Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาการเขียนโปรแกรมควบคุมสมองกล

เนื้อหาการเขียนโปรแกรมควบคุมสมองกล

Published by kruwansp, 2021-11-07 08:23:09

Description: เนื้อหาการเขียนโปรแกรมควบคุมสมองกล

Search

Read the Text Version

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]          

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        สารบญั แบบทดสอบกอ่ นเรียน บทที่ 3 การเขียนโปรแกรมควบคุม อุปกรณเ์ อาทพ์ ตุ บทที่ 1 ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกบั ห่นุ ยนต์ ความรูเ้ บ้ืองต้น การเขียนโปรแกรม Make Code Programming ประวัตขิ องหุ่นยนต์ เป้าหมาย : เพ่ือเรียนรพู้ น้ื ฐานการ Control LED RGB ประเภทของหุ่นยนต์ ผลโปรแกรม : LED RGB เปลยี่ นสีสลับไปมา ประโยชนข์ องหนุ่ ยนต์ ทดสอบทา้ ยบทที่ 3 ทดสอบทา้ ยบทท่ี 1 บทที่ 2 การใชโ้ ปรแกรมภาษาควบคมุ มอเตอร์ บทที่ 4 การเขยี นโปรแกรมสั่งงานสมองกล การเขยี นโปรแกรม Make Code Programming แบบอตั โนมัติ เปา้ หมาย : เพ่ือเรียนรู้พนื้ ฐานการควบคมุ Motor ผลโปรแกรม : วตั ถเุ ดินหนา้ 1 วินาที การเขียนโปรแกรม Make Code Programming เป้าหมาย : เพ่ือเรียนรู้พน้ื ฐานการขบั เคลอื่ น 4 ล้อ เล้ียวขวา 1 วินาที เล้ียวซา้ ย 1 วินาที ควบคมุ ไร้สาย มอเตอร์ 4 ตวั ถอยหลงั 1 วนิ าที วงจรขับมอเตอร์ 2 ชุด ถอยหลังทางขวา 1 วินาที ผลโปรแกรม : วัตถขุ ับเคลอื่ น 4 ล้อ ดว้ ยรีโมท ทดสอบทา้ ยบทที่ 2 กด A+B ตรงกบั เลข 1 ใหห้ ่นุ ยนต์เคลื่อนท่เี ดนิ หนา้ กด A ตรงกบั เลข 2 ให้เลี้ยวซา้ ย    กด B ตรงกับเลข 3 ใหเ้ ล้ียวขวา ถ้าไม่ใช่ท้ัง 3 อันใหห้ ุน่ ยนตห์ ยุด ทดสอบทา้ ยบทท่ี 4 แบบทดสอบหลงั เรียน   

โดย..นางสาวอุไรวรรณ โสภา [email protected]        ความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ยี วกับหนุ่ ยนต์ หุ่นยนต์ หรือ โรบอต (robot) คือเครื่องจักรกลชนิด หนึ่ง มลี ักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกัน หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคุม ระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทั่วไป ห่นุ ยนต์ถกู สร้างขึน้ เพ่ือสำหรับงานทีม่ คี วามยากลำบาก เช่น งานสำรวจในพน้ื ทบี่ รเิ วณแคบหรืองานสำรวจดวง จันทร์ ดาวเคราะห์ที่ไม่มสี ิง่ มีชีวิต ในปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนตเ์ จริญกา้ วหน้าอย่างรวดเร็ว และเริ่มเข้ามา มีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิตแตกต่างจากเม่ือกอ่ นท่ีหุ่นยนต์มักถกู นำไปใช้ ในงานอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีการนำหุ่นยนต์มาใช้งานมากขึ้น เช่น หุ่นยนต์ที่ใช้ในทาง การแพทย์ หุ่นยนต์สำหรับงานสำรวจ หุ่นยนต์ที่ใช้งานในอวกาศ หรือแม้แต่หุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็น เครื่องเล่นของมนุษย์ จนกระทั่งในปัจจุบันน้ีได้มีการพัฒนาให้หุ่นยนต์นั้นมีลักษณะที่คล้ายมนุษย์ เพื่อให้อาศยั อยู่ร่วมกนั กับมนษุ ย์ ให้ได้ในชวี ิตประจำวนั ประวัตขิ องหนุ่ ยนต์ ในสมัยก่อนหุน่ ยนตเ์ ปน็ เพียงจินตนาการของมนุษย์ ที่มีความต้องการไดส้ ิง่ ใดสิง่ หนึ่งเข้ามาช่วยในการ ผ่อนแรงจากงานที่ทำ หรือช่วยในการปฏิบัติงานที่ยากลำบากเกินขอบเขตความสามารถ และจากจินตนาการ ไดก้ ลายเป็นแรงบนั ดาลใจให้มนษุ ย์ คิดประดิษฐส์ ร้างสรรค์หุ่นยนตข์ ึ้นมา จนกลายเปน็ หนุ่ ยนตห์ รอื Robot ใน ปจั จุบนั คำว่า Robot มาจากคำว่า Robota ในภาษาเชก็ ซ่ึงแปลโดยตรงว่า การทำงานเสมือนทาส ถือกำเนิด ขึ้นจากละครเวทีเรื่อง \"Rassum's Universal Robots\" ในปี ค.ศ. 1920 ซึ่งเป็นบทประพันธ์ของ คาเรว ชา เปก (Karel Capek) เนอื้ หาของละครเวทีมคี วามเกี่ยวพันกับจินตนาการของมนุษย์ ในการใฝ่หาสง่ิ ใดมาช่วยใน การปฏิบัติงาน การประดิษฐ์คิดค้นสร้างหุ่นยนต์จึงถือ กำเนิดขึน้ เพือ่ เปน็ เสมือนทาสคอยรับใช้มนษุ ย์ การใช้ชีวิต ร่วมกันระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ดำเนินต่อไปจนกระทั่ง หุ่นยนต์เกิดมีความคิดเช่นเดียวกันมนุษย์ การถูกกดขี่ข่ม เหงเช่นทาสจากมนุษย์ทำให้หุ่นยนต์เกิดการต่อต้านไม่ ยอมเป็นเบี้ยล่างอีก ซึ่งละครเวทีเรื่องนี้โด่งดังมากจนทำ ให้คำว่า Robot เปน็ ที่รูจ้ กั ท่ัวโลก ละครเวทีเรื่อง \"Rassum's Universal Robots\"   

โดย..นางสาวอุไรวรรณ โสภา [email protected]        ในปี ค.ศ. 1942 คำวา่ robot ได้กลายเป็นจุดสนใจของคน ท่ัวโลกอกี ครั้ง เม่อื ไอแซค อสมิ อฟ นกั เขยี นนวนิยายแนววทิ ยาศาสตร์ ไดเ้ ขยี นเร่ืองนวนิยายส้ันเร่อื ง Runaround ซงึ่ ไดป้ รากฏคำว่า robot ในนิยายเรือ่ งนี้ และตอ่ มาไดน้ ำมารวบรวมไวใ้ นนยิ ายวิทยาศาสตร์เร่ือง I-Robot ทำใหน้ กั วทิ ยาศาสตร์ไดท้ ำความรู้จักกับคำวา่ Robot เป็น คร้งั แรกจากนวนิยายเรอื่ งน้ี ห่นุ ยนต์จึงกลายเปน็ จดุ สนใจและเป็น แนวคดิ และจินตนาการของนักวทิ ยาศาสตร์ ในการคิดคน้ และประดิษฐ์ หุน่ ยนต์ในอนาคต       ไอแซค อสิมอฟ  สมยั โบราณการดูเวลาจะใช้นาฬิกาแดด เปน็ เคร่อื งบง่ ช้ีเวลาแตส่ ามารถใชไ้ ดเ้ พียงแคเ่ วลากลางวัน เทา่ น้นั นาฬกิ าทรายจะใชบ้ อกเวลาในเวลากลางคืน จงึ ได้มกี ารคดิ ค้นและประดษิ ฐเ์ ครือ่ งจกั รกลสำหรับบอก เวลาให้แก่มนษุ ยค์ อื นาฬกิ านำ้ (Clepsydra) โดย Ctesibiua of Alexandria นกั ฟิสิกส์ชาวกรีกในปี 250 ก่อน ครสิ ตกาล นาฬกิ าน้ำน้ใี ชบ้ อกเวลาแทนมนษุ ย์ที่แตเ่ ดิมต้องบอกเวลาจากนาฬกิ าแดดและนาฬกิ าทราย โดยใช้ พลังงานจากการไหลของน้ำ เปน็ ตัวผลกั ทำให้กลไกของ นาฬิกาน้ำทำงาน และถอื เป็นเคร่ืองจักรเครอื่ งแรกที่ มนษุ ย์สรา้ งขนึ้ เพอื่ ใช้สำหรับทำงานแทนมนษุ ย์ และเมอ่ื มนุษยไ์ ดร้ จู้ กั และเรยี นรู้เกีย่ วกับไฟฟา้ ความคิด สร้างสรรค์ในการควบคุมเคร่อื งจกั รโดยไมต่ ้องใช้ กระแสไฟฟ้าก็เริ่มข้นึ Nikola Tesia เปน็ บุคลแรกท่ี สามารถใชค้ ลนื่ วิทยุในการควบคมุ หุน่ ยนต์เรือขนาดเลก็ ในกรุงนิวยอรก์ ในปี ค.ศ. 1898 ภายในงานแสดง ผลงานทางด้านไฟฟา้   นาฬิกาน้ำ (Clepsydra)   

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        ปี ค.ศ. 1940 - 1950 หนุ่ ยนตช์ ่อื Alsie the Tortoise ได้ถอื กำเนิดขึ้นโดย Grey Walter หุน่ ยนตร์ ปู เต่าสร้างจากมอเตอรไ์ ฟฟา้ นำมา ประกอบเป็นเคร่ืองจักร สามารถเคลื่อนทไ่ี ดด้ ว้ ยลอ้ ท้งั 3 ต่อมาหนุ่ ยนต์ชือ่ Shakey ไดถ้ ูกสร้างขน้ึ ใหส้ ามารถเคล่อื นทไี่ ดเ้ ชน่ เดียวกับ Alsie the Tortoise โดย Standford Research Institute:SRI แต่มคี วามสามารถ เหนอื กวา่ คอื มีความคิดเป็นของตนเองโดยที่ Shakey จะมสี ญั ญาณเซนเซอร์ เปน็ เครอ่ื งบอกสัญญาณในการเคลือ่ นที่ไปมา ซ่ึงนอกเหนือจากหุ่นยนตท์ ี่ สามารถเคลอ่ื นทไี่ ปมาด้วยล้อแล้ว หุน่ ยนตช์ อื่ Alsie the Tortoise ในปี ค.ศ. 1960 ห่นุ ยนต์ท่ชี ่ือ General Electric Walking Truck ทส่ี ามารถเดินไดด้ ้วยขากถ็ อื กำเนดิ ขึ้น มขี นาดโครงสรา้ งใหญโ่ ตและ หนกั ถึง 3,000 ปอน์ด สามารถกา้ วเดินไปดา้ นหน้าดว้ ยขาท้ัง 4 ข้างดว้ ย ความเร็ว 4 ไมล์/ช่ัวโมงโดยการใช้คอมพิวเตอร์ในการควบคมุ การเคลือ่ ไหว ของขา General Electric Walk Truck ได้รับการพัฒนาโครงสรา้ งและ ศักยภาพโดยวิศวกรประจำบรษิ ัท General Electric ชื่อ Ralph Moser หุ่นยนตท์ ่ีช่อื General Electric Walking Truck ภายหลงั จากทหี่ ุน่ ยนตเ์ รม่ิ เป็นทร่ี ้จู กั ไปทั่วโลก หุ่นยนต์เรมิ่ เข้ามามีบทบาทความสำคัญในด้านตา่ ง ๆ เกย่ี วขอ้ งสมั พันธก์ บั ชวี ติ ของมนษุ ย์ โรงงานอุตสาหกรรมเรมิ่ มคี วามคิดใช้หุ่นยนตแ์ ทนแรงงานมนุษย์เดิม หุ่นยนตด์ า้ นอุตสาหกรรมตวั แรกทช่ี อ่ื Unimates ได้ ถือกำเนดิ ขน้ึ ในปี ค.ศ. 1950 - 1960 โดย George Devol และ Joe Engleberger ซึงต่อมา Joe ได้ แยกตัวออกมาจาก George โดยเปดิ บริษัทสรา้ ง หนุ่ ยนต์ในช่อื ของ Unimation ซง่ึ ต่อมาผลงานในดา้ น หนุ่ ยนตข์ อง Joe ไดร้ บั สมญานามว่า \"บิดาแห่ง หุ่นยนตด์ ้านอุตสาหกรรม\" หนุ่ ยนต์ด้านอุตสาหกรรมตัวแรกท่ีชอื่ Unimates   

โดย..นางสาวอุไรวรรณ โสภา [email protected]        ประเภทของหนุ่ ยนต์ เทคโนโลยีทส่ี ำคัญในยคุ ดิจทิ ัล: เทคโนโลยหี ุ่นยนตแ์ ละระบบอัตโนมตั ิ Tech Series: Robotics and Automation System เครอื่ งจกั รกลอตั โนมัติทุกชนิดทีอ่ อกแบบให้สามารถทำงานแทนมนุษยใ์ นงานบางประเภท โดยทำงาน ด้วยคำสั่งเดมิ ซำ้ ๆ ในรปู แบบที่มคี วามซบั ซ้อนและยืดหยนุ่ ไดด้ ี สามารถถูกปรบั เปลยี่ นโปรแกรมให้ทำงานได้ หลากหลายกวา่ และอาจถกู ติดตงั้ ระบบปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ทำใหส้ ามารถตดั สินใจ เองได้ และระบบอตั โนมัติ (Automation System) หมายถงึ ระบบหรอื กลไกทส่ี ามารถเริม่ ทำงานไดด้ ้วยตัวเอง โดยทำงานตามโปรแกรมที่วางไว้ ประเภทของหุ่นยนต์ สามารถแบ่งแยกได้หลากหลายรปู แบบตามลักษณะเฉพาะของการใช้งาน ได้แก่ การแบ่งประเภทตามการเคล่ือนที่ นอกจากนี้อาจจำแนกตามรูปลักษณภ์ ายนอกดว้ ยก็ได้ - การแบ่งประเภทตามการเคล่ือนที่ได้ 1. หุน่ ยนตท์ ีต่ ดิ ต้งั อยกู่ บั ท่ี ไมส่ ามารถเคลอื่ นท่ไี ด้ หรือหนุ่ ยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robot) หนุ่ ยนตท์ ต่ี ิดต้ังอยู่ กับที่ สามารถเคลื่อนไหวไปมาแต่ไม่สามารถเคลือ่ นท่ีได้ หุ่นยนต์ในประเภทน้ี ได้แก่ แขนกลของห่นุ ยนตท์ ใ่ี ช้ในงานด้านอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ เช่นงานด้าน อุตสาหกรรมผลติ รถยนต์แขนกลของหุ่นยนตท์ ใ่ี ชง้ านในดา้ นการแพทย์ เชน่ แขนกลทใ่ี ช้ในการผา่ ตัด หนุ่ ยนตป์ ระเภทนจี้ ะมีลักษณะโครงสร้างทีใ่ หญโ่ ต เทอะทะและมนี ้ำหนักมาก ใช้พลงั งานให้สามารถเคลือ่ นไหวได้จากแหลง่ จา่ ย พลงั งานภายนอก และจะมกี ารกำหนดขอบเขตการเคลื่อนไหวของหุน่ ยนต์ เอาไว้ ทำใหห้ ุน่ ยนต์สามารถเคล่อื ไหวไปมาได้ในเฉพาะทที่ กี่ ำหนดเอาไว้ เท่านนั้ 2. หุน่ ยนตท์ ่ีสามารถเคลอ่ื นไหวและเคลอ่ื นที่ได้  หรอื หุ่นยนตบ์ ริการ (Service Robot) หุ่นยนต์ทส่ี ามารถเคลอ่ื นไหว รา่ งกายไปมาได้อย่างอิสระ หมายความถึงหนุ่ ยนตท์ ่ีสามารถเคล่อื นยา้ ยตัวเอง จากตำแหน่งหนงึ่ ไปยังอีกตำแหน่งหน่งึ ได้อยา่ งอิสระ หรือมีการเคล่ือนที่ไปมาใน สถานท่ีต่าง ๆ เช่น หนุ่ ยนตท์ ี่ใชใ้ นการสำรวจดวงจนั ทรข์ ององค์กรนาซา่ หุน่ ยนต์ สำรวจใตพ้ ภิ พหรือห่นุ ยนต์ที่ใชใ้ นการขนถา่ ยสนิ ค้า ซง่ึ หนุ่ ยนตท์ ีส่ ามารถ เคลื่อนไหวได้นี้ ถกู ออกแบบลกั ษณะของโครงสร้างใหม้ ขี นาดเลก็ และมรี ะบบ เคลอื่ นที่ไปมา รวมทง้ั มีแหลง่ จา่ ยพลงั สำรองภายในร่างกายของตนเอง แตกตา่ ง จากห่นุ ยนต์ทีไ่ มส่ ามารถเคลอ่ื นทไ่ี ปมาได้ ซึ่งจะต้องมแี หลง่ จา่ ยพลงั งานอยุภ่ ายนอก   

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        - การแบ่งประเภทตามลักษณะรปู รา่ งภายนอก โดยท่ัวไป หุ่นยนต์ยังถกู จำแนกตามลกั ษณะรปู ลกั ษณภ์ ายนอก และมีคำศพั ทเ์ ฉพาะเรียกต่างๆกนั ไป ไดแ้ ก่ 1. หุน่ ยนตฮ์ วิ แมนนอยด์ (Humanoid Robot) เป็นลกั ษณหนุ่ ยนตท์ เ่ี หมอื นกับมนุษย์ 2. แอนดรอยด์ (Android) เป็นการเรยี กหนุ่ ยนตค์ ลา้ ยมนุษยท์ ีส่ ามารถแสดงออกเหมอื นมนษุ ย์ แม้วา่ รากศัพทภ์ าษากรีกของคำน้หี มายถงึ เพศชาย แต่การใช้ในบริบทภาษาอังกฤษมักไม่ไดม้ ีความหมาย เจาะจงวา่ เปน็ เพศใด 3. จนี อยส์ (Gynoid) เป็นการเรยี กหุ่นยนตค์ ล้ายมนุษยเ์ พศหญิง 4. แอ็คทรอยด์ (Actriod) เปน็ หุ่นยนต์ทีเ่ ลยี นแบบพฤติกรรมมนษุ ย์ เช่น กะพรบิ ตา หายใจ เริม่ พฒั นาโดย มหาวิทยาลยั โอซาก้าและบริษัทโคโคโระ 5. ไซบอรก์ (Cyborg) เปน็ หุ่นยนต์ทเี่ ช่ือมตอ่ กับส่งิ มชี วี ติ หรอื ครื่งคนคร่ึงหนุ่ เรม่ิ ปรากฏครง้ั แรกใน เรือ่ งแต่งปี 1960 6. นาโนโรบอท (Nanorobot) เปน็ หุ่นยนตข์ นาดเล็กมาก ขนาดประมาณ 0.5-3 ไมครอน ส่วนประกอบของหุน่ ยนต์ ประกอบดว้ ย 3 ส่วนหลกั ดงั นี้ 1. สว่ นการควบคมุ เปน็ เทคโนโลยีทเ่ี น้นศึกษาดา้ นการออกแบบช้นิ สว่ นห่นุ ยนต์การประกอบหุน่ ยนต์ และการควบคมุ การเคล่อื นทข่ี องหุ่นยนต์ 2. สว่ นการรบั รู้ เป็นเทคโนโลยีทเ่ี นน้ พัฒนาสว่ นของการรบั รู้ขอ้ มลู ของหนุ่ ยนตจ์ ากอปุ กรณเ์ ซน็ เซอร์ ตา่ งๆ รวมทง้ั ระบบ Computer Vision ทที่ ำใหห้ ่นุ ยนต์มองเห็น หรือตรวจสอบระยะใกล้ไกลของวัตถุ โดย ขอ้ มลู ท่ไี ด้มานนั้ จะนำมาประมวลผลและส่งต่อคำสง่ั ไปทตี่ ัวขับเคล่ือนตา่ งๆ 3. ส่วนการเขา้ ใจ เปน็ เทคโนโลยที ่ีเนน้ การพฒั นาระบบการตัดสินใจของหุ่นยนต์เมือ่ ได้รับขอ้ มลู จาก ตวั ตรวจจับ ซึง่ เป็นการใช้หลักการของวิศวกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละมีความเก่ียวขอ้ งกบั เทคโนโลยี AI และ ศาสตร์ Machine Learning   

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        วิทยาการพฒั นาหนุ่ ยนต์ แบ่งไดเ้ ปน็ 5 วทิ ยาการหลกั ดังน้ี 1. วิทยาการดา้ นปฏิสมั พนั ธ์ เปน็ ศาสตรท์ เี่ ก่ยี วขอ้ งกับ AI ท่ีเนน้ พฒั นาดา้ นการตคี วามของหุ่นยนต์ ต่อกลุ่มคำหรอื สิ่งตา่ งๆ ทีพ่ บเจอ 2. วทิ ยาการด้านการเคล่อื นที่ อาศัยความรู้ดา้ นพลศาสตร์ พฒั นาตวั ขบั เคลือ่ นทชี่ ่วยในการ เคลื่อนไหวของหุ่นยนต์ 3. วิทยาการดา้ นการนำทาง ศกึ ษาระบบนำทางอตั โนมตั ิท่ีทำให้หนุ่ ยนตส์ ามารถตรวจจบั เส้นทางและ วางแผนเสน้ ทางในการเคลือ่ นที่ เพอื่ จะไม่ไปชนกับวตั ถุส่ิงกดี ขวางต่างๆ 4. วทิ ยาการดา้ นการเคล่อื นยา้ ยช้นิ งาน ศึกษาดา้ นการเคลื่อนไหวของแขนหนุ่ ยนต์ในลกั ษณะตา่ งๆ 5. วทิ ยาการด้านปญั ญา ศกึ ษาด้านการทำความเขา้ ใจข้อมลู ด้วยตวั เองของหุน่ ยนต์ โดยจะเหน็ ได้ว่า ภาคอุตสาหกรรมของไทยในปจั จบุ ันไดเ้ ร่ิมมกี ารนำหนุ่ ยนต์และระบบอตั โนมตั เิ ข้ามาใช้งาน มากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยหี ุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัตมิ ปี ระโยชนต์ ่อระบบการผลิตสนิ คา้ เชน่ ประสทิ ธิภาพ ของระบบการผลิตทเ่ี พมิ่ ขน้ึ รอบการผลิตทล่ี ดลง ต้นทุนการผลติ ที่ลดลง ของเสยี จากการผลติ ที่ลดลง และ ความน่าเช่ือถือในการรกั ษาคณุ ภาพสนิ ค้าท่เี พมิ่ ขึ้น   

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        การเขียนโปรแกรม Make Code Programming เปา้ หมาย : เพอื่ เรยี นรู้พื้นฐานการควบคุม Motor ผลโปรแกรม : วัตถุเดินหนา้ 1 วนิ าที เล้ียวขวา 1 วินาที เลยี้ วซา้ ย 1 วินาที ถอยหลงั 1 วินาที ถอยหลังทางขวา 1 วินาที ขนั้ ตอนการเขยี นโปรแกรม 1. เข้าไปที่ Link : https://makecode.microbit.org เพ่อื เขา้ หน้าโปรแกรม make code คลกิ เลอื ก New Project จะได้หนา้ ต่างดังรูป     2. ใหค้ ลกิ ท่ี Icon เลือก Extensions หรอื กด Advanced เลือก Extensions   

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        3. จะปรากฏหนา้ ต่าง Extensions สำหรับคน้ หา พมิ พ์ขอ้ ความ “maqueen” แลว้ กด Enter หรอื กดรปู แว่นขยาย จะปรากฏฟงั กช์ ั่นพเิ ศษ maqueen 4. คลิกเลือก Teb maqueen เพื่อทำการ Add Library Maqueen เขา้ มาในโปรแกรม   

โดย..นางสาวอุไรวรรณ โสภา [email protected]        5. ลองคลกิ ที่ List ก็จะพบบลอ็ กการใชง้ านของ Robot Maqueen ใหเ้ ลือกใช้ งาน สำหรบั ใช้เขยี นโปรแกรม สำหรบั Library ท่ี Add เขา้ มาในโปรแกรม make Code จะจำอย่ใู น Project ท่ี save ไว้ เทา่ น้นั ถา้ มกี ารสร้าง New Project ใหม่ ผูใ้ ช้จะตอ้ ง Add Library นใ้ี หมเ่ สมอ ยกเว้นผใู้ ชเ้ ปดิ Project เก่า ทม่ี อี ยแู่ ลว้ ขน้ึ มาใชง้ านหรือแก้ไขใหม่   

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        6. โคดควบคมุ Motor   

โดย..นางสาวอุไรวรรณ โสภา [email protected]        การเขยี นโปรแกรม Make Code Programming เป้าหมาย : เพอื่ เรียนรูพ้ ้นื ฐานการ Control LED RGB ผลโปรแกรม : LED RGB เปลยี่ นสีสลับไปมา ข้ันตอนการเขยี นโปรแกรม 1. เข้าไปท่ี Link : https://makecode.microbit.org เพอ่ื เขา้ หนา้ โปรแกรม make code คลิกเลอื ก New Project จะได้หน้าตา่ งดังรูป     2. ใหค้ ลิกท่ี Icon เลือก Extensions หรือกด Advanced เลอื ก Extensions   

โดย..นางสาวอุไรวรรณ โสภา [email protected]        3. จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Extensions สำหรับคน้ หา พมิ พข์ อ้ ความ “Neopixel” แลว้ กด Enter หรอื กด รปู แว่นขยาย จะปรากฏฟังก์ชนั่ พิเศษ Neopixel 4. คลกิ เลือก Teb Neopixel เพือ่ ทำการ Add Library Neopixel เขา้ มาในโปรแกรม   

โดย..นางสาวอุไรวรรณ โสภา [email protected]        5. โคดควบคุม Motor     

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        การเขียนโปรแกรม Make Code Programming เปา้ หมาย : เพอ่ื เรยี นรูพ้ นื้ ฐานการขบั เคลอื่ น 4 ลอ้ ควบคมุ ไร้สาย มอเตอร์ 4 ตัว วงจรขบั มอเตอร์ 2 ชดุ ผลโปรแกรม : วัตถุขับเคล่ือน 4 ลอ้ ดว้ ยรีโมท กด A+B ตรงกบั เลข 1 ให้หนุ่ ยนตเ์ คลือ่ นท่ีเดนิ หนา้ กด A ตรงกับเลข 2 ใหเ้ ล้ยี วซา้ ย กด B ตรงกับเลข 3 ให้เลี้ยวขวา ถ้าไม่ใชท่ งั้ 3 อันให้หนุ่ ยนต์หยุด ขั้นตอนการเขยี นโปรแกรม 1. เขา้ ไปท่ี Link : https://makecode.microbit.org เพอื่ เขา้ หนา้ โปรแกรม make code คลกิ เลอื ก New Project จะได้หนา้ ตา่ งดังรปู     2. ให้คลกิ ท่ี Icon เลอื ก Extensions หรอื กด Advanced เลอื ก Extensions   

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        3. จะปรากฏหนา้ ต่าง Extensions สำหรบั คน้ หา พมิ พข์ ้อความ “IBIT” แล้วกด Enter หรอื กดรปู แว่นขยาย จะปรากฏฟงั กช์ ัน่ พิเศษ IBIT 4. คลกิ เลือก Teb IBIT เพื่อทำการ Add Library IBIT เขา้ มาในโปรแกรม   

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]        5. โคดควบคมุ Motor   

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]          

โดย..นางสาวอไุ รวรรณ โสภา [email protected]          


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook