังคายนาพระไตรปิฎกคร้งั แรกในดินแดนประเทศไทยปัจจุบันขึ้น ณ วดั มหาโพธาราม (วดั เจ็ด ยอด) เมือ่ ปี พ.ศ. 2020 ในสมัยล้านนา ไดเ้ กิดมพี ระเถระนักปราชญ์ชาวลา้ นนาหลายรปู ท่านเหล่าน้ันได้ รจนาคมั ภรี ส์ ำคัญทางพุทธศาสนาไว้เป็นจำนวนมาก ไดแ้ ก่ พระสริ ิมังคลาจารย์ พญาณกติ ตเิ ถระ พระรัตน ปัญญา พระโพธริ ังษี พระนันทาจารย์ และพระสุวรรณรังสี สมยั กรุงศรอี ยุธยา ศาสนาพุทธในสมยั อยธุ ยาน้ันมีความเปน็ ฮินดูปนอยู่ค่อนข้างมาก พธิ ีกรรมตา่ งๆ ได้ปะปนพธิ ขี อง พราหมณม์ ากกวา่ ทีใ่ ดๆ ราษฎรอยธุ ยามุ่งในเรื่องการบุญการกศุ ล สร้างวัดวาอาราม สร้างปูชนียวตั ถุ บำรุง ศาสนาเป็นส่วนมาก ในสมัยอยธุ ยาต้องประสบกับภาวะสงครามกับพม่า จนเกดิ ภาวะวิกฤตทางศาสนา หลายครัง้ ประวัตศิ าสตรอ์ ยุธยาแบง่ เป็น 4 ชว่ ง ได้แก่
6 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ วดั พระพุทธบาทสระบรุ ี หรอื วดั พระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร ในปัจจบุ ัน เหตุที่มีชอ่ื น้เี ปน็ เพราะมีการ สืบหาจนพบรอยพระพุทธบาท ท่ีเมืองสระบรุ ี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม หลังจากนั้น พระมหากษัตรยิ แ์ ทบทุกพระองค์ทรงทำนุบำรงุ และเสดจ็ ไปนมัสการตลอดมา นับตั้งแตส่ มยั กรงุ ศรีอยธุ ยา จนถึงสมยั รตั นโกสินทร์ • สมัยอยุธยาชว่ งแรก (พ.ศ. 1991 - พ.ศ. 2031) ในสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงปกครองบ้านเมอื งด้วยความสงบรม่ เยน็ ทรงทำนุบำรุง พทุ ธศาสนา ผนวชเป็นเวลา 8 เดือน เม่อื พ.ศ. 1998 และทรงให้พระราชโอรสกับพระราชนัดดา ผนวชเป็นสามเณรด้วย สันนิษฐานว่าเป็นการเริม่ ต้นของประเพณีการบวชเรียนของเจ้านายและ ขา้ ราชการ ในรัชสมัยของพระองค์ ได้มกี ารรจนาหนังสอื มหาชาติคำหลวง ในปี พ.ศ. 2025 • สมัยอยุธยาชว่ งทสี่ อง ( พ.ศ. 2031 - พ.ศ. 2173) สมัยน้ไี ด้มีความนิยมในการสรา้ งวัดข้นึ ท้ังกษัตรยิ ์และประชาชนทั่วไป นยิ มสรา้ งวัดประจำตระกลู ในสมยั สมเด็จพระเจา้ ทรงธรรม ไดพ้ บพระพุทธบาท ทเ่ี มืองสระบุรี ทรงให้สร้างมณฑปครอบพระ พทุ ธบาทไว้ และโปรดให้ชมุ ชนราชบัณฑิตแต่งกาพยม์ หาชาติ เมอ่ื พ.ศ. 2170 และโปรดใหส้ รา้ ง พระไตรปฎิ ก ด้วย • สมัยอยุธยาช่วงทีส่ าม (พ.ศ. 2173 - พ.ศ. 2275) พระมหากษัตริย์ทม่ี พี ระนามยง่ิ ใหญ่ท่ีสดุ ในศตวรรษนี้ ได้แก่สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช พระองค์ ทรงมบี ทบาทอยา่ งมากทั้งตอ่ ฝ่ายอาณาจกั รและศาสนจักร ทรงสง่ เสริมพทุ ธศาสนาอย่างแรงกล้า สมยั น้ฝี ร่งั เศสไดเ้ ข้ามาติดต่อกับไทย และได้พยายามเผยแผ่ครสิ ต์ศาสนา และอาจทูลขอให้พระ นารายณ์เขา้ รีต แต่พระองค์ทรงม่ันคงในพทุ ธศาสนา มิชชันนารีฝ่ รัง่ เศสจึงตอ้ งผิดหวังไป • สมยั อยุธยาช่วงทีส่ ี่ (พ.ศ. 2275 - พ.ศ. 2310) พระมหากษัตรยิ ์ที่ทรงมีบทบาทมากในยคุ นี้ ไดแ้ กส่ มเด็จพระเจ้าอย่หู วั บรมโกศ เสวยราช เม่ือ พ.ศ. 2275 การบวชเรียนกลายเป็นประเพณีท่ีปฏบิ ตั ิสืบต่อกันมาถงึ ยคุ หลัง ถงึ กับกำหนดให้ผ้ทู ี่จะเป็น ขนุ นาง มยี ศถาบรรดาศักด์ิต้องเปน็ ผู้ที่ผ่านการบวชเรียนมาเท่านั้น จงึ จะทรงแตง่ ตั้งตำแหนง่ หนา้ ท่ี ให้ ในสมยั น้ไี ด้ส่งพระภกิ ษุเถระชาวไทยไปฟน้ื ฟูพุทธศาสนาในประเทศลังกาตามคำทูลขอของ กษัตรยิ ล์ งั กา เมอื่ พ.ศ. 2296 จนทำใหพ้ ุทธศาสนากลบั เจรญิ รุ่งเรืองในลังกาอกี ครงั้ จนถงึ ปจั จบุ ัน และเกิดนิกายของคณะสงฆ์ไทยข้ึนในลังกา ชอ่ื ว่านกิ ายสยามวงศ์ นิกายนยี้ งั คงมีอย่ถู ึง ปจั จบุ ัน
7 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ สมัยกรงุ ธนบุรี ในยคุ น้ีนบั เป็นยุคแห่งความเสื่อมของพุทธศาสนาอกี สมัยหนึง่ คือนับแต่พระยาตาก (สิน) ไดช้ ักนำ คนไทยเชือ้ สายจนี หนีฝ่าทัพพมา่ ออกจากกำแพงพระนครศรีอยุธยาจนกรุงศรีอยธุ ยาถูกพม่าตแี ตกในปี พ.ศ. 2310 แล้ว พมา่ ได้ทำลายบ้านเมืองจนเสยี หายยอ่ ยยบั ลา้ งผลาญชีวิตคน ปล้นเอาทรพั ยส์ นิ มคี ่า ท้งั หมด กวาดตอ้ นประชาชนไปเปน็ เชลยเป็นจำนวนมาก วัดวาอารามถูกเผาทำลาย ครั้นต่อมาพระยาตาก (สิน) ได้สถาปนาข้นึ เป็นกษัตริย์และต้ังราชธานีใหม่ คอื กรุงธนบรุ ี แลว้ ได้ทำนบุ ำรงุ พุทธศาสนา และไดช้ ำระ วงการศาสนาใหม่ ลงโทษสมณะทก่ี ระทำความชว่ั อันไม่สมกบั ความเป็นสมณะ ด้วยวธิ ีการตา่ งๆ เมอื่ เปลยี่ นแปลงราชวงศ์ ในปีพ.ศ. 2322 เจ้าพระยาจกั รี ก็ไดอ้ ญั เชิญพระแก้วมรกต จากเวียงจันทน์ มาไว้ยัง ประเทศไทยด้วยเชน่ กัน สมยั กรงุ รัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2352) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จข้ึนครองราชย์เมือ่ ปี พ.ศ. 2325 ต่อจาก พระเจ้าตากสิน ได้ทรงยา้ ยราชธานจี ากกรงุ ธนบุรี มาต้งั ราชธานีใหม่ เรยี กช่ือวา่ กรงุ เทพมหานคร อมรรัตรโกสินทร์ มหินทรายธุ ยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานบี ูรรี มย์ อุดมราชนิเวศน์ มหาสถาน อมรพมิ านอวตารสถติ สักกะทตั ตยิ วิษณกุ รรมประสทิ ธิ์ ทรงสรา้ งและปฏสิ งั ขรณ์วัดต่างๆ เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดสุทัศน์เทพวราราม วดั สระเกศ และวัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม เป็นต้น โปรดให้มีการสังคายนาพระไตรปิฎกครงั้ ที่ 9 และถือเป็นครงั้ ท่ี 2 ในดนิ แดนประเทศไทยปจั จบุ ัน ณ วัดมหาธาตุ ทรงตรากฎหมายคณะสงฆ์ข้นึ เพอ่ื จัดระเบียบการปกครอง ของสงฆใ์ หเ้ รียบร้อย ทรงจัดให้มกี ารสอบพระปรยิ ัตธิ รรม ทรงสถาปนาสมเดจ็ พระสังฆราชองค์แรกของ กรงุ รตั นโกสินทร์ โดยสถาปนาพระสงั ฆราช (ศรี) เป็นสมเดจ็ พระสังฆราช เม่ือปี พ.ศ. 2352
8 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ รัชกาลท่ี 2 (พ.ศ. 2352 - พ.ศ. 2367) พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย เสด็จขน้ึ ครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2352 เป็นทรงทำนุบำรุง สง่ เสรมิ พุทธศาสนาเหมือนอย่างพระมหากษัตรยิ ์ไทยแต่โบราณ ในรชั สมัยของพระองค์ไดท้ รงสถาปนา สมเดจ็ พระสังฆราชถงึ 3 พระองค์ คอื สมเดจ็ พระสงั ฆราช (มี), สมเด็จพระสังฆราช (สุก) และสมเด็จ พระสังฆราช (สอน) ในปี พ.ศ. 2357 ทรงจัดส่งสมณทูต 8 รูป ไปฟ้นื ฟพู ทุ ธศาสนาในประเทศลงั กา ไดจ้ ดั ใหม้ ีการจดั งานวันวสิ าขบชู า ข้ึนเป็นคร้งั แรกในสมัยกรุงรตั นโกสินทร์ เมอื่ พ.ศ. 2360 ซึง่ แตเ่ ดิมกเ็ คยปฏบิ ัติถือกันมา เมือ่ คร้งั กรงุ สุโขทัย แตไ่ ดข้ าดตอนไปตง้ั แต่เสยี กรุงศรอี ยุธยาแก่พม่า จงึ ได้มีการฟ้ืนฟูวันวิสาขบูชาใหม่ ได้ โปรดให้มีการเปล่ยี นแปลงแก้ไขวิธีการสอบไล่ปริยตั ธิ รรมขนึ้ ใหม่ ได้ขยายหลักสูตร 3 ชั้น คือ เปรยี ญตรี - โท - เอก และหลักสูตร 9 ช้ัน คอื ชัน้ ประโยค 1 - 9 รชั กาลที่ 3 (พ.ศ. 2367 - พ.ศ. 2394) พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หวั โปรดให้มกี ารสรา้ งพระไตรปิฎกฉบับหลวงเพม่ิ จำนวนขึ้นไว้ อกี หลายฉบบั ครบถว้ นกว่ารัชกาลกอ่ นๆ โปรดให้แปลพระไตรปฎิ กเปน็ ภาษาไทย ทรงบูรณปฏิสังขรณว์ ัดวา อารามหลายแห่งและสร้างวัดใหม่ คือ วัดเทพธิดาราม วัดราชราชนัดดา และวดั เฉลมิ พระเกียรติ ไดต้ ้ัง โรงเรยี นหลวงขึ้นเป็นครงั้ แรก เพื่อสอนหนังสอื ไทยแก่เด็กในสมัยนี้ได้เกิดนิกายธรรมยตุ ิขึ้น โดยพระวชิ รญาณเถระ (เจา้ ฟา้ มงกฏุ ) ขณะท่ีผนวชอยู่ได้ทรงศรัทธาเลือ่ มใสในจรยิ าวตั รของพระมอญ ชื่อซาย ฉายา พทุ ฺธวโํ ส จงึ ไดท้ รงอุปสมบทใหม่ เมอื่ พ.ศ. 2372 ได้ต้ังคณะธรรมยุติข้นึ ในปี พ.ศ. 2376 แลว้ เสด็จมา ประทับทีว่ ัดบวรนิเวศวิหาร และตงั้ เป็นศูนยก์ ลางของคณะธรรมยตุ ิ รัชกาลที่ 4 (พ.ศ. 2394 - พ.ศ. 2411) พระธมเจดีย์ (ช่อื เดิมขององค์พระปฐมเจดีย์) ต่อมาในสมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั (รัชกาลท่ี 4) พระองค์ทรงพระราชทานนามใหม่วา่ พระปฐมเจดีย์ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลที่ 4 เมือ่ ทรงเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎ ไดท้ รงผนวช 27 พรรษา แลว้ ไดล้ าสกิ ขาข้ึนครองราชย์เมอ่ื พระชนมายุ 57 พรรษา ใน พ.ศ. 2394 ด้านการพระศาสนา ทรง พระราชศรทั ธาสร้างวัดใหมข่ ึ้นหลายวัด เช่น วัดปทมุ วนาราม วัดโสมนสั วิหาร วัดมกุฏกษตั รยิ าราม วัดราช ประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม และวัดราชบพธิ เป็นต้น ตลอดจนบูรณะวดั ตา่ งๆ อีกมาก โปรดให้มีพระราชพธิ ี มาฆบูชา ขนึ้ เป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2394 ณ วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม จนได้ถอื ปฏบิ ัติสบื มาจนถึงทุกวันน้ี รัชกาลท่ี 5 (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453) พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั เสดจ็ ข้ึนครองราชย์ เมอ่ื พ.ศ. 2411 ทรงสร้างวดั ใหม่ข้ึน คือ วัดราชบพิตร วัดเทพศิรินทราวาส วัดเบญจมบพิตร วัดอัษฎางนิมิตร วดั จุฑาทิศราชธรรมสภา และวัด นิเวศน์ธรรมประวตั ิ ทรงบูรณะวดั มหาธาตุ และวัดอ่นื ๆ อีก ทรงนิพนธ์วรรณกรรมทางพุทธศาสนาจำนวน
9 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ มาก โปรดให้มกี ารเรม่ิ ต้นการศึกษาแบบสมัยใหมใ่ นประเทศไทย โดยให้พระสงฆร์ ับภาระช่วยการศึกษาของ ชาติ • พ.ศ. 2414 โปรดให้จัดการศึกษาแก่ประชาชนในหวั เมอื ง โดยจดั ตั้งโรงเรียนในหัวเมืองขน้ึ • พ.ศ. 2427 ได้จดั ตงั้ โรงเรยี นสำหรับราษฎรขนึ้ เปน็ แห่งแรก ณ วดั มหรรณพาราม • พ.ศ. 2432 โปรดให้ยา้ ยทรี่ าชบณั ฑิตบอกพระปริยัตธิ รรมแก่พระภิกษุสามเณร จากในวดั พระศรี รัตนศาสดาราม ออกมาเป็นบาลีวทิ ยาลัย ช่อื มหาธาตวุ ิทยาลัย ท่วี ัดมหาธาตุ • พ.ศ. 2435 มีพระบรมราชโองการประกาศตัง้ กรมธรรมการเปน็ กระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการปจั จุบัน) โปรดให้มีการพิมพ์พระไตรปฎิ กดว้ ยอกั ษรไทย จบละ 39 เล่ม จำนวน 1,000 จบ • พ.ศ. 2436 สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงจดั ตัง้ \"มหามกุฏราช วทิ ยาลยั \" ข้ึน เพอ่ื เป็นแหล่งศึกษาพทุ ธศาสนาแกพ่ ระภิกษุสามเณรฝ่ายธรรมยุตนิ ิกาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั เสดจ็ เปิดในปีเดียวกัน • พ.ศ. 2439 ได้ประกาศเปลยี่ นนามมหาธาตวุ ิทยาลยั เป็นมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เปน็ ท่ี ศึกษาพระปริยตั ธิ รรมและวิชาการช้นั สูงของพระภกิ ษสุ ามเณร รัชกาลที่ 6 (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2468) พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจา้ อยูห่ วั เสดจ็ ขึ้นครองราชย์ ทรงพระปรีชาปราดเปร่ืองในความรูท้ าง พระศาสนามาก ทรงนิพนธห์ นงั สอื แสดงคำสอนในพุทธศาสนาหลายเรื่อง เช่น เทศนาเสือป่า พระพุทธเจา้ ตรัสรู้อะไร เป็นตน้ ถึงกับทรงอบรมสงั่ สอนอบรมขา้ ราชการด้วยพระองคเ์ อง • พ.ศ. 2454 สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเปลี่ยนวธิ ีการสอบบาลี สนามหลวงจากปากเปล่ามาเปน็ ขอ้ เขียน เป็นครงั้ แรก • พ.ศ. 2456 โปรดใหใ้ ช้ พุทธศกั ราช (พ.ศ.) แทน ร.ศ. • พ.ศ. 2462 - พ.ศ. 2463 โปรดใหพ้ ิมพ์คัมภีร์อรรถกถาแหง่ พระไตรปฎิ กและอรรถกถาชาดก และ คัมภีร์อื่นๆ เช่น วิสทุ ธมิ รรค คัมภรี ์มลิ นิ ทปัญหา เปน็ ตน้ • พ.ศ. 2469 ทรงเรมิ่ การศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรมใหมข่ ้ึนอกี หลกั สูตรหนึง่ เรียกวา่ \"นกั ธรรม \" โดยมี การสอบคร้งั แรกเม่ือ เดอื นตุลาคม พ.ศ. 2454 ตอนแรกเรียกว่า \"องคข์ องสามเณรรู้ธรรม \" รัชกาลท่ี 7 (พ.ศ. 2468 - พ.ศ. 2477) พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว โปรดให้มกี ารทำสังคายนาพระไตรปิฎกขน้ึ ตั้งแต่ พ.ศ. 2468 - 2473 เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ 6 เปน็ การ
10 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ สงั คายนาครง้ั ท่ี 3 ในเมืองไทย แลว้ ทรงจัดให้พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสยามรฐั ชุดละ 45 เลม่ จำนวน 1,500 ชุด และพระราชทานแก่ประเทศตา่ งๆ ประมาณ 500 ชุด โปรดใหย้ ้ายกรมธรรมการกลบั เขา้ มารวมกับ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และเปล่ยี นชอ่ื กระทรวงศึกษาธิการเปน็ กระทรวงธรรมการอยา่ งเดิม โดยมี พระราชดำรวิ า่ \"การศึกษาไม่ควรแยกออกจากวัด \" ตอ่ มาปี พ.ศ. 2471 กระทรวงธรรมการประกาศเพิ่ม หลักสูตรทางจริยศกึ ษาสำหรบั นักเรียน ได้เปิดใหฆ้ ราวาสเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม โดยจดั หลกั สูตรใหม่ เรยี กว่า \"ธรรมศกึ ษา \" ในรัชสมยั รัชกาลที่ 7 ได้มีการเปลย่ี นแปลงการปกครองคร้ังยงิ่ ใหญข่ องไทย เมอ่ื คณะราษฎร ไดท้ ำ การปฏวิ ตั ิ เปลยี่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย์ เปน็ ระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันท่ี 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2475 ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ทรงสละราชสมบตั ิเม่อื พ.ศ. 2477 และพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวอานันทมหดิ ล ข้ึนครองราชย์เป็นรัชกาลท่ี 8 รัชกาลท่ี 8 (พ.ศ. 2477 - พ.ศ. 2489) พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั อานนั ทมหิดล เสด็จขน้ึ ครองราชยเ์ ปน็ รัชกาลท่ี 8 ในขณะมี พระชนมายุ เพยี ง 9 พรรษาเท่าน้ัน และยังกำลงั ทรงศกึ ษาอยู่ในต่างประเทศ จงึ มผี สู้ ำเรจ็ ราชการแทน พระองค์ ในดา้ นการศาสนาไดม้ ีการแปลพระไตรปฎิ กเป็นภาษาไทย แบง่ เปน็ 2 ประเภท คือ 1. พระไตรปิฎกแปลโดยอรรถ พมิ พ์เปน็ เลม่ สมดุ 80 เลม่ เรียกว่าพระไตรปิฎกภาษาไทย แตไ่ ม่เสรจ็ สมบูรณ์ และได้ทำต่อจนเสร็จเม่ืองานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ในปี พ.ศ. 2500 2. พระไตรปฎิ กแปลโดยสำนวนเทศนา พิมพใ์ บลาน แบ่งเป็น 1250 กัณฑ์ เรยี กว่าพระไตรปิฎกฉบบั หลวง เสรจ็ เม่ือ พ.ศ. 2492 • พ.ศ. 2484 ไดเ้ ปลีย่ นช่ือกระทรวงธรรมการ เปน็ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกรมธรรมการ เปลย่ี นเปน็ กรมการศาสนา และในปีเดยี วกัน รฐั บาลได้ออก พ.ร.บ. คณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 เมือ่ วันที่ 14 ตลุ าคม เพ่ือใหก้ ารปกครองคณะสงฆม์ คี วามสอดคล้องเหมาะสมกับการปกครองแบบ ใหม่ • พ.ศ. 2488 มหามกฏุ ราชวิทยาลัย ซึ่งตั้งขน้ึ เม่ือ พ.ศ. 2436 ได้ประกาศตง้ั เป็นมหาวิทยาลยั สงฆ์ ชอื่ \"สภาการศึกษามหามกฏุ ราชวิทยาลยั \" เมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม • พ.ศ. 2498 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวอานันทมหิดลได้ถกู ลอบปลงพระชนม์ เนือ่ งด้วยความ ว่นุ วายทางการเมอื ง เมือ่ วันที่ 9 มิถุนายน • พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสดจ็ ข้ึนครองราชย์ เป็นรัชกาลท่ี 9 • รัชกาลที่ 9 (พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2559)
11 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลท่ี 9 ทรงจับเบา้ เททองหล่อพระเคร่ืองสำหรับใช้ ในงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ หรือพุทธชยันตี 2500 ปี เรยี กว่า \"พระฉลอง 25 พุทธศตวรรษ \" ณ มณฑล พิธีวัดสุทศั นเทพวรารามราชวรมหาวิหาร (พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวหิ าร 1 ใน 6 ของไทย) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จขึน้ ครองราชย์เป็นรชั กาลท่ี 9 สืบตอ่ มา มีพระ ราชศรทั ธาในพุทธศาสนา และทรงเป็นศาสนูปถัมภก ทรงใหก้ ารอุปถมั ภ์แกท่ ุกศาสนา ทรงสร้างวัดแหง่ หนึ่ง ทีจ่ ังหวัดชลบรุ ี และทรงปกครองบ้านเมอื งโดยสงบร่มเย็น ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ ทรงเป็นประมขุ ในรัชสมัยรัชกาลท่ี 9 ไดม้ ีการสง่ เสรมิ พุทธศาสนาด้านต่างๆ มากมาย ดงั นี้ พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นปคี รบรอบ 2,500 ปีท่พี ระพุทธเจ้าเสด็จดบั ขันธปรินพิ พาน วันท่ี 12-18 พฤษภาคม รฐั บาลได้จัดงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษขน้ึ อยา่ งยงิ่ ใหญ่ ซ่งึ อินเดียและลังกาเรยี กวา่ \"พทุ ธชยนั ตี\" โดย กำหนดใหว้ ันที่ 12-14 พฤษภาคม เป็นวันหยุดราชการ ศาลาพธิ ีต้ังอยู่กลางทอ้ งสนามหลวง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ไดเ้ สดจ็ ฯ เป็นองค์ประธานเปิดงาน มผี ู้แทนจาก 13 ประเทศเขา้ ร่วม มี พระสงฆ์ 2,500 รูป เจริญพระพุทธมนต์พรอ้ มกันดังกังวานก้องไปทัว่ ทุกทศิ และมีการเชิญชวน พทุ ธศาสนิกชนรกั ษาศลี ห้าหรอื ศลี แปด ตลอด 7 วัน 7 คืน รัฐบาลได้กำหนดพธิ เี ฉลิมฉลองท่วั ประเทศ มีการจัดสรา้ งพทุ ธมณฑล ขน้ึ ณ ที่ดิน 2,500 ไร่ ระหว่าง กรุงเทพ-นครปฐม แลว้ สรา้ งพระมหาพุทธปฏมิ าปางประทับยืนลีลาสงู 2500 นวิ้ ภายในบรเิ วณรอบองค์ พระมภี าพจำลองพระพุทธประวัติ และมพี พิ ิธภัณฑ์ทางพุทธศาสนา ไดป้ ลกู ต้นไมท้ ่ีมีชื่อในพทุ ธศาสนา เชน่ ต้นโพธ์ิ ต้นไทร เป็นต้น สร้างพระพมิ พ์ปางลีลาเป็นเนื้อชนิ และเนือ้ ผงจำนวน 4,842,500 องค์ พมิ พ์ พระไตรปฎิ กแปลจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทยออกเผยแพร่ และบูรณะปูชนียสถานวัดวาอารามทั่วพระ ราชอาณาจกั ร อปุ สมบทพระภกิ ษุจำนวน 2,500 รูป และนริ โทษกรรมแกน่ ักโทษ มีการประกวดวรรณกรรม และศิลปะทางพุทธศาสนา โดยเชิญผู้แทนพุทธศาสนิกชนทั่วโลกมาร่วมอนโุ มทนา กระบวนอสิ รยิ ยศอัญเชิญพระบรมสารรี ิกธาตุหลวง จากพระบรมมหาราชวงั ไปประดษิ ฐาน ณ มณฑล พธิ ที ้องสนามหลวง พ.ศ. 2555 รัฐบาลได้กำหนดพิธฉี ลองพุทธชยันตี 2,600 ปี แหง่ การตรัสรู้ เป็นเทศกาลสำคญั ทาง พุทธศาสนาเถรวาท ท่ีมคี วามเกีย่ วเนื่องกบั วันวสิ าขบูชา เพือ่ เฉลมิ ฉลองในโอกาสครบรอบ 2600 ปี แห่ง การตรสั ร้ขู องพระพุทธเจา้ โดยใหม้ ีลักษณะเชน่ เดียวกับการจดั งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ทร่ี ัฐบาลเป็น เจ้าภาพในการจัด โดยท่ปี ระชุมมีมติรว่ มกันดังนี้ ใช้ชือ่ วา่ “งานฉลองสัมพทุ ธชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรูข้ อง พระพุทธเจ้า ” รัฐบาลและคณะสงฆไ์ ทยโดยมหาเถรสมาคม เป็นผู้รบั ผิดชอบการจดั งาน ใช้งบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล การจัดงานแบง่ เป็น 3 ลักษณะ คอื ด้านการปฏบิ ตั บิ ูชา ดา้ นวิชาการ และดา้ นกจิ กรรมเกย่ี วกับ ศลิ ปวฒั นธรรม ระยะเวลาจัดงานในชว่ งสปั ดาห์เทศกาลวิสาขบชู า ประจำปี พ.ศ. 2555 ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม 2555 - วันท่ี 4 มิถุนายน 2555 รวม 7 วัน
12 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ให้มีธงสัญลักษณ์ “งานฉลอง สมั พุทธชยนั ตี 2,600 ปี แห่งการตรสั รู้ของพระพทุ ธเจา้ ” เพอ่ื ให้ทุกวัดทง้ั ใน และตา่ งประเทศใชป้ ระดบั บริเวณวัดและสถานที่เหมาะสม พระพทุ ธศาสนาในต่างประเทศ พระพุทธศาสนาไม่เหมือนศาสนาอ่ืน ศาสนาอ่นื นยิ มเผยแผเ่ ชิงรุก บางศาสนาเขา้ มาเผยแผ่ในประเทศ ไทย มีทีมงานบกุ ขึ้นเหนือล่องใต้ เขา้ ไปในปา่ ในเขา พิมพ์หนังสือไปแจก ไปเยีย่ มเยียน แต่สำหรบั ศาสนา พทุ ธอยา่ ว่าแตเ่ ผยแผ่เชงิ รุกเลย เผยแผเ่ ชงิ รับยังไม่ค่อยพร้อม อยา่ งเช่น ถ้ามี ชาวตา่ งชาตอิ ยากฝึกสมาธิ เดินทางมาถงึ กรงุ เทพฯ พอเจอคนไทยขอให้ช่วย ถามว่าไปฝึกสมาธิท่ไี หนดี คนฟงั กช็ ักงง ๆ เพราะแมแ้ ต่คน ไทยเองก็ยังมที ฝ่ี ึกสมาธิไมม่ าก ย่งิ ถ้าต้องไปสอน ชาวตา่ งชาติทีใ่ ชภ้ าษาองั กฤษบ้าง ฝรั่งเศสบา้ ง ยิ่งยาก เลยตอบไมไ่ ด้ ขนาดเขามาถึงทีแ่ ล้ว แต่เรายังไมพ่ ร้อมทจ่ี ะรบั เขาเลย น่ีคือความจริง ขณะนี้ทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศที่พัฒนาแลว้ กำลงั มีการตื่นตัวสนใจศกึ ษาพระพุทธศาสนา เขาอยากรู้ จรงิ ๆ ตา่ งคนตา่ งไปเสาะแสวงหาข้อมลู แลว้ เอามาแบง่ ปันกัน คล้าย ๆ เป็นชมรมพุทธ กลุ่มที่สอนสมาธิ ใหก้ บั ชาวตา่ งชาติส่วนใหญ่เปน็ ทางดา้ นทิเบต และทางด้านของเซนท่ีมาจากญี่ปุ่นซ่ึงค่อนข้างไปทางวชิ าการ มีหนังสือแนะนำออกมามากมาย ส่วนทิเบตนั้นเนอ่ื งจากเกดิ ปัญหาทางการเมอื ง พระต้องลีภ้ ัยจากทิเบตเข้า มาอนิ เดีย แลว้ กระจายออกไปท่ัวโลก แต่คนทเิ บตในท่ีตา่ ง ๆ ในโลกมีนอ้ ย เพราะฉะนั้นพระทิเบตจึงตอ้ ง สอนธรรมะใหแ้ กค่ นในท้องถ่ิน ทำใหใ้ นปจั จุบันพุทธทิเบตคอ่ นขา้ งเปน็ ทร่ี ู้จักค่กู บั พทุ ธแบบเซน แตพ่ ุทธเถร วาทของเราส่วนใหญไ่ ปเผยแผ่คนไทยเป็นหลัก มคี นต่างชาตบิ ้างนดิ ๆ หนอ่ ย ๆ นี้คอื ภาวะจริง ๆ ทีเ่ กดิ ขึ้น อยา่ งไรกต็ าม แม้ว่าศาสนาพุทธโดยภาพรวมไม่ได้เผยแผ่เชิงรุก แตใ่ นอเมรกิ าขณะนีก้ ็ยังมคี นสนใจ ศกึ ษาศาสนาพุทธจนกระทัง่ เปล่ียนมานับถอื พระพุทธศาสนาเป็นแสน ๆ คน และท่ยี งั ไมเ่ ปลย่ี นศาสนา แต่ ฝึกสมาธิทกุ วัน แล้วปฏิบัติแบบที่พระพทุ ธเจ้าสอน มีเป็นสบิ ๆ ลา้ นคน และมแี นวโน้มเพม่ิ ขน้ึ เรือ่ ย ๆ จน
13 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เขากลา่ วกันวา่ พระพุทธศาสนาเป็นแนวโน้มใหม่ของสังคมอเมรกิ ัน ในยโุ รปก็มีกระแสความสนใจ พระพทุ ธศาสนาเช่นกนั ในญี่ป่นุ ก็มกี ารตื่นตวั หันมาศึกษาเรื่อง เก่ียวกบั จิตใจ หรอื Spiritual Boom ครง้ั ใหญ่ นี้คอื กระแสในประเทศที่เจริญแล้วทัว่ โลก ถา้ หากองค์กรพุทธมีการเผยแผ่เชิงรุกอยา่ งเตม็ ระบบและมี ประสิทธิภาพ พระพทุ ธศาสนาจะขจรขจายไปทงั้ โลกอย่างรวดเร็ว เพราะจดุ แข็งของพระพทุ ธศาสนาก็คือคำ สอน ซึ่งไม่ใช่ความเช่ือ แต่เป็นความจริง ถ้าใครได้ศึกษาและปฏบิ ตั ิตามจะตอ้ งไดผ้ ลอย่างแนน่ อน นกิ ายสำคญั ของพระพุทธศาสนา ศาสนาพทุ ธมนี ิกายที่สำคัญอยู่ 2 นกิ าย อันเกิดจากการสังคายนาครั้งท่ี 2 เปน็ เหตใุ ห้มกี ารถอื พระวนิ ัย แตกต่างกัน คอื นกิ ายเถรวาท ได้แก่ นิกายท่ีทางคณะคณะสงฆอ์ ันมพี ระยศกาลณั บุตรถอื ตามแนวพระพุทธ บัญญัติ ดังทพ่ี ระเถระมพี ระมหากัสสปะเป็นประธานได้ทำสังคายนาไว้ พระสงฆค์ ณะน้เี รยี กอีกอยา่ งหนึ่งว่า พวก \"สถวรี ะ\" หรือในกาลต่อมาถูกพวกนิกายมหายานเรียกวา่ \"หนี ยาน\" ซึง่ แปลว่า ยานเลว ยานเลก็ ยาน คับแคบ ไม่สามารถขนสตั วโ์ ลกไปส่คู วามพ้นทกุ ข์มากได้ เพราะมวี ัตรอันเข้มงวดกวดขัน ทำใหผ้ ู้ปฏบิ ัติบรรลุ จุดหมายปลายทางไดย้ าก แต่ในการประชมุ พุทธศาสนิกสมั พันธแ์ หง่ โลกคร้งั แรกท่ีลังกา เม่ือ พ.ศ. 2493 ที่ ประชมุ ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ใหเ้ ลกิ ใช้คำวา่ \"หนี ยาน\" และใหก้ ลับใช้คำว่า \"เถรวาท\" แทนเพราะเห็นวา่ คำว่า \"หีนยาน\" เกิดขึน้ เพราะการแก่งแยง่ แขง่ ขันในอดตี นิกายเถรวาทน้ีต้ังม่ันอยใู่ นประเทศ ศรีลงั กา พม่า ไทย ลาว และกัมพูชา นกิ ายมหายาน ได้แก่ นิกายท่พี ระภิกษชุ าววัชชีบุตรถอื ตามทีอ่ าจารย์ของตนไดแ้ กไ้ ขขน้ึ ใน ภายหลัง พระสงฆ์คณะนี้เรียกอกี อย่างหน่งึ วา่ \"มหาสงั ฆฺกะ\" หรอื “นิกายอาจาริยวาท” และในเวลาต่อมา เรียกตัวเองวา่ \"มหายาน\" ซึ่งแปลวา่ ว่า ยานใหญ่โตสามารถบรรทกุ สัตว์โลกไปสู่ความพ้นทุกข์ได้มาก เพราะ การแก้ไขวัตรปฏิบัตใิ ห้อำนวยความสะดวกสบายย่ิงข้ึน จะช่วยสามารถนำสัตว์ความพ้นทุกขไ์ ด้จำนวนมาก นิกายมหายานนแี้ พรห่ ลายในประเทศทเิ บต จีน มองโกเลยี เกาหลี เวยี ดนาม สิกขิม และภูฏาน เปรยี บเทียบนิกายเถรวาทกับมหายาน • เถรวาทใชห้ ลกั พระะรรมวนิ ยั เดมิ ไม่มกี ารแกไ้ ขพระธรรมวินัย แต่มหายานเปลยี่ นแปลงแกไ้ ขพระ ธรรมวนิ ัยได้ตามความเหมาะสม • เถรวาทเน้นใหพ้ ระสงฆถ์ อื ศีล ทำใหม้ ีโอกาสบรรลจุ ดุ มงุ่ หมายสูงสุดของชีวติ เร็วกวา่ คฤหสั ถ์ แต่ มหายานบอกวา่ ใครก็ตามท่ีปฎบิ ัติธรรมสมบูรณ์ยอ่ มถึงจุดหมายสูงสุดของชีวิตได้ • เถรวาทเช่อื ว่าพระพุทธเจ้าคือมนษุ ย์ผู้สมบรู ณ์ท่สี ุด เหมือนมนุษย์ทั่วไป แต่มหยานถือว่า พระพทุ ธเจ้าไมใ่ ช่มนุษยธ์ รรมดา
14 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ • เถรวาทถือวา่ พระพุทธเจา้ ดับสนิทหลงั จากปรนิ ิพพาน แต่มหายานถอื วา่ พระพุทธเจา้ เป็นอมตะ ประทบั อยู่ที่แดนสขุ าวดีช่ัวกัลปาวสาน • เถรวาทถอื วา่ ”ภาวะโพธิสัตว์”เปน็ ภาวะจำกัดมีอยู่เฉพาะแกบ่ คุ คลบางกลุม่ ท่ีบำเพ้ญบารมีนานๆ แต่ มหายานถือวา่ ทุกคนมีสทิ ธิเปน็ พระโพธิสัตว์ • พระไตรปฏิ กของเถรวาทเปน็ ภาาบาลี ของมหายานเป็นสันสกฤต พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในทวีปเอเชยี ใตแ้ ละตะวันออกเฉียงใต้ อินเดีย พระพทุ ธศานาเร่ิมเส่ือมอิทธิพลในประเทศอนิ เดียในชว่ งศตวรรษที่ 7 และหายไปหลังจาก การลม่ สลายของจกั รวรรดิปาละในช่วงศตวรรษท่ี 12 ยกเวน้ ทางตอนเหนอื ของหิมาลัยที่ยังคงมกี ารนับถือ พระพุทธศาสนาอยู่ ในชว่ งปลายศัตวรรษท่ี 19 พระพทุ ธศาสนาในประเทศอินเดียได้รบั การฟื้นฟขู ้ึนอีกคร้งั เม่ือผู้นำพุทธศาสนาชาวศรีลงั กา นามว่า อนาคาริก ธรรมปาละ ผ้กู ่อตั้งสมาคมมหาโพธ์ิ ด้วยความ ชว่ ยเหลือจากบันฑิตชาวสหราชอาณาจักร จดุ ประสงค์หลักของพวกเขาคือ การฟ้ืนฟูสถานท่แี สวงบุญทาง พุทธศานาในอินเดีย และพวกเขาก็ประสบความสำเรจ็ ในการสรา้ งวดั ตามพุทธสถานต่าง ๆ ซงึ่ ล้วนแลว้ แต่มี พระสงฆพ์ ำนักอย่ทู ้ังสิ้น ในทศวรรษ 1950 เอ็มเบ็ดการ์ได้เริ่มขบวนการพุทธใหม่ (neo-Buddhist movement) ในกลมุ่ วรรณะทจ่ี ับต้องไม่ได้ ทำให้ผคู้ นหลายรอ้ ยพันคนหันมานบั ถือศาสนาพทุ ธ เพ่ือหลีกเล่ียงปัญหาด้านชนชัน้ วรรณะ ในช่วงสิบปที ่ีผา่ นมา พุทธศาสนาได้รับความสนใจมากขน้ึ ในหมู่ชนชั้นกลางในสังคมเมือง ใน ปัจจบุ นั ประชากรอินเดยี ทงั้ หมดนับถอื พระพุทธศาสนาประมาณ 2% ศรีลังกา ประเทศศรลี ังกาเป็นศนุ ย์กลางการเรียนพุทธศาสนาตง้ั แต่ยุคศตวรรษท่ี 3 ของยุคกอ่ น สากลสมยั เมอื่ พระมหินทเถระ พระโอรสในพระเจ้าอโศกมหาราช นำพระพทุ ธศาสนาเขา้ มาเผยแพร่ใน ประเทศ ประเทศศรลี ังกามีประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาที่ยาวนานทีส่ ุด มีการเสือ่ มคลายเป็น เวลานานในช่วงสงครามและตงั้ แต่ศตตวรรษท่ี 16 เป็นต้นไป เมือ่ เกาะศรีลังกาตกเป็นอาณานิคมและ มิชชันนารีชาวยุโรปชักนำให้ประชาชนเข้ารีตเป็นคริสตศ์ าสนิกชน พระพทุ ธศานาได้รบั การฟ้ืนฟูคร้ังใหญ่ในช่วงปีศตวรรษที่ 19 ดว้ ยความชว่ ยเหลือจากนักวิชาการ และนักเทวปรัชญาชาวสหราชอาณาจักร ดังนั้นในบางคร้ังพทุ ธศาสนาในศรลี งั กาจึงได้รบั การกล่าววา่ เปน็ “ศาสนาพุทธแบบโปรเตสแตนท”์ โดยเน้นเร่อื งการศึกษาพระธรรมและกิจกรรมอภิบาลของสงฆ์และการ ฝกึ สมาธิสำหรบั อุบาสก อุบาสกิ า ประเทศศรลี ังกาไดร้ บั เอกราชในปี 1948 และต้งั แต่นนั้ มา พระพทุ ธศาสนาและวัฒนธรรมชาวพุทธก็ได้รับการฟื้นฟูและใสใ่ จมากข้นึ เรื่อย ๆ ในปจั จบุ ัน 70% ของประชากรศรลี ังกานับถอื ศาสนาพุทธ โดยส่วนใหญ่ปฏบิ ัติตามธรรมเนียมของ นกิ ายเถรวาท หลังจากสงครามกลางเมอื งที่ยาวนานเป็นระยะเวลา 30 ปี ศรีลงั กามีความเป็นชาตนิ ยิ มทาง
15 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ พุทธศาสนามากข้ึน โดยมอี งคก์ รอย่าง Bodu Bala Sena (กองกำลังชาวพุทธ) จัดการประท้วงต่อต้านชาว มุสลมิ และโจมตผี นู้ ำทางศาสนาพทุ ธที่ปานกลาง เมียนมาร์ (พม่า) จากการค้นควา้ ทางประวัติศาสตรเ์ ผยว่า พระพทุ ธศาสนาในประเทศพมา่ นั้นมี ประวตั ิความเป็นมายาวนานกวา่ 2,000 ปีแล้ว โดยมี 85% ของประชากรในปจั จุบันนับถือศาสนาพุทธ การปฏิบตั ิในหมู่สงฆน์ ั้นให้ความสำคญั กับการนั่งสมาธิและการศึกษาพระธรรมอยา่ งสมดุล ส่วนอุบาสก อุบาสกิ าก็มศี รัทธาอนั แรงกล้าในพุทธศานาเสมอมา ชาวพม่าที่มชี ือ่ เสยี งมากที่สุดคนหน่งึ คือ อาจารยส์ ตั ยา นารายัน โกเอ็นกา้ ผสู้ อนวิธกี ารปฏิบัติวปิ ัสสนา เม่อื พมา่ ไดร้ ับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี 1948 ท้ังรฐั บาลประชาชนและทหารไดท้ ำการ สนบั สนุนพุทธศาสนานิกายเถรวาท ภายใต้การปกครองของทหาร พทุ ธศาสนาได้รบั การควบคุมอยา่ ง เครง่ ครัด และสถานปฏบิ ัตธิ รรมทม่ี ีความเห็นต่างจากรฐั บาลมกั โดนทำลายอยเู่ ปน็ นจิ เหลา่ พระสงฆ์นำ ขบวนประทว้ งการปกครองของทหารอยู่หลายคร้ัง เช่น การกอ่ การกำเรบิ 8888 และการปฏิวัตผิ ้ากาสาว พัสตร์ในปี 2007 ในช่วงสบิ ปีท่ีผ่านมา มีกลมุ่ ชาตนิ ยิ มหลายกลุ่มเกิดข้ึนและพวกเขาพยายามฟน้ื ฟูพระพุทธศาสนา เพ่ือตอ่ ต้านศาสนาอสิ ลาม อะชีน วรี ะตู ผู้นำพระสงฆข์ องกลมุ่ 969 ต้ังฉายาให้ตัวเองวา่ “บินลาเด็นแห่ง พม่า” และเสนอการต่อต้านร้านคา้ ของชาวมุสลมิ การกลา่ วอา้ งถึง “การปกป้องพระพทุ ธศาสนา” นำไปสู่ เหตุการณร์ ุนแรงกบั มัสยิดและบ้านของชาวมุสลิม ซึง่ ชาวมุสลมิ กต็ อบโต้ ทำให้เกิดการปะทะกันท่รี นุ แรง ยง่ิ ขึ้น บงั กลาเทศ ประเทศบังกลาเทศเปน็ ศูนย์กลางความศรัทธาจนกระทง่ั ช่วงศตวรรษท่ี 11 ใน ปัจจบุ ันมีประชากรนอ้ ยกว่า 1% ท่ีนับถอื ศาสนาพุทธ และกระจุกอยใู่ นบรเิ วณเนินเขาจิตตะกอง ใกล้กับ ประเทศพมา่ มวี ัดทางพุทธอยู่สี่แห่งในเมืองธากา ซ่งึ เป็นเมืองหลวงของประเทศ และมีวัดอีกหลายแหง่ ใน หม่บู ้านทางตะวนั ออก ขาดการตดิ ตอ่ กับพมา่ อยา่ งไรก็ตามการปฏบิ ัติและความเข้าใจในพระพุทธศาสนา ของประเทศน้ันคอ่ นข้างตำ่ ลาว พระพุทธศาสนาเดินทางมาถึงลาวครั้งแรกในศตวรรษที่ 7 ของยุคสากลสมัย และในปจั จุบัน 90% ของประชากรนบั ถือศาสนาพุทธ พร้อมกบั ความเช่ือเรอ่ื งผสี างเทวดา ในช่วงการปกครองแบบ คอมมิวนิสต์ ทางการไมไ่ ด้ระงับสทิ ธกิ ารนับถือศาสนา แต่ใชค้ วามเชือ่ ทางสงฆเ์ ป็นเคร่ืองมอื ในการตอ่ ยอด ทางการเมอื งของตน เมือ่ เวลาผา่ นไปพระพุทธศาสนาก็ถูกปราบปรามเปน็ อย่างมาก ต้ังแต่ช่วงทศวรรษ 1990 พระพุทธศาสนาได้รบั การบรู ณะฟื้นฟเู ป็นอยา่ งมาก ทำให้ตอนนี้ชาวลาวมจี ิตศรัทธาในพุทธศาสนา อยา่ งแรงกลา้ และผู้ชายส่วนใหญ่จะเข้ารบั การบวช ถงึ แม้จะเป็นระยะเวลาส้นั ๆ ก็ตาม ครอบครวั สว่ นใหญ่ ตักบาตรและไปวัดในวันเดอื นเพ็ญอยูเ่ สมอ
16 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กัมพูชา พระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติมาตงั้ แตศ่ ตวรรษที่ 13 โดยมี ประชากร 95% เป็นพทุ ธศาสนกิ ชนในปัจจบุ ัน ในชว่ งทศวรรษที่ 1970 กลุ่มเขมรแดงพยายามทำลายพุทธ ศาสนาและกเ็ กือบทำได้สำเรจ็ พอถึงปี 1979 พระสงฆ์เกือบทุกรูปโดนฆ่าตาย หรือโดนขับไล่ออกจาก ประเทศ ส่วนวัดวาอารามและหอสมุดทุกแหง่ กโ็ ดนทำลายเชน่ กนั หลังจากการคืนอำนาจให้เจ้าชายสีหนไุ ดข้ ึ้นเป็นกษัตริย์ ขอ้ จำกดั ตา่ ง ๆ ก็ค่อย ๆ ผอ่ นปรนลง และความสนใจในพระพุทธศาสนาก็ฟื้นตวั ขึ้น นอกจากนี้ชาวกัมพูชายังมีความเชอ่ื เรื่องการพยากรณ์ โชคชะตา โหราศาสตร์ และโลกแหง่ วิญญาณเป็นอยา่ งมาก ซ่ึงพระสงฆ์มกั ทำหน้าที่เป็นผู้รกั ษาโรค และเขา้ ร่วมพธิ หี ลากหลายรูปแบบ ตั้งแตก่ ารต้ังช่ือให้เด็ก ไปจนถึงงานแตง่ งานและงานศพ เวียดนาม พระพุทธศาสนาได้เผยแพรเ่ ข้ามาในเวียดนามเมอ่ื 2,000 ปีกอ่ น ตอนแรกมาจาก ประเทศอินเดีย และจากนั้นกม็ าจากประเทศจนี เป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามพระพทุ ธศาสนาเร่มิ ไม่เป็นท่ี นยิ มในหมูช่ นช้ันปกครองในศตวรรษท่ี 15 พุทธศาสนาได้รบั การฟ้ืนฟอู ีกครั้งในต้นศตวรรษท่ี 20 แต่ ในชว่ งการปกครองแบบสาธารณรฐั นโยบายสนบั สนุนนิกายแคทธอลิคกเ็ ปน็ ปรปกั ษ์ต่อพุทธศาสนิกชน ใน ปจั จบุ ันมปี ระชากรเพียง 16% ทนี่ บั ถือศาสนาพุทธ แต่ศาสนาพทุ ธก็ยงั คงถอื เป็นศาสนาทีใ่ หญ่ท่ีสุดใน ประเทศอยดู่ ี ตอนน้ีรฐั บาลมีการผอ่ นคลายเกยี่ วกบั ศาสนาพุทธมากข้ึน แต่ก็ยังไม่อนุญาตใหว้ ัดทำงานเป็น เอกเทศจากรัฐ อินโดนเี ซยี และมาเลเซีย พระพุทธศาสนาเผยแพร่มาถงึ บรเิ วณดังกลา่ วประมาณช่วงศตวรรษที่ 2 ของยคุ สากลสมัย โดยมาทางเสน้ ทางการซ้ือขายกับชาวอินเดยี ตามประวัตคิ วามเป็นมาส่วนใหญ่ พระพุทธศาสนาไดร้ บั การปฏิบตั ิเคียงคู่ไปกบั ศาสนาฮินดูจนถึงศัตวรรษที่ 15 เม่ืออาณาจกั รพุทธ-ฮนิ ดู สดุ ทา้ ยนามว่า มัชปาหิต ลม่ สลาย พอถึงต้นปีศตวรรษท่ี 17 ศาสนาอิสลามก็เขา้ แทนท่ีศาสนาทั้งสองน้ี อยา่ งสมบรู ณ์ จากนโยบายปญั ศีลของรฐั บาลอนิ โดนีเซยี ศาสนาท่ีเป็นทางการจำเป็นต้องแสดงความเช่ือในพระ เจ้า ศาสนาพุทธไม่ได้มีความเช่อื ในพระเจา้ องค์ใดองค์หนึ่ง แตก่ ็ไดร้ บั การยอมรบั ว่าเป็นศาสนาทางการ เพราะความเช่ือใน Adibuddha หรือ “พระพุทธเจา้ องค์แรก” ตามทมี่ ีการกล่าวถึงในกาลจักรตนั ตระ ซึ่ง เฟื่องฟใู นประเทศอนิ เดยี เมือ่ พันปีก่อน Adibuddha เป็นผูร้ ู้แจง้ ทส่ี รา้ งทกุ สรรพส่ิง อยเู่ หนือกาลเวลา และขอ้ จำกัดใด ๆ ถงึ แมว้ า่ ผู้นี้จะถูกกลา่ วถึงในฐานะบุคคลเชงิ สัญลกั ษณ์ แต่กไ็ ม่ใช่ส่ิงมชี ีวิตที่ดำรงอยู่ Adibuddha สามารถพบได้ทุกสรรพสิง่ ในฐานะแสงสวา่ งแหง่ ธรรมชาติของจิตใจ ในปจั จบุ ันศาสนาพุทธ ได้รับการยอมรบั ใหอ้ ยทู่ ่ามกลางศาสนาอ่ืน ๆ อยา่ งศาสนาอิสลาม ฮนิ ดู ลัทธิขงจ๊อื และศาสนาครสิ ต์นิกาย แคทอลิคและโปรเตสแตนท์ พระสงฆ์ชาวศรลี ังกาได้พยายามฟื้นฟพู ระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาทในบาหลีและส่วนอ่ืน ๆ ของ อนิ โดนเี ซยี แต่ก็กระทำไดใ้ นวงทแี่ คบมาก ผทู้ ใ่ี ห้ความสนใจกบั ศาสนาพุทธในบาหลีเป็นผูป้ ฏิบตั ิตามหลัก บาหลีดั้งเดมิ ผสมกับศาสนาฮนิ ดู ศาสนาพุทธ และการนับถือผสี างเทวดาแบบพ้ืนบา้ น ส่วนบรเิ วณอืน่
17 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ของอินโดนีเซีย พุทธศาสนิกชนนบั เปน็ 5% ของประชากร ซึง่ มกั เป็นชาวอินโดนีเซียที่อยู่ในชุมชนชาวจีน นอกจากนยี้ งั มีชาวอินโดนเี ซียกลุ่มเลก็ มากท่ีนับถือพุทธศาสนานิกายผสมผสานหลักปฏิบตั ิของพุทธแบบ เถรวาท จีน และทิเบต 20% ของประชากรมาเลเซียนับถอื พุทธศาสนา ซงึ่ กล่มุ นี้มักประกอบไปด้วยชุมชนเชือ้ สายจีน เม่อื คร่ึงศตวรรษที่แลว้ ความสนใจในพระพทุ ธศาสนาเร่มิ เสือ่ มคลายลง ในปี 1961 จึงมกี ารก่อต้ัง Buddhist Missionary Society ขนึ้ โดยมีจุดประสงค์เพอ่ื การเผยแพรพ่ ุทธศาสนา ในชว่ งสบิ ปีที่ผา่ นมา มีการนำหลักของพทุ ธศาสนาไปปฏบิ ัติมากข้นึ รวมถงึ ในกลุ่มเยาวชนด้วย ตอนนีม้ ีศูนยน์ ิกายเถรวาท มหายาน และวชริ ยานมากมายหลายแห่ง ซึง่ ไดร้ บั ทุนและการสนบั สนุนเปน็ อยา่ งดี พระพุทธศาสนานิกายมหายานในทวปี เอเชียตะวนั ออก สาธารณรัฐประชาชนจีน พระพุทธศาสนามีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตรจ์ นี มานานกว่า 2,000 ปี และพุทธศาสนาแบบจีนก็มีบทบาทในการเผยแพร่พุทธศาสนาในทวีปเอเชยี ตะวันออกอย่างต่อเน่ือง เชน่ กัน ราชวงศถ์ งั ตอนต้น (618–907 ของสากลสมยั ) ถอื เป็นยุคทองแหง่ พระพทุ ธศาสนา รวมท้ังมี ความเฟ่อื งฟูทางดา้ นศิลปะและวรรณกรรม ในช่วงการปฏิวัติวัฒนธรรมยุคทศวรรษท่ี 1960 และ 70 วัดวาอารามของพระสงฆจ์ ีนส่วนใหญ่ถูก ทำลาย พระ แม่ชี และอาจารยส์ อนศาสนาท่ไี ดร้ บั การฝกึ ฝนมาอย่างดีถูกประหารชวี ิต หรือไมก่ ็ถูกคมุ ขงั ในทิเบตและมองโกเลียดา้ นในมกี ารกดขีท่ างพุทธศาสนาหนกั กว่าน้ีเสียอีก เมื่อจนี ได้รับการปฏิรูปและเปิด ประเทศมากขึ้น ความสนใจในศาสนาแบบดัง้ เดมิ ก็กลบั มาใหม่อีกครัง้ มีการสรา้ งวัดใหม่และบรู ณะวัดเก่า ผคู้ นสว่ นใหญ่ที่เข้าร่วมกบั วัดวาอารามเหล่าน้ีมักมาจากครอบครวั ยากจนและมกี ารศึกษาต่ำ ซ่ึงอาศัยอยู่ ตามชนบท วัดหลายแหง่ มีไว้เพอื่ การทอ่ งเที่ยวเท่าน้ัน โดยมพี ระทำหน้าที่เป็นผู้เกบ็ ตัว๋ และดแู ลวดั ในปัจจุบนั มีชาวจีนจำนวนมากหันมาสนใจพระพุทธศาสนามากขนึ้ อยา่ งเห็นไดช้ ัด โดยเน้นพุทธ ศาสนาแบบทเิ บต จำนวนพุทธศาสนิกชนในปจั จุบนั อยู่ที่ประมาณ 20% และวัดส่วนใหญ่ในจีนก็มีผ้เู ขา้ เยยี่ มชมอยา่ งไม่ขาดสาย เมอ่ื หลายคนเร่มิ มีฐานะและชีวิตที่ย่งุ เหยิงมากขึ้น พวกเขาก็ย่อมหาทางออก ดว้ ยการหันเข้าหาพทุ ธศาสนาแบบจนี และทเิ บต พุทธศาสนาแบบทิเบตนน้ั เป็นท่ีสนใจสำหรับชาวจีนฮ่ันเป็น พเิ ศษ ซ่ึงเห็นได้จากจำนวนลามะที่สอนเปน็ ภาษาจีนทเ่ี พิ่มขน้ึ เรอ่ื ย ๆ
18 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ไต้หวัน ฮอ่ งกง และชุมชนชาวจีนในต่างประเทศ ในประเทศไตห้ วันและฮอ่ งกงสามารถเห็น ประเพณขี องศาสนาพุทธนิกายมหายานแบบจนี ได้ชัดเจนทส่ี ุดในทวปี เอเชยี ตะวันออก ไตห้ วันมีชุมชนคณะ สงฆแ์ ละแม่ชีท่แี น่นแฟ้น ซึ่งได้รับการสนบั สนุนเป็นอยา่ งดจี ากผู้มีจิตศรัทธาท่ัวไป นอกจากนย้ี ังมี มหาวิทยาลยั สำหรับพทุ ธศาสนาและโปรแกรมทางพุทธศาสนาสำหรับสงั คมสงเคราะหด์ ว้ ย ฮ่องกงก็มีชุม ชมคณะสงฆ์ทเ่ี ฟอื่ งฟูเช่นกัน สำหรับชุมชนพุทธศาสนิกชนชาวจีนในต่างประเทศอยา่ งในมาเลเซยี สิงค์ โปร์ อินโดนีเซยี ไทย และฟิลิปปินส์น้ัน จะเน้นเรอ่ื งประเพณไี หว้บรรพบรุ ุษ และประเพณีเพอื่ ความเปน็ สิริ มงคลทางการเงินและสุขภาพของผูไ้ หว้ นอกจากนยี้ งั มีรา่ งทรงทสี่ ามารถสอ่ื สารขณะอยู่ในภวังค์ ซงึ่ มกี ล่มุ ผมู้ ีจิตศรทั ธาไปปรึกษาปัญหาด้านสุขภาพและจติ ใจของตนด้วย นักธรุ กิจยกั ษใ์ หญ่ของจีนทเ่ี ป็นผู้ ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจ “สเ่ี สอื แห่งเอเชีย” มักบริจาคเงินจำนวนมากให้พระสงฆ์ทำพิธีเสริมความสำเร็จให้กบั งานดา้ นการเงินของตน ในไตห้ วัน ฮ่องกง สงิ คโ์ ปร์ และมาเลเชยี กม็ ีชาวพุทธแบบทิเบตเพม่ิ ขึน้ ดว้ ยเช่นกัน เกาหลีใต้ พระพุทธศาสนามาถึงคาบสมุทรเกาหลีจากประเทศจีนในปีศตวรรษที่ 3 สากลสมัย ตอนนพ้ี ุทธศาสนาในเกาหลียังถือวา่ ค่อนข้างแขง็ แรง ถงึ แมว้ า่ จะถูกโจมตจี ากองคก์ รคริสต์ทเ่ี ขม้ งวดมาก ขนึ้ กต็ าม ในช่วงสิบปีท่ีผ่านมามีวัดทางพุทธมากมายถกู ทำลาย หรอื เสยี หายจากการเผาไหมโ้ ดยกลมุ่ ดงั กล่าว ปจั จบุ ันมีประชากร 23% เปน็ ชาวพุทธ ญ่ีป่นุ พระพุทธศาสนาเผยแพรม่ าถึงญ่ีปุน่ จากเกาหลใี นช่วงศตวรรษท่ี 5 และมีบทบาทสำคัญอย่าง มากในสงั คมและวัฒนธรรมของญ่ปี ุน่ ตั้งแตป่ ีศตวรรษท่ี 13 มีธรรมเนยี มท่พี ระญ่ีปุ่นสามารถแตง่ งานและ ด่มื แอลกอฮอลล์ได้ พระเหลา่ นค้ี ่อย ๆ เขา้ มาแทนทีว่ า่ พระสงฆจ์ ะตอ้ งปฏิบตั ิพรหมจรรย์ ตาม ประวตั ิศาสตร์แลว้ มีประเพณีแบบพทุ ธบางอยา่ งทเี่ ป็นเชิงชาตินยิ มสุดขั้ว โดยเชอ่ื วา่ ญี่ปนุ่ ถอื เปน็ สรวง สวรรคข์ องพระพุทธศาสนา ในยุคปจั จุบนั มีลัทธทิ ี่เช่อื เรือ่ งวันโลกาพินาศบางกลมุ่ เรยี กตัวเองวา่ เปน็ ชาว พุทธ ถงึ แม้ว่าจะแทบไม่มอี ะไรเกี่ยวขอ้ งกับคำสอนพระศากยมนุ ีพทุ ธเจ้าเลย ประชากรประมาณ 40% เป็นพุทธศาสนิกชน และชาวญี่ปุน่ ส่วนใหญม่ ีความเชอ่ื ผสมผสานระหว่าง พระพทุ ธศาสนากับชินโต ซ่ึงเปน็ ศาสนาดงั้ เดมิ ของญี่ปุ่น พิธีการเกดิ และแต่งงานจะไดร้ บั การเฉลมิ ฉลอง ตามประเพณีของชินโต ในขณะทพ่ี ิธงี านศพจะเป็นหนา้ ท่ีของพระสงฆ์ วดั วาอารามในญ่ีปุ่นไดร้ บั การเก็บรกั ษาไว้เป็นอยา่ งดีทง้ั สำหรบั นักทอ่ งเท่ียวและผู้มาเยือน ถงึ แมว้ ่า วดั บางแหง่ จะเปน็ เชิงพาณชิ ยม์ ากก็ตาม โดยรวมแลว้ การศึกษาและปฏบิ ัตทิ างพทุ ธศาสนานน้ั มีนอ้ ยลงไป อยา่ งมาก ท่ีญ่ีปุ่นมอี งคก์ รพุทธศาสนาท่ีใหญ่ทส่ี ุดในโลกแห่งหน่งึ ชื่อวา่ โซคา กักไก
19 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ พระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานในทวีปเอเชยี กลาง ทเิ บต พทุ ธศาสนาเดนิ ทางมาถงึ ทเิ บตต้งั แต่ศตวรรษที่ 7 ของยุกสากลสมยั การอุปถมั ปข์ อง ราชวงศแ์ ละการสนับสนนุ ของขนุ นางเปน็ เวลาหลายศตวรรษทำใหพ้ ระพุทธศาสนาซึบซับอย่ใู นมมุ มองการ ใช้ชีวิตหลายอย่างของชาวทิเบต หลงั จากการยดึ ครองของสาธารณรฐั ประชาชนจีน พระพุทธศาสนาในทเิ บตกโ็ ดนกดขี่เปน็ อยา่ ง มาก มีเพยี งวัดและสำนักชเี พียงแค่ 150 แห่ง จาก 6,500 แหง่ ที่รอดพ้นจากการทำลาย พระและครูสอน ศาสนาสว่ นใหญโ่ ดนประหารชีวิต หรอื ไมก่ ็เสียชีวิตในค่ายกกั กัน หลังจากการปฏิวัตวิ ัฒนธรรม ก็มีการ บรู ณะวดั ขึ้นโดยความพยายามของผทู้ ่เี คยเป็นพระสงฆ์ คนในพ้ืนท่ี และชาวทิเบตทถี่ ูกเนรเทศออกไป โดย รฐั บาลช่วยสร้างเพยี งแค่สอง หรือสามแห่งเทา่ นั้น รฐั บาลคอมมิวนิสตจ์ ีนไม่เชอื่ ในศาสนา แตย่ อมให้ผคู้ นนับถอื “ศาสนาทไี่ ด้รบั การยอมรับ” ห้าอย่าง ซงึ่ หนึง่ ในนัน้ กค็ อื ศาสนาพุทธ ถงึ แม้พวกเขาจะอ้างวา่ จะไม่ข้องเกยี่ วกบั เร่อื งทางศาสนา หลงั จากท่ีองค์ดา ไลลามะประกาศวา่ เด็กชายทิเบตผู้หนึ่งเปน็ ปันเชนลามะที่กลบั ชาติมาเกดิ นนั้ เด็กคนนี้และครอบครัวของ เขาก็หายตัวไปทันที หลังจากน้ันรฐั บาลจนี จึงออกตามเด็กลูกคร่งึ จีน-ทเิ บต ต้ังแต่นั้นมาตัวเลือกของดา ไลลามะกย็ ังไม่เคยเห็น ในปจั จบุ ัน วัดวาอารามและสำนกั ชมี ีทีมงานของรัฐบาลประจำอยู่ มีตำรวจนอกเครอื่ งแบบทัง้ ชาย และหญงิ ท่ี “ช่วยเหลือแบง่ เบา” งานต่าง ๆ พูดง่าย ๆ ก็คือ คนกล่มุ นค้ี อยจบั ตาดแู ละรายงานเกยี่ วกับ คณะสงฆน์ ี้เสมอ บางครง้ั ทีมงานทวี่ า่ น้ีมจี ำนวนมากเทา่ กับพระและแม่ชีท่ีพำนักอยู่ ณ ทีน่ ั้นเลยทีเดยี ว นอกจากการแทรกแซงของรัฐบาลแล้ว ปัญหาอกี ประการของชาวพุทธในทิเบตคือ การขาดอาจารย์ทม่ี ี คุณสมบัติ พระสงฆ์ แม่ชี และผมู้ จี ติ ศรัทธาตา่ งกก็ ระตือรือร้นอยากเรียนรเู้ พม่ิ เติม แตอ่ าจารย์ส่วนใหญ่ น้นั มีความรู้และประสบการณท์ จี่ ำกัด ในช่วงสบิ ปีท่ผี ่านมา รฐั บาลเปิด “มหาวิทยาลัย” สำหรบั พุทธศาสนา ใกล้ ๆ เมอื งลาซา ทำหนา้ ทีเ่ ป็นโรงเรยี นสำหรับตุลกุ (tulku) วยั เยาว์ ซึ่งสอนภาษาทิเบต อกั ษรวจิ ติ ร การแพทย์ การฝงั เข็ม และปรชั ญาของพุทธศาสนาบางอยา่ ง ยคุ ดิจิตอลไดน้ ำพาหนุ่มสาวชาวทิเบตให้ ใกลช้ ดิ กับพุทธศาสนามากขึ้น หลายคนเป็นสมาชิกกลุ่มในแอป WeChat และ Weibo ทแี่ บง่ ปันการสอน และเรอ่ื งราวทางพุทธศาสนา ตอนนี้การเรียนรู้พุทธศาสนาถอื เป็นวธิ ีการเสริมอตั ลักษณ์ความเป็น “ชาว ทเิ บตอยา่ งแท้จรงิ ” วิธหี นึ่ง สาธารณรัฐเตอร์กิสถานตะวนั ออก วัดวาอารามส่วนใหญ่ของคามิยคยาในสาธารณรัฐเตอรก์ ิ สถานตะวันออก (ซนิ เจยี ง) ถกู ทำลายในช่วงการปฏิวตั ิวัฒนธรรม ตอนนว้ี ัดหลายแห่งไดร้ ับการสร้างใหม่ แลว้ แต่ยงั ขาดอาจารยส์ อนอยมู่ ากกวา่ ในทิเบตเสียอกี พระสงฆร์ ุน่ ใหม่ท้อใจจากการขาดสง่ิ อำนวยความ สะดวกทางการศึกษาและหลายคนก็ลาสิกขาออกไป
20 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ มองโกเลยี ใน กระนนั้ แลว้ สถานการณ์ทยี่ ่ำแยท่ ี่สุดสำหรับชาวพทุ ธแบบทิเบตภายใต้การปกครอง ของสาธารณรฐั ประชาชนจีนคือทม่ี องโกเลียใน วดั วาอารามในฝง่ั ตะวันตกถกู ทำลายในช่วงการปฏิวัติ วัฒนธรรม ส่วนในฝั่งตะวันออก ซงึ่ เคยเป็นของแมนจูเรียกโ็ ดนทำลายโดยกลุม่ ของสตาลินไปเมือ่ สิ้นสุด สงครามโลกครงั้ ที่สอง เมอื่ รัสเซียช่วยปลดปลอ่ ยจนี ตอนเหนือจากการปกครองของญี่ปนุ่ จากท่เี คยมีวดั ถึง 700 แห่ง ก็เหลอื เพียงแค่ 27 แหง่ เท่านั้น ต้ังแต่ทศวรรษท่ี 1980 มีความพยายามในการสถาปนาวัดและสรา้ งวัดขนึ้ ใหม่ซ่งึ ไม่ได้เข้าร่วมโดย ชาวมองโกเลยี เทา่ น้ัน แต่ยงั รวมถึงชาวจนี ฮั่นอีกด้วย มองโกเลีย ในมองโกเลียเคยมีวัดวาอารามอย่หู ลายพนั แห่ง แต่ทั้งหมดถูกทำลายจนหมดสิน้ หรอื เสียหายบางส่วนในปี 1937 ภายใต้คำส่งั ของสตาลิน ในปี 1946 มีวัดแหง่ หน่งึ เปิดขนึ้ อกี ครง้ั ทอ่ี ลู านบา ตาร์ เพอ่ื เปน็ สญั ลักษณเ์ ท่าน้นั และในทศวรรษที่ 1970 ก็มีวิทยาลัยห้าปีสำหรับพระเกดิ ข้นึ หลักสตู รการ เรยี นนั้นยอ่ มากและเน้นการศกึ ษาเก่ียวกับลัทธิมาร์กซิสเป็นอยา่ งมาก โดยพระสงฆไ์ ด้รบั อนุญาตให้ทำพิธี สำหรบั สังคมได้อยา่ งจำกัด หลังการล่มสลายของคอมมิวนสิ ตใ์ นปี 1990 มีการฟื้นฟูพระพทุ ธศาสนาครัง้ ใหญ่ โดยได้รบั ความชว่ ยเหลือจากชาวทิเบตท่ีถกู เนรเทศ พระใหมห่ ลายองค์ถกู ส่งไปฝึกท่ีอนิ เดีย และวดั กวา่ 200 แหง่ ไดร้ บั การสรา้ งข้นึ ใหมใ่ นระดบั ปานกลาง หนงึ่ ในปญั หาใหญ่สำหรบั พระพุทธศาสนาในมองโกเลยี หลังจาก 1990 คอื การมาเยือนของเหลา่ มอร์มอน แอดเวนทสิ ต์ และมชิ ชันนารีชาวครสิ ต์หวั รนุ แรง ซ่งึ เขา้ มาในลกั ษณะครสู อนภาษาองั กฤษ พวก เขาเสนอเงินและความช่วยเหลือให้เด็ก ๆ ในหมู่บ้านได้ไปเรยี นทอี่ เมรกิ า หากพวกเขายอมเปล่ียนศาสนา ทง้ั ยังให้หนังสือสวยงามเก่ยี วกับพระเยซู ซึ่งเขียนเป็นภาษามองโกลอยา่ งสละสลวยฟรีด้วย เมอื่ เด็กและ คนหนุ่มสาวหนั ไปสนใจศาสนาครสิ ตก์ ันมากข้ึน องคก์ รศาสนาพุทธก็เร่ิมแจกจา่ ยข้อมูลเก่ยี วกับพุทธ ศาสนาในภาษาทอ้ งถนิ่ ผ่านทางส่อื สิ่งพมิ พ์ รายการโทรทัศน์และวิทยบุ า้ ง ตอนนก้ี ารบงั คับให้คนเปล่ียนศาสนาเพอ่ื เข้ารีตถอื เป็นสิ่งต้องห้ามในมองโกเลีย ในปี 2010 ประชากร 53% เป็นชาวพทุ ธ และ 2.1% เป็นชาวคริสต์ ชาวทิเบตพลัดถ่ิน การปฏบิ ัติตามธรรมเนยี มพทุ ธของทิเบตนั้นเห็นได้ชัดสุดในชุมชนผู้อพยพชาว ทิเบต ซงึ่ อาศัยอยใู่ กล้เคยี งกับองคด์ าไลลามะผู้พลดั ถ่ินไปอย่ทู อี่ นิ เดียตง้ั แต่ปี 1959 ซึ่งเปน็ การต่อตา้ น การยึดครองจากกองทัพจีน พวกเขาได้เร่ิมวัดวาอารามและสำนักชีใหญ่ ๆ ของทิเบตขนึ้ อกี ครั้ง และเปดิ โปรแกรมการสอนแบบดั้งเดิมเต็มรปู แบบสำหรบั นกั ศึกษาสงฆ์ พระวปิ ปสั นาจารย์ และอาจารย์ มสี ง่ิ อำนวยความสะดวกทางดา้ นการศกึ ษา วิจยั และการตีพมิ พ์ตา่ ง ๆ เพอื่ รักษารูปแบบสำหนักพทุ ธศาสนา แบบทิเบตแตล่ ะสำนักเอาไว้ทั้งหมด
21 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ชาวทเิ บตพลัดถ่ินได้ช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในเขตหิมาลัยของอนิ เดีย เนปาล และภูฏาน รวมถึง ในลาดกั ห์และสิกขิมด้วย โดยการส่งอาจารย์และกระจายการสบื ทอดตา่ ง ๆ พระและแม่ชใี นพื้นที่เหล่าน้ี ได้รบั การศกึ ษาและการฝกึ ปฏบิ ัตใิ นวัดและสำนักชีของผู้อพยพชาวทเิ บต เนปาล ถึงแม้ว่าชาวเนปาลส่วนใหญจ่ ะนบั ถือศาสนาฮินดู เนปาลซึ่งเปน็ สถานท่ปี ระสูตขิ อง พระพุทธเจา้ ก็ไดร้ ับอิทธิพลจากศาสนาพุทธอย่างมากเชน่ กัน กลุ่มชาตพิ ันธุอ์ ยา่ งเนวาร กูรงุ และตามาง ยังคงปฏิบัตติ ามหลกั พุทธศาสนาแบบเนปาลอยู่ ปัจจบุ ันพุทธศาสนิกชนถือเป็น 9% ของประชากรทง้ั หมด เนื่องจากการผสมสานระหว่างศาสนาพทุ ธและฮินดู เนปาลเป็นประเทศเดยี วท่ีมกี ารแบ่งชนช้ัน วรรณะในสงั คมสงฆ์ ในช่วงเวลากว่า 500 ปีท่ผี า่ นมามีพระสงฆ์ที่แตง่ งานในชนชั้นสืบทอด ซง่ึ กลายเป็น ผดู้ แู ลรักษาวัดและผู้นำทางพิธีกรรมตา่ ง ๆ รสั เซยี บเู รียตียา ตูวา และคัลมิเกยี เปน็ สามเขตของรสั เซียทีเ่ คยนับถือศาสนาพุทธแบบทิเบต วดั วาอารามทั้งหมดในเขตเหลา่ นี้ถูกทำลายจนหมดสน้ิ โดยสตาลินในปีทศวรรษ 1930 เหลือไว้แต่วดั สามแห่งท่ี ไดร้ ับความเสยี หาย ในปีทศวรรษท่ี 1940 สตาลนิ เปิดวัดสองแหง่ ขน้ึ อีกครัง้ ในบเู รียตียา ภายใต้การ ควบคมุ อย่างเคร่งครัดของ KGB พระสงฆ์ไดแ้ ตส่ วมจวี รเปน็ เครอื่ งแบบในช่วงกลางวนั เพอ่ื ทำพิธตี า่ ง ๆ หลงั การล่มสลายของพรรคคอมมวิ นิสต์ พระพุทธศาสนาในทง้ั สามเขตจึงได้รับการฟ้นื ฟูข้ึนเป็นอย่างมาก ชาวทเิ บตพลดั ถิน่ สง่ อาจารย์มาท่ีนี่ ส่วนพระสงฆ์รุน่ ใหม่ก็ได้รบั การส่งไปศึกษาในประเทศอินเดยี ปจั จุบันมี การบูรณะวัดมากกวา่ 20 แห่งในบเู รียจยี า ตูวา และคลั มิเกยี การเผยแผ่ศาสนาในทวปี ยุโรป ชว่ งหนึ่งทป่ี ระเทศในทวีปยุโรปมกี ารแสวงหาอาณานิคม ทำใหผ้ คู้ น “บางส่วน”ในประเทศที่นับถือ พระพทุ ธศาสนาได้อพยพเข้าไปอยใู่ นประเทศยโุ รป เมอื่ ไปอยู่ประเทศใดกย็ งั คง “ประพฤตปิ ฏิบัต”ิ ตาม
22 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ หลกั ธรรมคำสอนในพุทธศาสนา ทำใหช้ าวยุโรปเกิดความสนใจศึกษาคน้ คว้าพระไตรปิฎกและคมั ภีร์ต่าง ๆ ดังนี้ การเผยแผพ่ ุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ การเผยแผใ่ นประเทศอังกฤษเริม่ ต้นขนึ้ เม่ือ พ.ศ. 2393 โดยสเปนเซอร์ อารด์ ี ตพี มิ พ์หนังสอื ชอ่ื ศาสนจักรแหง่ บูรพาทิศออกเผยแผ่แตไ่ ม่ประสบผลสำเร็จ มากนัก จนกระท่ังเมอ่ื เซอร์ เอ็ดวิน อารโ์ นลด์ เขยี นหนังสือเรอื่ ง ประทปี แห่งเอเชียออกมาปี พ.ศ. 2422 นับตั้งแต่นน้ั เปน็ ต้นมาทำให้ชาวองั กฤษเร่มิ ตื่นตัวหันมาสนใจในพทุ ธศาสนามากขนึ้ เรื่อย ๆ โดยชาวองั กฤษ ไดร้ ว่ มมือกับชาวพุทธในประเทศตา่ ง ๆ กอ่ ตงั้ สมาคมเพอื่ ดำเนินงานเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศ องั กฤษข้ึนหลายสมาคมท่ีสำคญั ไดแ้ ก่สมาคมบาลปี กรณ์ จดั พมิ พพ์ ระไตรปิฎกเป็นภาษาอังกฤษ พุทธ สมาคมระหว่างชาต(ิ สาขาลอนดอน) ของพมา่ ตีพิมพ์หนังสอื ช่อื พระพทุ ธศาสนา พุทธสมาคมแห่งเกรตบริ เตนและไอร์แลนดไ์ ด้ออกวารสารช่อื พุทธศาสตรป์ รทิ ัศน์สมาคมมหาโพธิ์ (สาขาลอนดอน)ของศรลี ังกาออก วารสารชอ่ื ชาวพุทธองั กฤษ และธรรมจักร เปน็ ตน้ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษนถ้ี งึ แม้ พุทธสมาคมต่าง ๆ จะนับถอื นิกายแตกตา่ งกัน เช่นนกิ ายเถรวาท นิกายมหายาน นิกายเซน นิกายสุขาวดี ฯลฯ แตท่ กุ สมาคมกม็ ีความสามคั คกี ันดีโดยมีการจดั กจิ กรรม และประชมุ กนั บ่อยครั้งเพ่ือทำให้ พระพุทธศาสนาสามารถเผยแผ่ออกไปไดอ้ ย่างกว้างขวาง อีกท้งั ได้มีการจัดต้งั พุทธสถาน หรอื วหิ ารทาง พระพทุ ธศาสนาขน้ึ หลายแห่งในประเทศองั กฤษ เช่น พุทธวิหารลอนดอนของประเทศศรลี งั กา วัดของ มูลนิธิสงฆอ์ งั กฤษทถ่ี นนแฮมสเตท และมวี ัดของชาวพุทธศรลี งั กาท่ีตำบลซิลิค กรงุ ลอนดอน วัดทิเบตท่ี บิดดอล์ฟประเทศสกอตแลนด์ วัดไทยพุทธประทปี ที่กรงุ ลอนดอนเกิดขึ้น ตอ่ มาก็มวี ัดอ่ืน ๆ เช่น วัดปา่ จิตตวเิ วก เมอื งแฮมไชร์ วัดป่าสนั ตธิ รรม เมอื งวอรคิ วัดอมราวดี และวัดสงั ฆทาน เมืองเบอร์มงิ แฮม ทำให้ พระภิกษไุ ทยไดไ้ ปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา สอนวปิ ัสสนากรรมฐานใหแ้ ก่ชาวพุทธวารสารสังคมศาสตร์และ มานุษยวิทยาเชงิ พทุ ธ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562) | 11ในประเทศอังกฤษ โดยเฉพาะวัด ปา่ จิตตวเิ วก วัดอมราวดี และวัดปา่ สันตธิ รรม ได้มีชาวอังกฤษมาบวชศึกษาปฏิบัติจากหลวงพอ่ ชา สุภทั โท พระวปิ ัสสนาจารย์ผ้มู ชี อื่ เสียง แล้วกลับไปเผยแผ่ยังประเทศของตนเอง ทำให้งานเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาจงึ กระจายไปไดอ้ ย่างรวดเรว็ นอกจากนี้ยังมพี ระเขมธัมโมได้เข้าไปสอนนักโทษตามทัณฑสถานตา่ ง ๆ โดย ความรว่ มมอื ของรัฐและผลักดนั ให้คุกเปน็ สถานปฏบิ ัติธรรมของนกั โทษและโครงการองคลุ มี ารเพือ่ ชว่ ยเหลอื นักโทษ โดยมไิ ด้แบ่งว่านับถือศาสนาพุทธหรอื ศาสนาอน่ื ๆ ทำใหม้ ีชาวองั กฤษประกาศตนเปน็ พุทธมามกะมากขึ้นเรอื่ ย ๆ การเผยแผ่พทุ ธศาสนาในประเทศเยอรมนี ชาวพุทธกลุ่มแรกในเยอรมนี นำโดยดร.คาร์ล ไซเกน สติกเกอร์ ได้ก่อตั้งสมาคมเพ่อื การเผยแผพ่ ุทธศาสนาในเยอรมนี ตั้งขน้ึ ที่เมืองเลปซิก เม่อื พ.ศ. 2446 เพ่อื เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศเยอรมนี โดยมีการจดั แสดงปาฐกถาธรรม และสนทนาธรรมเก่ียวกับ พระพุทธศาสนาเป็นประจำ อีกท้งั มีหนงั สอื เกีย่ วกับพระพุทธศาสนาที่มีช่ือเสยี งมาก คือ หนงั สอื พระพทุ ธ วจนะ ซ่งึ เป็นหนังสือทแี่ ปล และเรียบเรยี งจากภาษาบาลีเปน็ ภาษาเยอรมัน โดยพระภิกษุชาวเยอรมันท่ีช่ือ ว่า ทา่ นญาณดลิ กซึ่งหนงั สอื เล่มนยี้ ังได้รับการตพี ิมพเ์ ป็นภาษาอื่น ๆ กว่า 10 ภาษา รวมท้งั ภาษาไทยด้วย
23 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ตอ่ มาในปี 2491 สมาคมมหาโพธใิ นศรลี ังกา ประกาศให้พุทธสมาคมมิวนิกเป็นสาขาทำให้พุทธสมาคมอื่น ๆ ในเยอรมนีมีการศึกษาพระพทุ ธศาสนา คือ มหาวิทยาลัยเฮลในเยอรมนีตะวันตกทำให้มีการประสานกัน กับทางศรลี งั กามากขน้ึ และต่างก็สมัครเข้าเป็นสาขาของสมาคมมหาโพธิ์ดำเนินการเผยเอกสารต่าง ๆ ทำ ให้ชาวเยอรมันไดย้ อมรบั พระพุทธศาสนาตัง้ แตก่ อ่ นสงครามโลกคร้ังท่ี 2 แลว้ แตเ่ ปน็ เพียงกล่มุ ส่วนนอ้ ย เทา่ นั้น จนกระทัง่ เม่อื ลัทธินาซีเรืองอำนาจพระพุทธศาสนาก็เริ่มเสื่อมไปจากประเทศเยอรมนีหลังจาก สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 มผี ลให้เยอรมันถกู แบง่ ออกเป็น 2 ประเทศ พระพุทธศาสนาค่อย ๆ ได้รบั การฟืน้ ฟู ขึ้นมาใหม่ ในประเทศสาธารณรัฐเยอรมนี (เยอรมันตะวนั ตก) อีกทัง้ การเผยแผ่พุทธศาสนาในประเทศ เยอรมันตะวันตก ดำเนินการโดยเอกชนร่วมมอื กบั ภิกษุสงฆ์จากญี่ปุ่น ไทย ศรีลงั กา และทิเบต จัดพมิ พ์ วารสาร และจลุ สารเพ่ือออกเผยแผ่ เชน่ กล่มุ ชาวพุทธเก่า ตีพมิ พ์วารสารชอ่ื ยาน สมาคมพระธรรมทูตศรี ลังกา และชาวพุทธในเมืองฮัมบรู ก์ ออกวารสารพระพุทธศาสนาฉบบั ภาษาเยอรมันนอกจากน้ีก็มีการจดั แสดงปาฐกถาอภิปรายและสนทนาธรรมท่ีกรงุ เบอร์ลนิ ตะวนั ตกประมาณ5 – 10 ครัง้ ต่อเดือน และเมื่อ เยอรมนีตะวันตกได้รวมเขา้ กับเยอรมนีตะวันออกเปน็ ประเทศเดียวก็คงจะมีชาวเยอรมันประกาศตนเป็น พทุ ธมามากะเพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ ซึง่ สว่ นใหญจ่ ะเป็นผู้ที่อาศยั อยใู่ นเมืองฮมั บูร์ก เบอรล์ ิน สตุตการ์ต มิวนกิ โคโลญ และแฟรงค์เฟิร์ต ส่วนการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาท่ีสำคัญจะกระทำกันท่ีศาสนสภาแหง่ กรงุ เบอร์ลนิ ปัจจบุ ันน้ีทส่ี หพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี มวี ัดไทยที่สำคัญ คอื วัดพุทธวิหารที่เมืองเบอรล์ ิน วติ เต นัว วัดไทยมวิ นิคทเ่ี มอื งมวิ นิค และวัดพุทธารามเบอร์ลิน ซึ่งเปน็ ศูนย์การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในเยอรมนี 12 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.4 No.2 (July– December 2019) การเผยแผพ่ ุทธศาสนาในประเทศเนเธอร์แลนด์ พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เขา้ สู่ประเทศ เนเธอรแ์ ลนด์ โดยผา่ นทางพ่อคา้ ชาวดัตช์ และชาวพื้นเมืองจากประเทศศรีลงั กาทเี่ ดินทางไปศกึ ษาเล่าเรยี น ในประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ หลังจากสงครามโลกครง้ั ที่ 2 ได้มชี าวพุทธในกรงุ เฮกได้ฟื้นฟูพระพทุ ธศาสนา ขน้ึ มาอีกครั้งหน่งึ โดยการจดั ตัง้ ชมรมชาวพุทธดตั ชข์ ึ้นมาเพือ่ เป็นศูนยก์ ลางในการพบปะสังสรรค์ของ พทุ ธศาสนิกชนในประเทศเนเธอร์แลนดเ์ พ่ือดำเนินการเผยแผ่และกระทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามหลักของ พระพทุ ธศาสนา ซ่งึ พระพทุ ธศาสนาประเทศเนเธอรแ์ ลนด์จะมกี ารดำเนินการเกี่ยวขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนา เช่น สหภาพพระพุทธศาสนาแหง่ ออสเตรีย ศูนยธ์ รรมจักรแหง่ ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ สมาคมสหายแห่ง พระพทุ ธศาสนาในฟินแลนด์ พุทธสมาคมสวเี ดน เป็นต้น ซึ่งพทุ ธสมาคม และกลุม่ ชาวพุทธต่าง ๆ ได้แปล พระไตรปฎิ กและคัมภรี อ์ ่นื ๆ ทางพระพุทธศาสนาจากภาษาบาลใี หเ้ ป็นภาษาของประเทศน้ัน ๆ พร้อมท้ังมี การจัดทำวารสารจลุ สารต่าง ๆ ออกเผยแพร่ ซ่งึ ปัจจบุ นั การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศเนเธอร์แลนด์ ดำเนินงานโดยพระภิกษุสงฆ์จากประเทศไทยศรีลงั กา และญป่ี ุ่นเปน็ ส่วนใหญ่ และมวี ัดไทยเกิดขึ้นเพอื่ เผย แผพ่ ระพุทธศาสนา คอื วดั พุทธราม และวัดพุทธวิหารอัมสเตอร์ดัม โดยพระธรรมทูตท่ผี า่ นการอบรมจาก มหาวิทยาลัยสงฆไ์ ปอยทู่ ำหนา้ ทเี่ ผยแผ่พระพุทธศาสนา และเป็นที่คาดกันวา่ ในอนาคตอนั ใกล้น้ีคงจะมชี าว ดัตชห์ ันมายอมรับนบั ถือพระพทุ ธศาสนาเพิม่ มากขึ้นเร่ือย ๆ
24 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ การเผยแผพ่ ทุ ธศาสนาในประเทศฝร่ังเศส เรม่ิ ข้ึนราว พ.ศ. 2471 โดยมกี ลุ่มของพทุ ธศาสนิกชน ชาวฝร่ังเศส ซึ่งมีคอนสแตนต์ ลอนสเบอรี เป็นผนู้ ำ ได้ร่วมกนั จัดตั้งพุทธสมาคมชอื่ เล ซามี ดู บุดดิสเม ที่ กรงุ ปารสี พุทธสมาคมแห่งน้ีจะทำการเผยแผ่หลกั ธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแล้ว กย็ ัง ได้จดั ให้มีการแสดงธรรมอภิปรายเร่ืองราวของธรรมะออกวารสารพระพุทธศาสนารายเดือน ฝึกอบรมการ นัง่ สมาธิ และวิปสั สนาให้แก่ผู้ทส่ี นใจ ทั้งยงั ได้นิมนต์พระสงฆ์จากประเทศไทย พม่า ลาว เดินทางไปแสดง พระธรรมเทศนาทกี่ รงุ ปารสี อีกท้ังคอนสแตนต์กย็ งั เป็นผู้รเิ รม่ิ การแปลพระไตรปฎิ กจากภาษาบาลเี ปน็ ภาษา ฝรงั่ เศสด้วยปัจจุบนั สถานะของพระพุทธศาสนาในฝรง่ั เศสยงั ไมร่ ุ่งเรอื งนัก การเผยแผ่ และการจดั กิจกรรม ทางพระพุทธศาสนา ซงึ่ ดำเนินการโดยพระภิกษุจากไทย ญ่ีปุ่น ศรลี งั กา กลุ่มพทุ ธศาสนกิ ชนจากประเทศ ฝรั่งเศส และประเทศอังกฤษ และเมอ่ื ถงึ วันสำคัญทางพทุ ธศาสนาทุก ๆ ปเี ช่น วันวิสาขบูชาชาวพุทธในกรุง ปารีสจะประกอบพิธีเวียนเทียนกันทวี่ ิหารของพทุ ธสมาคมเป็นการสรา้ งพื้นฐานของความเขา้ ใจถงึ การ รวมกนั เป็นหน่ึงของธรรมะได้ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆการรวมจิตให้เป็นหนง่ึ เพอื่ รู้แจง้ ความจรงิ ในสิ่งท้ังหลายท้งั ปวง ซงึ่ เปน็ ที่ยอมรับของประชาชนท่ัวไปในลักษณะเอกภาพในความหลากหลาย การเผยแผ่พทุ ธศาสนาในประเทศอดตี สหภาพโซเวียต อดตี สหภาพโซเวียตมี ดินแดนครอบคลมุ ท้ังยโุ รป และเอเชยี ซง่ึ พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผ่เข้าสู่สหภาพโซเวยี ต ซงึ่ ในขณะนั้น เรยี กวา่ รสุ เซีย เมอื่ คร้งั ทพ่ี วกมองโกลภายใต้การนำของพระจกั พรรดิเจงกิสข่าน ยกทพั วารสาร สังคมศาสตร์และมานษุ ยวิทยาเชิงพุทธ ปีท่ี 4 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2562) | 13มารกุ ราน ยุโรป เมือ่ พ.ศ. 1766 และสามารถปกครองรสุ เซยี อย่เู ป็นเวลานานประมาณ 250 ปแี ต่ทว่ามชี าวรุสเซียเพยี ง สว่ นนอ้ ยเทา่ นั้นท่ียอมรบั พระพทุ ธศาสนา และภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ไดม้ ผี ู้นำพระพทุ ธศาสนาเข้าไป เผยแผ่ในรุสเซยี อีก เช่น มาดามเชอร์บาตรสกแี ละมร.บี.เอน็ .โตโปรอฟ แปลหนงั สอื ธรรมบทจากภาษาบาลี เป็นภาษารสุ เซยี พรอ้ มทัง้ มีการจัดตัง้ พทุ ธสมาคมข้ึนในรุสเซียด้วย มีชอื่ ว่า บิบลโิ อเธคา พุทธคิ า แตก่ าร เผยแผ่พุทธศาสนาก็ทำไดใ้ นขอบเขตทีจ่ ำกัด เนื่องจากสหภาพโซเวียตมรี ะบบการปกครองแบบคอมมิวนสิ ต์ จงึ สั่งหา้ มมใิ หบ้ ุคคล องค์การ สมาคม ทำการโฆษณาเผยแผ่หลักธรรมคำสอนของศาสนาจนกวา่ จะไดร้ บั อนญุ าตจากทางการเสียกอ่ น แต่เม่อื มีการแยกตวั เปน็ รฐั เอกราชตา่ ง ๆ กท็ ำให้ชาวพุทธกระจายกันออกไป แต่ละรัฐ เช่น สหพันธรัฐเซีย สาธารณรัฐลิทัวเนยี สาธารณรัฐคาซคั สถานเป็นต้น ซึง่ โดยมากมักจะนบั ถือ นกิ ายตนั ตระ ส่วนวัดมีเหลอื อยู่เพียงไม่ก่แี หง่ โดยวดั สว่ นใหญแ่ ต่ก็ถูกปรับเปลย่ี น หรือดัดแปลงทำเป็น พพิ ิธภณั ฑ์เพือ่ การศึกษา และบางแห่งก็ทำเปน็ สถานท่ีราชการ ซง่ึ วัดสำคญั ๆ ได้แก่ วัดไอโวกินสกมี หายาน และวัดอีโวลกาในสหพันธร์ ัสเซยี เป็นตน้ ซงึ่ เมื่อสหภาพโซเวยี ตลม่ สลาย พทุ ธศาสนากลับฟนื้ คนื ตัว มีชาว รสั เซียโดยเฉพาะในแถบเอเชียกลางหันกลับมานบั ถือพุทธศาสนา และทำให้เกิดใหม่ของพทุ ธศาสนาใน รสั เซีย(Jim, B. and Prapatson, A., 2011)
25 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ บทสรุป ศาสนาพทุ ธไมว่ ่าจะในประเทศหรือต่างประเทศน้ันมงุ่ เน้นเรอ่ื งการพ้นทุกข์ และสอนให้ร้จู ักทุกข์ และวธิ กี ารดับทุกข์ ใหพ้ ้นจากความไม่รคู้ วามจรงิ ในธรรมชาติ อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสท้ังปวงคือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง รวมทงั้ เน้นการศกึ ษาทำความเขา้ ใจ การการพิจารณาอยา่ งรอบคอบถถี่ ้วน ดว้ ยปัญญา และพิสูจน์ทราบขอ้ เท็จจริง เห็นเหตุผลวา่ สิ่งน้ีมสี ง่ิ นี้จงึ มี จนเหน็ ตามความเป็นจรงิ ว่าสรรพส่ิง ในธรรมชาติเป็นไปตามกฎพระไตรลกั ษณ์ และสัตวโ์ ลกที่เปน็ ไปตามกฎแห่งกรรม แล้วเลือกใช้หลักธรรมใน พุทธศาสนาที่เหมาะกับผลท่ีจะได้ส่ิงท่ีปรารถนาอย่างถูกตอ้ ง ด้วยความไม่ประมาทในชวี ิตให้มีความสุขในทง้ั ชาตินีแ้ ละชาตติ อ่ ๆ ไป ตลอดจนปรารถนาในพระนพิ พานของผู้มีปัญญา
26 | พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ บรรณานกุ รม วกิ พิ ีเดีย สารานกุ รมเสรี .ประวัติศาสนาพุทธ .(2564) .สืบค้น 10 กรกฏาคม 2564 จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสนาพทุ ธ Pajjek . ศาสนาพุทธในประเทศไทย .(2560) .สืบค้น 10 กรกฏาคม 2564 จาก : https://www.norkaew.net/พระพุทธศาสนา/นยิ ามและความเปน็ มา/ศาสนาพุทธในประเทศไทย. html phd.mbu.ac.th. พระพุทธศาสนาในตา่ งแดน .(2561) .สบื ค้น 10 กรกฏาคม 2564 จาก : http://phd.mbu.ac.th/index.php/2014-08-28-08-57-4/163-2018-02-17-10-05-11 นายพันธวุ ัฒน์ คิดงาม .นิกายสำคัญของพระพุทธศาสนา .(2557) .สืบค้น 10 กรกฏาคม 2564 จาก : https://sites.google.com/site/phanuwat0369/sasna-phuthth/3-nikay Art miracle . เปรยี บเทยี บนิกายเถรวาทกับมหายาน .(2555) .สืบค้น 10 กรกฏาคม 2564 จาก : https://beeangle.wordpress.com/ม-๖-ปกี ารศกึ ษา-๒๕๕๕/ม-6-ภาคเรียที่-2/ช้นิ งานท่ี-1/ สรปุ เพิ่มเติม/เปรยี บเทยี บนิกายเถรวาท/ ดร.อเล็กซานเดอร์ เบอร์ซนิ่ .พระพทุ ธศาสนาในโลกปจั จุบัน .(2560) .สืบค้น 10 กรกฏาคม 2564 จาก : https://studybuddhism.com/th/phuthth-sasna-ni-thibet/keiyw-kab-phuthth- sasna/phuthth-sasna-ni-lok/phra-phuthth-sasna-ni-lok-paccuban เดโช แขนำ้ แก้ว .พุทธศาสนาในยโุ รป: ปฐมเหตุและการเปลย่ี นแปลงในปจั จบุ ัน* BUDDHISM IN EUROPE: THE PRIMARY AND CURRENT CHANGES .(2561) .สืบคน้ 10 กรกฏาคม 2564 จาก : https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/download/206076/160394/
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: