This slides for educational purpose only มารูจักกบัการเฝา ระวงั ทางสขุ ภาพ นพ.วิวฒั น เอกบรู ณะวฒั น ศูนยอาชีวเวชศาสตร รพ.สมิติเวช ศรรี าชา ๐๐๐๐๐๐๐๐๐ เบอรโทรศพั ท 087-9792169 อีเมล [email protected] เว็บไซต www.summacheeva.org ฐานขอ มูลสารพษิ www.thaitox.com
การเฝา ระวังคอื อะไร?การเฝาระวัง (Surveillance) คือกิจกรรมในการตรวจสอบติดตาม (Monitor) พฤติกรรม(Behavior)กิจกรรม (Activity)หรือขอมูล (Information) ของคนหรือส่ิงแวดลอม เพ่ือวัตถุประสงคในการ ควบคุม ปกครอง บริหารจดั การ หรือปกปอ ง เปน หลกัตวั อยา งกจิ กรรมการเฝา ระวัง www.allvoices.com Image source : photobucket www.thairath.com การเฝา ระวังทบ่ี า นการเฝา ระวงั ทางการทหาร iam.hunsa.com
การเฝา ระวงั ทางสขุ ภาพท่ีน้มี าพูดถงึ การเฝาระวงั ในเร่ืองสุขภาพบางตกลงกันกอน >>> เนื่องจากมีเวลาจํากัด ในท่ีน้ีจึงจะกลาวเพียง หลักการพ้ืนฐานในเบื้องตนของเรื่องการเฝาระวังทางสุขภาพและ การเฝา ระวงั โรคเทา นัน้มีหลายคําที่นยิ มใชใ นเรือ่ งนี้ คําแรกคือการเฝาระวังทางสุขภาพ (Health surveillance) หมายถึง การตรวจสอบ ติดตามเหตุการณดานสุขภาพในประชากร อยางเปนระบบและ ตอ เนือ่ ง เพ่ือผลในการปองกนั โรคและทําใหประชากรมีสุขภาพดี
การเฝาระวังทํากับใครบา งทาํ กบั ประชากรทเ่ี ราสนใจจะดแู ลสขุ ภาพเขา...ประชากรในโลก เฝา ระวงั เรือ่ งอะไรไดบ า ง (ในดา นสุขภาพ)ประชากรในประเทศ • อบุ ตั เิ หตจุ ราจรประชากรในจงั หวดั • อุบัตเิ หตจุ ากการทาํ งานประชากรในชุมชนของเรา • การสัมผสั มลพิษส่ิงแวดลอมประชากรในโรงงานท่ีเราดแู ล • พฤตกิ รรมเสี่ยง : การสูบบหุ ร่ี การใชสารเสพตดิ • โรคตดิ ตอ : ไขหวดั ใหญ คอตบี ไขเลอื ดออก • โรคไมต ดิ ตอ : โรคอว น โรคหวั ใจ โรคไตวาย • ฯลฯประชากรท่อี ยใู นส่งิ แวดลอมมลพษิเหลา น้เี ปนตน www.rvp.co.th www.myfirstbrain.com
การเฝาระวังโรคอกี คาํ หนึง่ ทนี่ ิยมใชค อื คาํ วา การเฝา ระวงั โรค (Disease surveillance)“การเฝาระวังโรค” คือ กิจกรรมทางดานระบาดวิทยา ที่ติดตามดูลักษณะการ แพรกระจายของโรค และจํานวนผูปวยเปนโรค อยางตอเน่ือง เพ่ือหวังผลใน การควบคุมการแพรกระจาย การติดตอและแพรระบาด (ในกรณีโรคติดตอ) และลดอตั ราการเจ็บปว ย ทพุ พลภาพ หรอื สูญเสยี ชีวติ จากโรคน้ันความหมายจะคลา ยๆ กบั การเฝาระวงั ทางสขุ ภาพ แตค อ นขา งจาํ เพาะกวา กรณโี รคตดิ ตอ เราเฝา ระวงั การระบาด (Outbreak) และหาทางปอ งกันการตดิ ตอ เพอื่ ใหป ระชากรทเ่ี รา เฝาระวงั เจบ็ ปวยหรือตายนอยลง www.medscape.com
ตัวอยางการเฝา ระวงั โรคของไทย เว็บไซตสาํ นกั ระบาดวิทยา www.boe.moph.go.th
ชนิดของการเฝาระวงั ทางสขุ ภาพPassive surveillance ตงั้ รับอยูในทีต่ ั้ง พวกเธอรายงานขอมูลมาทีฉ่ ันนะActive surveillance ออกตะลุยหาเคสนอกทต่ี งั้ มนั ตอ งเจอมากขึ้นละนา !!!Passive Active
ตวั อยางการเฝา ระวังเชงิ รับ รง.506/2 ที่โรงพยาบาลเขียนสงขอมูล ใหกับสํานักระบาดวิทยา เปนตัวอยางท่ีดี ของระบบการเฝาระวังเชิงรับ (Passive surveillance) อยางหนึ่ง สถติ ิโรคปอดจากการประกอบอาชพี ค.ศ. 2002 - 2011 แหลงทีม่ า : สํานกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค
ตวั อยางการเฝา ระวังเชงิ รุก โครงการตรวจสุขภาพคนขับรถแท็กซ่ีของ กรมการแพทย เปนตัวอยางของระบบการ เฝาระวังเชิงรุก (Active surveillance) ในผู ประกอบอาชีพที่ดีตวั อยา งหนึง่ www.manager.co.thwww.kapook.com www.toptenthailand.com
ขัน้ ตอนการเฝา ระวังทางสขุ ภาพ1. เก็บรวบรวมขอมลู มคี นปว ยกี่คน อยูตรงไหน ในชวงเวลาใด ใครบา ง โรคอะไร โรคนีม้ ธี รรมชาตเิ ปน อยา งไร ตดิ ตอไดไหม รุนแรงไหม เรว็ ไหม2. จดั หมวดหมแู ละวเิ คราะหข อมลู วเิ คราะหร ายละเอียดออกมา แบบแผนมันเปนอยา งไร3. รายงานผลการวิเคราะหแกผ เู กยี่ วของ รายงานใหคนที่เหมาะสมทราบ ผมู ีอํานาจ ประชาชน ส่อื สารมวลชน4. ดาํ เนนิ การแกไ ขสถานการณ เขา ไปควบคมุ โรค ทําการรักษา ทําการปองกัน เพอื่ ลดการปวยและตาย
การเฝาระวังสุขภาพคนทํางาน (ภาพอา งองิ จาก: สาํ นกั โรคจากการประกอบอาชพี และสง่ิ แวดลอม กรมควบคมุ โรค)
แลวเราจะเฝา ระวังยังไง?เฝา ระวงั ทสี่ ง่ิ คกุ คาม (Hazard surveillance) ตรวจตดิ ตามในส่งิ แวดลอ ม (Environmental monitoring) ตรวจติดตามในรา งกายคนทาํ งาน (Biological monitoring)เฝา ระวงั ผลกระทบตอ สุขภาพ (Health effect surveillance) เฝา ระวังโรคจากการทาํ งาน (Occupational diseases surveillance)เฝาระวังท่ีส่ิงคุกคามเปนตนทางกวา โดยรวมยอมดีกวาเฝาระวังโรค แตใน กรณีท่ีเกิดโรคข้ึนแลว การเฝาระวังโรคก็จําเปน และควรทําควบคูกันไปกับ การเฝา ระวังส่งิ คกุ คามคําวา “Monitoring” ในท่ีนี้ใชคําวา “ตรวจติดตาม” แตในบางแหงอาจใชคํา วา “เฝาคมุ ” กไ็ ด เชน “การเฝาคมุ ในส่ิงแวดลอ ม”
Environmental Monitoring www.thermofisher.com.au
Biological Monitoringwww.vetguru.com
Occupational Disease Surveillance Source : ILO standard film
Samitivej…We Care
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: