Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การตรวจสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Physical Examination)

การตรวจสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Physical Examination)

Published by arsa.260753, 2015-11-04 22:35:31

Description: การตรวจสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Physical Examination)

Search

Read the Text Version

หลักการตรวจสุขภาพทางอาชวี เวชศาสตร Physical Examination in Occupational Medicine Practice นพ.วิวัฒน เอกบูรณะวัฒน ศนู ยสง เสรมิ สขุ ภาพ โรงพยาบาลสมติ เิ วช ศรรี าชา E-mail: [email protected] Weblog: www.wiwat.org

หวั ขอทีจ่ ะเรียนในวันนี้1. การตรวจสุขภาพคืออะไร2. การตรวจสขุ ภาพมีแบบใดบาง3. การตรวจสขุ ภาพทางอาชีวเวชศาสตรคอื อะไร4. เราจะตรวจสขุ ภาพทางอาชีวเวชศาสตรในโอกาสใดบา ง5. ขน้ั ตอนการตรวจสขุ ภาพทางอาชวี เวชศาสตรเ ปน อยางไร6. เราจะออกแบบการตรวจสขุ ภาพทางอาชีวเวชศาสตร (ใหด)ี ไดอ ยางไร7. ตวั อยา งการตรวจสขุ ภาพทางอาชีวเวชศาสตร

การตรวจสุขภาพคอื อะไร™ การตรวจสุขภาพ ™การตรวจสุขภาพดวยตนเอง ™การตรวจสุขภาพโดยแพทย ™การตรวจสขุ ภาพโดยบุคลากรสาธารณสขุ อื่นๆ™การตรวจสขุ ภาพโดยแพทย (medical checkup หรอื general medical examination) คอื กระบวนการซกั ประวัตแิ ละตรวจรา งกายอยางละเอยี ดถ่ถี วน โดยแพทย รวมถึงการสงตรวจคัดกรองโรค ตามอายุ เพศ และสภาวะ สุขภาพของแตละคน* *The Free Online Dictionary, 2011

เราจะตรวจสุขภาพในโอกาสใดบา ง™การตรวจสขุ ภาพคอื การตรวจคนปกตทิ ่ียงั ไมป ว ยเปนโรค™ซึง่ ก็ไมไ ดม ขี อ กาํ หนดไวช ดั เจนวา จะตอ งมาตรวจกบั แพทยเมอื่ ไร™โดยทวั่ ไปโอกาสท่ีคนปกติจะไดม าตรวจสขุ ภาพกบั แพทย เชน ™การตรวจสุขภาพประจาํ ป ™ตรวจสขุ ภาพกอ นทาํ ประกันชีวิต ™ตรวจสุขภาพกอ นเขา ทํางานและหลังจากทาํ งาน ™ตรวจสขุ ภาพกอ นเขา เรียน ™ตรวจสุขภาพกอนทําใบขับขี่ ™ตรวจสุขภาพกอ นไปตา งประเทศ ™มาตรวจสุขภาพเพราะมญี าติหรอื เพ่ือนปวย

การตรวจสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตรคืออะไร™การตรวจสขุ ภาพทางอาชีวเวชศาสตร (Occupational physical examination)™คอื การตรวจสขุ ภาพของลกู จา ง ซ่งึ เรามกั จะดูทงั้ ประเดน็ ท่เี กี่ยวกบั การ ทํางานและประเดน็ สุขภาพท่ัวไปของลูกจา งดว ย™ตวั อยา ง เชน ™การตรวจสขุ ภาพกอนเขาทาํ งาน ™การตรวจสุขภาพลกู จา งประจําป ™การตรวจสขุ ภาพเพ่อื ดูความพรอ ม ในการทาํ งานทีเ่ สย่ี งอันตราย ™การตรวจสขุ ภาพกอ นกลบั เขา ทาํ งานหลงั จากการเจ็บปวย

เราจะตรวจสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตรในโอกาสใดบา ง 1. Pre-employment examination 2. Pre-placement examination 3. Periodic examination 4. Fitness for work examination 5. Return to work examination 6. Retirement examination (Exit examination)

วงจรสุขภาพของลูกจา ง

วงจรสขุ ภาพของลูกจาง Pre-employment Pre-placement Periodic Fitness for workReturn to work Retirement

Pre-employment & Pre-placement Examination™Pre-employment และ Pre-placement examination คอื การตรวจรา งกาย กอนเขา งาน ขอ แตกตางคือ pre-employment เปน การตรวจรางกาย กอนท่ีบริษัทจะจา งงาน สวน pre-placement น้นั บริษทั รบั ลูกจางเขา มา ทาํ งานแลว และใหตรวจรางกายกอนทจ่ี ะเขา ไปประจาํ ตําแหนง™เหตุผลของการตรวจเพอ่ื ดคู วามปลอดภัยของลูกจางเปน หลกั โดยแพทย จะดวู า (1) ลกู จางมโี รคอะไรอยูบ างหรือไม (2) ถามโี รคอยู เขาจะสามารถ ทาํ งานที่พจิ ารณาไดห รอื ไม (3) ถาสามารถทํางานนน้ั ได เมอ่ื ใหไ ปทาํ งาน แลว ลูกจา งจะเปน อันตรายไหม อาการปว ยจะแยล งหรอื ไม™ถาตรวจแลว พรอ มทจ่ี ะทาํ งาน (fit for work) ก็ใหท ํางานได ถาไมพรอ มที่ จะทาํ งาน (unfit for work) ควรหางานอนื่ ใหทําแทน

Periodic Examination™Periodic Examination คือการตรวจสุขภาพตามวงรอบ หรอื ตามระยะ ซ่ึง โดยทั่วไปกค็ อื การตรวจสุขภาพประจําปนน่ั เอง™ความจริงก็ไมไ ดม ขี อ กาํ หนดตายตัววา ตองตรวจปล ะครั้ง ถางานท่ที ํา เสี่ยงมากอาจตรวจถก่ี วา ปละคร้ังกไ็ ด เชน ตรวจทกุ 6 เดือน™การตรวจน้ตี รวจเพอ่ื ดูวา (1) หลังจากลกู จา งทํางานมาระยะหนงึ่ แลว ยังมี สขุ ภาพดอี ยไู หม (2) ผลจากการทํางาน จากการท่ีลกู จา งอายุมากขน้ึ และ จากสาเหตอุ ื่นๆ ทาํ ใหส ขุ ภาพของลกู จางแยล งหรือเกิดโรคขน้ึ หรือไม (3) ถา มีโรค เขายงั พรอมทจ่ี ะทาํ งานอยหู รอื ไม™ถา พบวา ลูกจางเรม่ิ ปว ยเปนโรค ก็ควรรบี ทําการรกั ษาให

Fitness & Return to Work Examination™Fitness for work (FFW) examination คอื การตรวจเพอ่ื ดคู วามพรอ มของ รา งกายเมอื่ จะใหลูกจา งไปทํางานทีเ่ สยี่ งบางอยา ง เชน งานเดนิ เรือทะเล งานในที่อับอากาศ งานดําน้าํ งานขบั รถ เปนตน™Return to Work (RTW) examination คือการตรวจเพอ่ื ดคู วามพรอ มของ รางกาย หลังจากทล่ี กู จา งเจบ็ ปว ยหรอื ประสบอบุ ตั ิเหตุ จนตอ งหยดุ งาน ไปเปน เวลานาน แลวกาํ ลังจะกลับมาทํางาน™หลกั การตรวจของ 2 กรณนี ้ี ใชห ลักการเดียวกนั คอื ดูสภาวะสขุ ภาพ (physical fitness) เทยี บกบั งานท่ีจะตอ งไปทํา (work demand)™ถา ตรวจแลวพรอ มทจี่ ะทาํ งาน (fit for work) ก็ใหท าํ งานได ถาไมพ รอ มที่ จะทํางาน (unfit for work) ควรใหง ดทํางานไวกอน และหางานอน่ื ใหแ ทน กรณีตรวจหลงั จากเจบ็ ปว ย บางครง้ั อาจตอ งสง ไปฟน ฟูสมรรถภาพดวย เพอื่ จะไดก ลบั มาทํางานเดิมได

Retirement Examination™Retirement examination หรอื Exit examination คือการตรวจเมอ่ื ลกู จาง จะเกษียณหรอื จะลาออกจากงาน™ตรวจเพ่อื ดวู าหลังจากทที่ ํางานมาเปน เวลานานแลว สขุ ภาพของลกู จา ง เปนอยา งไรบาง มโี รคเกิดขน้ึ หรือไม มีความเสื่อมใดเกดิ ขึ้นบา ง ถามีโรค เกดิ ขน้ึ จะไดรบี แนะนาํ ใหรักษาตัง้ แตระยะเรม่ิ แรก™เกี่ยวกับดานกฎหมาย การตรวจนท้ี าํ เพื่อเปน หลกั ฐานใหกับบริษัทไดว า ลกู จา งมาทํางานแลว หลังออกจากงานไปยงั ไมไ ดเกดิ โรคขึ้น จะชวยเปน หลักฐานไดหากลกู จางฟองรอ งบริษทั กรณีทอ่ี อกจากงานไปแลว เกิดปว ย เปน โรคทีหลัง (จะมปี ระโยชนมากในประเทศทม่ี กี ารฟองรองกันสูง)

เนนยาํ้ ...สาํ คัญมาก การตรวจสุขภาพทางอาชวี เวชศาสตรท ัง้ หมด ทําเพื่อ... (1) ชวยใหลูกจางมสี ุขภาพดี (2) ชวยใหลูกจางทํางานไดอยา งปลอดภัย (3) ชว ยใหบรษิ ัทดําเนนิ กจิ การไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะมีลูกจางที่สขุ ภาพดีแตห ามตรวจสุขภาพเพื่อคัดคนออกจากงานเด็ดขาด...!!! การทําเชนนัน้ ผิดหลักจริยธรรมทางการแพทย

การตรวจสุขภาพแบบนีท้ ําถูกตองหรอื ไม (1)™การตรวจถูกหลกั จริยธรรมหรือไม เราดูทวี่ ัตถปุ ระสงคการตรวจ™โรงงาน ก สุมตรวจปส สาวะหาการต้ังครรภในลกู จา งหญงิ ทุกคน ควบคูไป กบั การตรวจสขุ ภาพประจาํ ป ถาพบวาคนใดต้ังครรภก็จะไลออกทนั ที เพราะนายจางคิดวาการตั้งครรภท ําใหเ สยี เวลาทํางาน™โรงงาน ข ทําขวดพลาสตกิ นายจางส่งั ใหแ พทยตรวจเลอื ดหาการตดิ เชือ้ เอชไอวใี นพนกั งานทุกคน ถา พบวา ติดเชือ้ แมจ ะยงั ไมม อี าการก็จะใหอ อก ทันที เนอื่ งจากทําใหโรงงานเสียภาพพจน

การตรวจสุขภาพแบบนี้ทําถกู ตอ งหรือไม (2)™บรษิ ัท ค ทํากิจการรับขนสง สนิ คา แพทยท ่ปี รกึ ษาบรษิ ทั สงพนกั งานขับ รถขนสง สินคา ทุกคนไปตรวจสายตา ถา ใครเปน ตอ กระจก ตอหิน หรือ สายตาพรา มวั จะถกู ใหอ อกท้ังหมด เพราะทาํ ใหก ารขบั รถไมป ลอดภัย™บริษทั ง ทํากิจการรบั ขนสง สนิ คา ฝายบุคคลสงพนกั งานขบั รถขนสง สนิ คา ทุกคนไปตรวจสายตา ถาแพทยท โ่ี รงพยาบาลตรวจพบวา ใครเปน ตอกระจก ตอหิน หรือสายตาพรามวั จะตอ งพักงานและไปรกั ษาตัวกอน เมอ่ื หายดแี ลวคอยกลบั มาขบั รถตามเดมิ ถา รักษาไมหายฝายบคุ คลจะจดั ใหไ ปทํางานขนของท่ีโกดงั แทน

การตรวจสุขภาพแบบนีท้ ําถูกตองหรอื ไม (3)™บรษิ ทั จ เปนบรษิ ทั รบั ทาํ โฆษณาขนาดใหญ สงผจู ัดการแผนกทุกคนมา ตรวจการตดิ เชื้อไวรสั ตบั อกั เสบบี ถาผจู ดั การคนใดเปน พาหะของโรคน้ี จะไมไ ดร ับการพจิ ารณาเลอื่ นตําแหนงข้ึนเปนผบู รหิ ารระดบั สูง เพราะถา เปน โรคนี้จะเส่ียงตอ การเปนมะเรง็ ตบั ตอนอายุมากได™บริษทั ฉ เปน บริษัทรบั เหมากอ สราง สง วิศวกรรุนหนมุ ทกุ คนมาตรวจหา การติดเช้ือไวรัสตับอักเสบบี ถาพบวา คนใดเปน พาหะ จะไดร ตู วั แพทยจ ะ ไดร บี ใหคําแนะนาํ งดด่มื สรุ า ตรวจระดบั ไวรัส และใหคูสมรสไปฉีดวคั ซนี เพอื่ ลดโอกาสการเปนมะเรง็ ตบั หากไดข ึ้นเปนผบู รหิ ารจะไดยงั มีสขุ ภาพ แขง็ แรง

การตรวจสุขภาพเปนการปองกันโรคระดับใด™Primary prevention (ปอ งกนั กอ นจะเกดิ โรค) ™สง เสริมสขุ ภาพ (health promotion) ™ใหวคั ซีน ใหยาปอ งกันโรค ทํากจิ กรรมปองกันโรคในชุมชน ™การหามใชส ง่ิ กอโรค การทาํ ลายสงิ่ กอโรค™Secondary prevention (เกิดโรคแลว ปองกนั ไมใ หปว ยหนกั ) ™ตรวจใหพ บตัง้ แตระยะแรก (early detection) ™รีบรกั ษาตงั้ แตร ะยะแรก (early treatment)™Tertiary prevention (ปวยแลว ปอ งกันไมใ หท ุพพลภาพ) ™การบําบัดฟน ฟู (rehabilitation) ™การทํากายภาพบาํ บัด กจิ กรรมบําบัด อาชวี บาํ บัด

ข้ันตอนการตรวจสุขภาพกรณีท่วั ไป คนปกตทิ ่ียังไมป ว ย •โรคประจําตัว •การแพย า การแพอ าหาร ซักประวตั ิ •การผาตัด •การเจบ็ ปว ยในครอบครัวแพทยออกแบบการตรวจ •การตัง้ ครรภ การมีบุตร แพทยสง่ั การตรวจ •การไดรับวัคซีน •ประวัติอาชพีตรวจและรอฟงผล พบวาเจบ็ ปวย •รีบรักษาต้ังแตระยะเรมิ่ แรก พบความเสื่อม แพทยตรวจรา งกาย พบความเสี่ยง •แนะนําเฝา ระวังแพทยแ ปลผลตรวจเลือด ปสสาวะ ปกติดี •แนะนาํ ปรบั พฤตกิ รรมภาพรงั สี และผลตรวจอน่ื ๆ ใหท ราบ •นดั มาตรวจซา้ํแพทยป ระเมินจากผลการตรวจ •แนะนาํ ปรบั พฤตกิ รรม •สรางเสริมสขุ ภาพ •ฉีดวคั ซนี / ใหยาปอ งกนั •นัดมาตรวจซา้ํ

การตรวจสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตร™การตรวจสุขภาพทางดา นอาชีวเวชศาสตร จะมขี นั้ ตอนเพม่ิ ขึน้ มาจาก การตรวจสุขภาพกรณที ว่ั ไปอกี เลก็ นอย คอื เราตองทราบความเสีย่ งใน การทํางานของลูกจางแตล ะคนกอ น จึงจะตรวจไดดี™ตอ งทราบวา … ™ลกู จา งนนั้ จะตองสมั ผัส (exposed) ตอสง่ิ คุกคาม (hazards) ชนิดใด ™ขนาดการสัมผัส (dose) มากนอยเพยี งใด ™สมั ผสั ถบ่ี อยแคไหน (frequency) นานเพียงใด (duration) ™แลวสง่ิ คุกคามนน้ั ทาํ ใหเกดิ โรคอะไร (diseases)™การจะทราบขอ มูลเหลา น้ีได ทําไดโดยการเดินสาํ รวจสถานทที่ ํางาน (walkthrough survey) หรอื ขอขอ มูลจากเจาหนาทขี่ องโรงงานแลวจึงจะ นาํ ขอมลู ความเสีย่ งทไ่ี ดนม้ี าออกแบบการตรวจสุขภาพอยา งเหมาะสม

สง่ิ คุกคามตอ สขุ ภาพจากการทํางานมอี ยู 5 ชนดิ (1) Physical (2) Biological (3) Chemical (4) Ergonomic (5) Psychological (ภาพอางองิ จาก: สํานักโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดลอม กรมควบคุมโรค)

ขอ ตางของการตรวจสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตร1. หาขอมลู ความเสยี่ งสวนบคุ คลของลกู จา งแตละคน ไดจ ากการซักประวตั ิ อายุ เพศ ประวตั คิ รอบครัว2. หาขอมูลความเสี่ยงตามตําแหนงหนาท่ีการทํางาน ไดจ ากการเดินสํารวจสถานท่ที ํางาน3. ออกแบบการตรวจสขุ ภาพ4. ดาํ เนนิ การตรวจสุขภาพ ™ ตรวจรา งกาย ™ ตรวจคดั กรอง (เลือด ปสสาวะ ภาพรังสี สมรรถภาพดา นตา งๆ) ™ แปลผลและใหซกั ถามขอสงสยั

ข้ันตอนการตรวจสุขภาพทางอาชวี เวชศาสตร ลูกจา ง ความเส่ียงจากงาน คนหาความเสี่ยง ความเสย่ี งสว นบคุ คลไดจากการเดนิ สาํ รวจโรงงาน (walkthrough) ไดจากการซกั ประวตั ลิ ูกจา งแตล ะคน หรอื จากขอมูลท่ีโรงงานแจง ใหแพทยท ราบ•ทั้งโรงงานปวยเปน โรคอะไรมากทส่ี ุด แพทยออกแบบการตรวจตามความเสี่ยง•แผนกใดบางทป่ี วยจํานวนมาก แพทยสัง่ การตรวจตามท่อี อกแบบ•แผนกใดบางทป่ี ว ยเหมอื นกันหลายคน ลูกจา งตรวจและรอฟง ผล•มีส่ิงคกุ คามใดบางที่นาจะกอโรค•จะปรับปรงุ แกไ ขสาเหตุไดอ ยางไร พบวา เจ็บปวย พบความเสือ่ ม•จะสงเสริมสุขภาพดานใดเปนพิเศษ แพทยต รวจรา งกาย พบความเส่ยี ง แปลผลตรวจเลอื ด ปสสาวะ ภาพรงั สี และผลอ่ืนๆ ใหทราบ ใหลูกจา งซกั ถามขอสงสยัประเมินภาพรวมทง้ั โรงงาน แพทยป ระเมนิ จากผลการตรวจ ประเมินรายบุคคล ปกตดิ ี

ขั้นตอนการตรวจสุขภาพทางอาชวี เวชศาสตร1. ประชุมนดั หมายกับทางโรงงาน2. ออกเดนิ สํารวจ3. ดูความเสีย่ งของพนักงานแตล ะคน แตละแผนก4. ดูขอมูลตรวจวดั ทางสิ่งแวดลอ ม ซักถามสว นท่ีสงสยั5. บันทึกเก็บขอมูลไว6. แพทยออกแบบการตรวจสุขภาพตามขอมูลท่ีไดมา7. ถึงวันนัดหมาย ตรวจตามท่ีแพทยไดออกแบบไว8. แตละแผนกจะตรวจไมเหมือนกัน

ขั้นตอนการตรวจสุขภาพทางอาชวี เวชศาสตร9. ลงทะเบยี น10. ซักประวัตคิ วามเส่ยี งเปน รายบคุ คล11. ชง่ั นํ้าหนกั วดั สว นสูง วดั ความดันโลหติ คิดดชั นีมวลกาย12. เจาะเลือด เก็บปส สาวะ13. แพทยซักประวตั ิ14. แพทยตรวจรางกาย ใหซักถามขอสงสัย15. ตรวจการไดยนิ16. ตรวจการมองเห็น ตรวจตาบอดสี

ข้ันตอนการตรวจสุขภาพทางอาชีวเวชศาสตร17. ตรวจสมรรถภาพปอด18. ตรวจภาพรังสีทรวงอก19. ตรวจอ่ืนๆ ตามแตท่ีแพทยออกแบบ20. แพทยแปลผลและสรปุ ผลตรวจใหฟง21. จัดทําเอกสารรายงานผลตรวจ22. จดั โครงการสง เสรมิ สขุ ภาพหลังการตรวจ23. จดั โครงการใหค วามรูและปองกนั โรค

เราจะออกแบบการตรวจใหด ีไดอยา งไร™จะออกแบบการตรวจไดดเี มื่อมีความรูวา ™พนักงานแตล ะคนสัมผัสสง่ิ คุกคามใดบา ง ™ส่ิงคกุ คามแตล ะอยา งกอใหเกิดโรคอะไรบาง ™โรคแตละโรคจะตรวจคัดกรองไดดว ยการตรวจอะไรบาง™แหลง ขอมูลที่ชว ยในการออกแบบการตรวจ ™ตรวจตามท่ีกฎหมายกําหนด ™ตรวจตามเกณฑห รอื คาํ แนะนาํ ของสมาคมการแพทยต างๆ ™ตรวจโดยอางอิงขอมลู จากผลการวิจยั ตางๆ ™ใชขอมลู จากตาํ ราวิชาการ อนิ เตอรเ นต็ การคาดคะเนของแพทย

มาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการทาํ งาน พ.ศ. 2550โรค การตรวจพษิ ตะกวั่ (lead) ระดับตะกั่วในเลอื ดพษิ แคดเมียม (cadmium) ระดับแคดเมยี มในเลือดหรอื ปสสาวะพิษปรอท (mercury) ระดับปรอทในเลอื ดหรือปสสาวะพษิ สารหนู (arsenic) ระดับสารหนใู นปสสาวะพิษเบนซีน (benzene) ระดับ TTMA ในปส สาวะพิษโทลอู ีน (toluene) ระดับ Hippuric Acid ในปสสาวะ ทมี่ า: สาํ นักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน

มาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการทํางาน พ.ศ. 2550โรค การตรวจปอดฝนุ หนิ (silicosis) Chest X-rayปอดใยหิน (asbestosis) Chest X-rayปอดชานออย (bagassosis) Chest X-rayปอดฝนุ ฝาย (byssinosis) Spirometryหอบหดื จากการทํางาน (occupational asthma) Spirometryที่มา: สํานักงานประกนั สังคม กระทรวงแรงงาน

หดั ออกแบบการตรวจ™ตัวอยา ง 1 โรงงานครกหิน™ตวั อยา ง 2 โรงงานทาํ สายไฟ™ตัวอยา ง 3 โรงงานทําสายน้าํ เกลือ™ตวั อยา ง 4 โรงงานทําหลอดไฟ™ตัวอยา ง 5 โรงงานเฟอรน ิเจอรไม™ตวั อยาง 6 โรงงานทําชิ้นสว นรถยนต™ตัวอยา ง 7 งานคอมพวิ เตอร

จากประสบการณ™แพทยแ ละฝายบุคคลบางสวน ยงั ไมเขา ใจวตั ถปุ ระสงคข องการตรวจ สขุ ภาพทางอาชวี เวชศาสตร การตรวจเพอื่ คดั คนออกจึงยงั มพี บไดอ ยู™การเปดโอกาสใหล ูกจางซักถามขอ สงสัยเปน สิง่ ท่ีดี ถาสามารถทําไดควร จะทาํ ดวย คาํ ถามที่แพทยค วรถามลูกจางคือ “ปน มี้ ปี ญ หาสุขภาพอะไรจะ ถามหมอไหมครบั ”™เมอ่ื ลูกจา งมาตรวจพรอมกนั เปนจาํ นวนมาก ตองมีการบริหารจดั การที่ดี จึงจะชว ยใหลูกจา งไดรบั บรกิ ารที่ถูกตอ ง ไดม าตรฐาน รวดเรว็™นายจางเปนคนออกคา ตรวจ จึงควรแจงผลสรุปในภาพรวมใหน ายจาง ทราบดว ย พรอ มท้งั เสนอวธิ กี ารแกไ ขปญ หาใหดว ย™เราอาจออกไปตรวจท่ีโรงงานหรือใหลกู จา งมาตรวจท่โี รงพยาบาลกไ็ ด

สรุป™การตรวจสขุ ภาพเปนการตรวจคนปกตทิ ยี่ ังไมป ว ย หรอื ปวยแลวแตย ังไม มอี าการ โดยทว่ั ไปจะทําการตรวจโดยแพทย™การตรวจสขุ ภาพทางอาชีวเวชศาสตร คือการตรวจสุขภาพลูกจาง ทัง้ ใน ประเดน็ ท่ีเกีย่ วกบั งานและประเดน็ สขุ ภาพทว่ั ไป™โอกาสทจ่ี ะตรวจ เชน ตรวจกอนเขา งาน ตรวจประจําป ตรวจดคู วาม พรอ มในการทํางาน ตรวจกอ นเกษียณ เปน ตน™การตรวจทําเพือ่ ชว ยใหลกู จา งมีสขุ ภาพดี เพ่อื ใหบ ริษทั มีคนทํางานที่มี สขุ ภาพแขง็ แรง ไมใชต รวจเพอื่ คัดคนออกจากงาน™ควรมีการวางแผนการตรวจท่ีดี มกี ารเดินสํารวจส่ิงคกุ คามกอนตรวจ จะ ชว ยใหออกแบบการตรวจไดอ ยา งเหมาะสม

Thank YouDo You Have Any Questions ?


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook