สํานักระบาดวิทยา ENOCC 1 การพัฒนาระบบเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชพี และสง่ิ แวดล้อมแบบเชิงรับ(506/2) สาํ นกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขแสงโฉม ศิริพานิชสํานกั ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข การเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชีพและส่งิ แวดล้อมรปู แบบเชิงรบั ( Occupational andEnvironmental diseases : passive surveillance system) ไดเ้ ริ่มพฒั นาข้ึน ตงั้ แต่ พ.ศ. 2546 และถูกกาํ หนดเป็นระบบเฝ้าระวังโรคที่สาํ คัญใน 5 กลุ่มโรคหลกั ที่ต้องเฝา้ ระวัง* โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ พฒั นาระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดลอ้ ม ทีส่ ามารถใหข้ ้อมูลได้อย่างเป็นระบบต่อเนื่องและสามารถแสดงสถานการณ์แนวโน้มของโรคได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ เพื่อเป็นข้อมูลเบือ้ งต้นในการแสดงสถานการณ์ การติดตาม สอบสวน ค้นหาหาสาเหตุของโรค และเพอื่ หาแนวทางการวางแผนป้องกันและแกไ้ ขปญั หาโรคและภยัสขุ ภาพจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมในกลมุ่ เสี่ยงตา่ ง ๆ เช่น พนักงานในสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบ และผทู้ ่ีอาศยั อยู่ในพื้นที่เส่ยี ง ฯ ปัจจุบันมีการขยายตัวทางดา้ นเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมมีมากขนึ้ และไดส้ ่งผลใหเ้ กดิ ปญั หาด้านสขุ ภาพทีเ่ กยี่ วข้องกบั การทาํ งาน และการได้รบั สัมผัสสารมลพษิ ท่ีปนเปือ้ นในส่ิงแวดลอ้ ม ท่ีมีแนวโน้มขนาดและความรุนแรงของปญั หามากข้ึน ดังนั้น การพัฒนาระบบเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม จงึ มีความสําคญั และจําเป็นที่ต้องมีการดําเนินการอย่างต่อเนื่อง เพอื่ การตดิ ตามตรวจสอบหาความผดิ ปกตทิ ี่เกดิ ข้ึน และเป็นข้อมลู เบ้ืองต้นในการติดตามผ้ปู ่วยและการหาสาเหตุ แหล่งของปัญหาทีเ่ กิดข้ึน นาํ ไปใชป้ ระโยชนเ์ พอ่ื การกําหนดมาตรการในการควบคุมป้องกัน เพ่ือไม่ให้มีการกระจายความรนุ แรงของโรคและผลกระทบต่อสขุ ภาพมากข้ึน และสามารถใหก้ ารรักษาผูป้ ่วยหรือผู้ไดร้ บั ผลกระทบไดท้ นั ทีสาํ นกั ระบาดวทิ ยา ไดพ้ ฒั นาแนวทางเฝ้าระวงั โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมข้ึน ตั้งแต่ พ.ศ.2546โดยมแี นวทางดาํ เนินการตามขน้ั ตอน การพฒั นา ดังนี้ การกําหนดแนวทางพัฒนาระบบและขอบเขตการดําเนินงานดงั น้ี (1) การพัฒนาแนวทางและเทคโนโลยี เคร่อื งมือในการดาํ เนินงาน เฝ้าระวัง ไดแ้ ก่การกาํ หนดรูปแบบเป็นการเฝ้าระวังแบบเชงิ รับ ( Passive surveillance) กาํ หนดโรคที่เฝ้าระวัง 10 กลมุ่ โรค35 รายโรค พัฒนาและกาํ หนดแนวทางเฝ้าระวงั การรายงาน (แบบ 506/2 โรคจากการประกอบอาชพีและส่ิงแวดลอ้ ม) การส่งตอ่ ข้อมูล ฯ ในระดับต่าง ๆ และการพฒั นาโปรแกรมสําเรจ็ รูป En-Occ เพอื่ การบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์อย่างงา่ ย (2) การพัฒนาศักยภาพเครอื ข่ายและการถา่ ยทอดเทคโนโลยี โดยการการประชุมชี้แจงการฝึกอบรม แกบ่ ุคลากรเครือขา่ ยระดบั เขต จังหวดั และอ่ืน ๆ เพ่อื ให้สามารถดาํ เนินการเฝ้าระวงั ได้ (3) การรวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์สถานการณ์ การตดิ ตาม สอบสวนหาสาเหตุความผิดปกติและการจดั ทาํ รายงานเสนอ (4) การนิเทศติดตาม กาํ กบั การดาํ เนินงานเฝ้าระวงั และการสนับสนุนดา้ นวิชาการ( * ระบบเฝ้าระวัง 5 กลมุ่ โรค หลัก ไดแ้ ก่ กล่มุ โรคติดตอ่ กลมุ่ โรคเอดส์และโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์ กลมุ่ โรคไม่ตดิ ตอ่ เรื้อรงั กลุ่มโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดล้อม และกลมุ่ การบาดเจบ็ )
สํานักระบาดวิทยา ENOCC 2 การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดล้อม เป็นการเฝา้ ระวังแบบเชิงรบั (PassiveSurveillance) คือ การรายงานผปู้ ่วยทมี่ ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยอาการและมีสาเหตมุ าจากการประกอบอาชีพหรือการสัมผัสส่ิงคุกคามในส่งิ แวดล้อม โดยกาํ หนดให้มีการรายงานผ้ปู ่วยโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดลอ้ ม จากสถานบรกิ ารสาธารณสุข ตั้งแต่ระดบั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ (สถานีอนามยั )โรงพยาบาลชมุ ชน โรงพยาบาลทวั่ ไป และโรงพยาบาลศูนย์ ตามแนวทางการเฝา้ ระวงั และเครื่องมือมาตรฐานทไ่ี ดก้ ําหนดไว้ ได้แก่ การรายงานตามแบบรายงาน 506/2 (แบบรายงานโรคจากการเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม) และการบันทกึ ข้อมูลในโปรแกรมสําเรจ็ (en-occ.) และส่งรายงานไปยังสาํ นกั งานสาธารณสุขจงั หวดั เพอ่ื ตรวจสอบและรวบรวมส่งไปยงั สาํ นักงานป้องกันและควบคุมโรค และ สํานกัระบาดวทิ ยา ซึง่ กาํ หนดใหส้ ่งรายงานเป็นรายสัปดาห์ หรอื กรณีที่เรง่ ด่วนท่เี ปน็ โรคทส่ี าํ คัญให้รายงานทันทีและควรมีการติดตามสอบสวนหาสาเหตุ หากเป็นโรคที่สําคัญ หรอื มีการเสยี ชวี ติ ทย่ี ังไม่ทราบสาเหตชุ ดั เจนหรอื ได้รับขอ้ มูลไม่เพียงพอ ระบบเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดล้อม ได้กําหนดโรคท่ีตอ้ งเฝ้าระวัง10 กลุม่ โรค 35 รายโรค ในแบบรายงานโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดล้อม (แบบ 506/2 สํานักระบาดวทิ ยา กรมควบคุมโรค) ได้แก่ (1) โรคปอดและทางเดนิ หายใจ ( Lung and Respiratory diseases)(2) โรคเหตุจากสภาวะทางกายภาพ (Physical Hazard ) (3) โรคผิวหนัง (Skin diseases) (4) โรคกระดูกและกลา้ มเน้ือ (Musculoskeletal diseases) (5) พษิ จากสตั ว์ ( Toxic effect of contact withvenomous animals) (6) พษิ จากพืช ( Toxic effect of contact with plants ) (7) พษิ โลหะหนัก (Heavy metal poisoning ) ( 8 ) พษิ สารระเหยและตัวทาํ ละลาย ( Toxic effect of solvents ) (9) พษิจากก๊าซ ( Toxic effect of gas and vapor poisoning (10) พษิ จากสารเคมีการเกษตรและสารเคมอี ื่น ๆ( Toxic effect of pesticides and other chemical เปน็ ต้นผลการดําเนินงานเฝ้าระวงั โรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2546-2553 จากการพัฒนาเครือข่ายเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดลอ้ ม รปู แบบเชิงรบั ต้งั แต่ พ.ศ. 2545 - 2552 มีเครอื ข่ายท่ไี ด้รบั การพฒั นาทั้งสิ้น 41 เครอื ข่าย และมีเครือข่ายงานเฝา้ ระวงัโรค ที่มีการดําเนินงานได้ ท้งั ส้ิน 31 เครือข่าย (31 จงั หวัด) มีรายงานผปู้ ่วย ท้ังสิ้น จํานวน 29,492 ราย มีรายงานมากทีส่ ุด คือ พ.ศ. 2549 และ 2550 จาํ นวน 19 จงั หวดั พ.ศ. 2552 รายงานผู้ป่วยมากท่ีสดุ คอืจํานวน 6,299 ราย และมีแนวโน้มการรายงานผู้ป่วยสูงข้ึน จาก พ.ศ. 2545 ร้อยละ 5.16 เป็น ร้อยละ21.35 ใน พ.ศ. 2552 (ตารางท่ี 1 ) จงั หวัดทม่ี รี ายงานมากทส่ี ุด และรายงานอยา่ งต่อเนอ่ื ง ได้แก่ จังหวดั ระยอง รอ้ ยละ27.7 สมุทรสาคร ร้อยละ 15.0 พะเยา รอ้ ยละ 8.08 และจังหวัดอื่น ๆ ที่มแี นวโน้มการรายงานสูงขึ้นได้แก่ จังหวดั ขอนแก่น นนทบุรี เป็นต้น อย่างไรกต็ าม ความตอ่ เน่ืองของการรายงาน ข้ึนอยู่กับนโยบาย การเปลี่ยนงาน โอน ยา้ ยของเจ้าหนา้ ที่ และไมไ่ ด้มกี ารถา่ ยทอดงาน และบางแห่งยงั ไมม่ ีเจา้ หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบชัดเจน
สาํ นกั ระบาดวทิ ยา ENOCC 3ตารางที่ 1 จํานวนผู้ปว่ ยโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม จําแนกรายจงั หวัดทสี่ ง่ รายงาน พ.ศ. 2546 - 2552 จังหวดั 2546 2547 2548 พ.ศ. 2550 2551 2552 รวม 0 0 2 2549 52 9 61. กรุงเทพมหานคร 0 0 0 85 42 66 712. นนทบรุ ี 0 0 7 2 0 0 0 2443. ปทมุ ธานี 0 0 0 51 134 0 0 74. อยธุ ยา 0 0 0 0 346 0 0 1345. สงิ หบ์ รุ ี 0 0 0 0 557 104 0 3466. สระบุรี 0 268 0 1,012 465 6617. ระยอง 0 0 1,501 0 0 0 4,417 8,1698. ตราด 0 73 0 506 112 0 1559. บุรีรัมย์ 0 75 0 155 7 1,310 17 1,51210. สรุ นิ ทร์ 0 0 138 0 240 0 0 36711. ศรีษะเกษ 0 0 0 147 0 61 0 46812. อุบลราชธานี 117 35 0 167 0 0 0 713. ชยั ภูมิ 0 0 0 7 115 0 0 15214. อาํ นาจเจรญิ 169 50 0 0 511 256 0 48315. ขอนแก่น 0 218 236 112 215 434 511 1,91116. เลย 0 38 71 0 0 158 0 81117. หนองคาย 0 307 0 149 156 0 0 19418. ร้อยเอด็ 0 0 319 156 0 101 0 1,07319. สกลนคร 0 466 39 190 93 91 0 16720. ลําพนู 353 307 7 37 123 0 142 82421. ลาํ ปาง 0 0 359 116 515 84 0 1,46422. พะเยา 0 0 271 238 39 723 93 2,38123. สพุ รรณบุรี 0 0 0 779 0 0 39 11024. นครปฐม 883 570 931 32 298 0 323 1,25425. สมทุ รสาคร 0 0 0 0 638 356 4,41726. ระนอง 0 483 1,112 560 590 23 0 2327. สงขลา 0 0 0 0 0 99 0 1,63428. ยะลา 0 0 173 289 0 0 0 12429. สมทุ รปราการ 0 0 83 41 0 0 25 2530. ราชบุรี 0 0 0 0 0 0 302 30231. ประจวบครี ีขนั ธ์ 0 0 5,200 0 2 2 1,522 2,890 0 0 29,492 รวม 3,734 4,598 6,299 5,249แหล่งขอ้ มลู : ระบบเฝ้าระวงั โรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดลอ้ มเชงิ รับ (506/2) สํานักระบาดวทิ ยา
ํจานวน สํานกั ระบาดวิทยา ENOCC 4 ผู้ปว่ ยที่ไดร้ บั รายงาน จาํ แนกเป็นเพศชายร้อยละ 47.5 และเพศหญิง ร้อยละ 52.5 กลุ่ม0-4อายทุ ี่พบมากท่ี ระหว่าง 15-59 ปี รอ้ ยละ 79.7 ผู้สูงอายุ 60 ปี ขึน้ ไป รอ้ ยละ 11.06 เดก็ อายุ ตาํ่ กว่า10-1415 ปี รอ้ ยละ 9.21 โดยผู้ป่วยเดก็ มีแนวโน้มการไดร้ บั พิษจากพืชพษิ อาหารทะเลเปน็ พษิ และสารเคมีมาก20-24ข้นึ ( รูปท่ี 1) 30-34 40-44 4,000 50-54 3,000 60+ 2,000 1,000 0 อายุ รปู ท่ี 1 ร้อยละของผ้ปู ว่ ยบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม จาํ แนกกลุ่มอายุ พ.ศ. 2546 - 2552 สาํ นกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข ผปู้ ่วยส่วนใหญ่มีอาชีพรบั จา้ งทั่วไป เกษตรกรรม รบั จ้างในโรงงานอตุ สาหกรรม ราชการและพนักงานวิสาหกิจ คา้ ขาย และอื่น ๆ คิดเป็น รอ้ ยละ 31.0, 24.2, 13.8, 4.8, 3.3 และอื่น ๆ 22.9ผปู้ ่วยทีม่ อี าชพี อาชีพ รอ้ ยละ รูปที่ 2 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพและสง่ิ แวดล้อม จาํ แนกตามอาชพี พ.ศ. 2546 - 2552 สํานกั ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จากการพจิ ารณาผปู้ ่วยทีไ่ ด้รับรายงานตามกลมุ่ โรค พบว่า กลุม่ โรคท่ีมีการรายงานมากตามลําดับ ไดแ้ ก่ กลุ่มโรคกระดกู และกล้ามเน้อื ร้อยละ 45.0 (เฉลีย่ 1,898 รายต่อปี) กลุ่มพิษจากสัตว์ รอ้ ยละ 24.5 (เฉล่ีย 1,033 รายต่อปี) กลุ่มโรคผิวหนัง ร้อยละ 20.3 (เฉลยี่ 855 รายตอ่ ปี) กลุ่มพษิ จากพืชรอ้ ยละ 4.2 (เฉลีย่ 176 รายตอ่ ปี) กลุ่มโรคปอดและทางหายใจ รอ้ ยละ 2.7 (เฉลย่ี 114 รายตอ่ ปี) กล่มุ สาร
สํานักระบาดวิทยา ENOCC 5กําจัดแมลงศัตรพู ชื ร้อยละ 1.6 (เฉล่ีย 66 รายตอ่ ปี) กลมุ่ พษิ จากก๊าซ ร้อยละ 0.9 (เฉล่ีย 35 รายต่อปี)โดยมีแนวโนม้ การรายงานผู้ป่วยในแต่ละกลุ่มโรคมากข้ึน (ตาราง ที่ 2)ตารางท่ี 2 จํานวนผูป้ ่วยด้วยโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมจําแนกตามกลุ่มโรค พ.ศ. 2546 – 2552กล่มุ โรคจากการประกอบ พ.ศ.อาชีพและส่งิ แวดล้อม 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 เฉลีย่ /ปี1. โรคปอดและทางหายใจ 54 79 104 36 153 197 172 1142. โรคเหตุสภาวะทาง 11 8 38 12 12 29 18 183 กายภาพ3. โรคผิวหนัง 225 414 1,817 367 1,229 801 1,130 8554. โรคกระดกู และกล้ามเน้ือ 568 1,093 1,929 1,573 1,861 2,377 3,884 1,8985. โรคพิษจากสตั ว์ 532 954 874 1,447 1,575 944 906 1,0336. โรคพิษจากพืช 83 235 232 236 256 158 32 1767. โรคพษิ โลหะหนกั 2 3 2 0 3 2 36 78. โรคพิษเหตสุ ารระเหย 6 9 2 2 10 40 9 11 และสารทาํ ละลาย9. โรคพิษจากกา๊ ซ 1 23 151 1 1 12 62 3510. โรคพิษจากสารเคมี 40 72 100 60 99 38 50 66การเกษตรและสารเคมีอ่ืนๆแหลง่ ข้อมลู : ระบบเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดล้อมเชิงรับ (506/2) สาํ นักระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค จากรายงานผู้ป่วยที่ไดร้ ับรายงานพจิ ารณาเฉพาะรายแต่ละกลุ่มโรค ตามโรคทตี่ ้องเฝา้ ระวัง 35รายโรค ระหว่าง พ.ศ. 2546-2552 จําแนกตามรายละเอียด ดังน้ี1. กลุ่มโรคปอดและระบบทางเดนิ หายใจ ( Lung and Respiratory diseases) ผปู้ ว่ ยที่ไดร้ บั รายงานทั้งส้นิ 795 ราย จําแนกเปน็ หดื เหตุอาชีพ 395 ราย (รอ้ ยละ 49.8) หลอดลมอักเสบเรื้อรงั 175 ราย(รอ้ ยละ 22.3) เหตจุ ากก๊าซ ควันไอระเหย 53 ราย ร้อยละ 6.7 ฝนุ่ หิน 30 ราย (รอ้ ยละ 3.8) สงสยั ใยหิน2 ราย ฝุ่นฝา้ ย 4 ราย และ อ่นื ๆ 133 ราย รอ้ ยละ 17.1 (รปู ท่ี 3 ) อ่ืน ๆ 17.1% ฝนุ่ กา๊ ซควนั ไอ 6.7 % หลอดลมอกั เสบเร้อื รงั 22.3% ฝนุ่ ฝา้ ย 0.5 % ฝนุ่ หนิ 3.8 % หดื เหตอุ าชพี 49.8 %รปู ที่ 3 รอ้ ยละของผู้ปว่ ยโรคปอดและระบบทางเดนิ หายใจจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2546-2552 สาํ นกั ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ
สาํ นักระบาดวทิ ยา ENOCC 62. โรคเหตุสภาวะทางกายภาพ (Physical Hazard ) จาํ นวนทีไ่ ด้รบั รายงาน 128 ราย จาํ แนกเป็นการไดย้ ินเส่ือมจากเสยี งดัง 77 ราย (ร้อยละ 60.0) ผลจากความร้อน 18 ราย (ร้อยละ 14.0) ผลจากความเย็น 7 ราย (ร้อยละ 6.0) ผลจากการลดความกดอากาศและทเ่ี กีย่ วข้อง 8 ราย (ร้อยละ 6.0) จากแรงสั่นสะเทอื น 5 ราย อื่น ๆ 13 ราย (รอ้ ยละ 10.0) (รปู ท่ี 4) แรงสนั่ สะเทือน 4.0% อน่ื ๆ 10.0%ลดความกดอากาศ 6.3% ผลจากความเยน็ 5.5 % การไดย้ นิ เส่ือมเหตุ เสยี งดงั 60.2%ผลจากความรอ้ น 14.1% รปู ท่ี 4 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยเหตุจากสภาวะทางกายภาพ จากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดลอ้ ม พ.ศ. 2546 - 2552 สาํ นักระบาดวิทยา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข3. กลุ่มโรคผิวหนัง (Skin diseases) รายงานผปู้ ่วยโรคผิวหนงั ท้ังสิ้น 5,973 ราย จําแนกเป็น ผิวหนังอักเสบจากภมู แิ พ้ ( Allergic dermatitis) 2,678 ราย ( แพส้ ารเคมี ผา้ ออ้ ม เคร่ืองสําอาง ยา พลาสติก ซเี มนต์ สีและ อ่ืน ๆ ) และ ผิวหนังอักเสบจากสารระคาย ( Irritant dermatitis ) 962 ราย ( ผงซักฟอก นํา้ มันเครื่องสําอาง ยา อาหาร และสารเคมีอื่น ๆ) ผิวหนังสัมผัสแสงแดด และรังสีอุลตร้าไวโอเลต 103 ราย และผิวหนังอักเสบอื่น ๆ ท่ไี ม่ระบุ 2,230 ราย4. โรคกระดกู และกล้ามเน้อื (Musculoskeletal diseases) เปน็ กลุ่มผปู้ ่วยที่ได้รับรายงานมากท่ีสดุจาํ นวนทง้ั ส้ิน 13,290 ราย จําแนกเป็นกลมุ่ ปวดหลงั จากอาชพี 9,482 ราย รอ้ ยละ 71.3 และ อาการปวดจากความเค้นของกลา้ มเนื้ออ่ืน ๆ 3,808 ราย ร้อยละ 28.75. พิษจากสัตว์ ( Toxic effect of contact with venomous animals) ผู้ป่วยทีร่ ับพิษจากสตั ว์จํานวน 7,232 ราย เฉลีย่ 1,033 ต่อปี รอ้ ยละ 45.3 จากพิษงู สตั ว์กลุ่มผง้ึ แตน ต่อ ฯ ร้อยละ 27.4 และสตั ว์ อื่น ๆ ร้อยละ 27.3 (รูปท่ี 5) พษิ การกินสัตว์ทเ่ี ปน็ พิษ 0.92 % พิษสัตว์ทะเล 3.81 พษิ แมงมุม 0.37 % พิษแมงป่อง 2.24 % พษิ จากตะขาบ และอ่นื ๆ 12.2 % พษิ ผงึ้ แตน ตอ่ 27.4 % พษิ งู 45.3 %รอ้ ยละ 0 10 20 30 40 50รูปที่ 5 รอ้ ยละของผู้ป่วยบาดเจ็บจากการไดร้ บั พษิ จากสัตวพ์ ิษ จําแนกตามสาเหตุ พ.ศ. 2546 - 2552 สาํ นกั ระบาดวิทยา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข
สาํ นักระบาดวทิ ยา ENOCC 76. พษิ จากพชื พษิ ( Toxic effect of contact with plants ) ผู้ป่วยทร่ี ายงานจากการไดร้ ับ หรือกินพืชพิษรอ้ ยละ 80.5 มีสาเหตจุ ากการกินเห็ดพิษ กินผลของพชื พิษ เช่น สบดู่ ํา มะกลาํ่ ฯ รอ้ ยละ 8.6 และกินสว่ นอื่น ๆ ของพืช เช่น ใบ ราก ลําต้น ร้อยละ 10.9 ผปู้ ว่ ยทีก่ ินผลไม้พษิ สว่ นใหญเ่ ปน็ ผู้ป่วยเด็ก อายุระหวา่ ง 6 - 10 ปี 7. พษิ โลหะหนกั ( Heavy metal poisoning ) ผู้ป่วยรายงานพิษโลหะหนัก จาํ นวน 49 ราย เฉลี่ยปลี ะ 7ราย จําแนกเป็น พิษสารตะกั่ว 27 ราย ร้อยละ 55.10, แคดเมยี ม 7 ราย รอ้ ยละ 14.28, ดบี ุกและสว่ นประกอบ 5 ราย, ร้อยละ 10.2, สารหนู 4 ราย, ทองแดง 1 ราย อ่ืน ๆ ไม่ระบุ 5 ราย ผปู้ ว่ ยพิษโลหะหนักส่วนใหญ่ มีอาชพี รบั จา้ ง และ ในเดก็ พบการสัมผัสสารตะกั่วสงู ข้ึน 8. พิษสารระเหยและตัวทาํ ละลาย ( Toxic effect of solvents ) จํานวนผู้ป่วยรายงานพษิ สารระเหยและสารละลาย จาํ นวน 78 ราย สว่ นใหญเ่ ป็นผูป้ ่วยในภาคอตุ สาหกรรม โดยพบผู้ป่วยมีแนวโน้มสูงข้ึนในช่วงพ.ศ. 2550-2552 ผ้ปู ว่ ยทไ่ี ดร้ ับอันตรายจากพิษสารระเหย จาํ แนกเป็น พษิ สารเบนซีน 12 ราย ร้อยละ 15พิษไตรคลอโรเอทธลิ ีน 11 ราย ร้อยละ 14.1 พษิ โทลูอีน 8 ราย รอ้ ยละ 10.2 และเป็นกลุ่มสารระเหยอื่น ๆ47 ราย พษิ สารระเหยและตวั ทาํ ละลาย เป็นกลมุ่ สารเคมีท่มี ีแนวโนม้ สูงขึ้น และมีฤทธ์ิค่อนขา้ งรุนแรง และเป็นสารก่อมะเรง็ ส่วนใหญ่เป็นผ้ปู ่วยในโรงงานอุตสาหกรรม เขตจังหวัดระยอง กรุงเทพฯ และสมทุ รสาครและอาจทําให้เสียชวี ติ ไดง้ ่ายหากไดร้ ับสมั ผัสในปริมาณเข็มข้นสงู และเป็นเวลานาน เช่น ไตรคลอโรเอทธิลีน ท่ีมกี ารนํามาใช้อยา่ งแพร่หลาย และมีรายงานการเสียชีวติ มากขึ้น.9. พษิ จากก๊าซ (Toxic effect of gas and vapor poisoning) จาํ นวนผู้ป่วยทีไดร้ บั พิษจากกา๊ ซ จํานวน253 ราย จาํ แนกเป็น พษิ จากก๊าซซลั เฟอร์ไดออกไซด์ 111 ราย ร้อยละ 43.9 ก๊าซแอมโมเนีย 59 รายร้อยละ 23.3 ราย กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ 25 ราย ร้อยละ 9.9 ไฮโดรเจนซัลไฟด์ 17 ราย รอ้ ยละ 6.7และ อื่น ๆ 41 ราย สว่ นใหญ่การสดู ดมกา๊ ซมกั เกดิ จากการร่ัวไหล ระหว่างกระบวนการผลิต เช่น กา๊ ซแอมโมเนีย ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ สาํ หรับก๊าซไฮโดรเจนซลั ไฟด์ สว่ นหนง่ึ เกดิ จากการทาํ งานในทอี่ บั อากาศไดแ้ ก่ บอ่ ก๊าซชวี ภาพ เรอื ประมง เป็นต้น (รปู ท่ี 6) คารบ์ อนมอนนอกไซด์คารบ์ อนไดออกไซด์ กา๊ ซอนื่ ๆ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ แอมโมเนยีคลอรนี ซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์รูปที่ 6 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยบาดเจบ็ จากการไดร้ ับพิษกา๊ ซ จําแนกตามประเภทกา๊ ซ พ.ศ. 2546 - 2552 สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ
สํานกั ระบาดวิทยา ENOCC 810. พษิ จากสารเคมกี ารเกษตรและสารเคมีอ่นื ๆ (Toxic effect of pesticides and other chemical) ผูป้ ่วยไดร้ ับพิษสารเคมปี ้องกันกําจดั แมลงศัตรูพืช ทไี่ ด้รายงานในระบบเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชพี และส่งิ แวดล้อม (506/2) มที งั้ สน้ิ 459 ราย จาํ แนกเป็นสารกําจัดแมลงศัตรูพืช 349 รายสารเคมีอื่น ๆ รวมทงั้ ผลติ ภัณฑ์ที่ใช้ตามบา้ นเรือน 110 ราย สําหรับผู้ไดร้ ับสารกําจัดแมลงศัตรูพชื เป็นการได้รบั พษิ ขณะทาํ งาน และอุบัติเหตุ ไม่ร่วมการฆ่าตัวตาย สารกําจดั แมลงศตั รพู ืชที่ไดร้ บั รายงาน จําแนกเป็น 3กลุ่ม ได้แก่ พษิ สารกําจัดแมลงศตั รูพชื 181 ราย สารกาํ จัดวัชพืช 143 ราย สารกาํ จัดหนแู ละสตั ว์แทะ 25ราย คิดเป็นร้อยละ 51.8, 41.0 , 7.2 ในกลุ่มพิษสารกาํ จัดแมลงศตั รูพืช จําแนกเป็น ออรก์ าโนฟอสฟอรัส91 ราย คาร์บาเมต 6 ราย และ ไพรีทรอยด์ 2 ราย กลุ่มสารกาํ จัดวัชพชื 143 ราย จําแนกเป็น พาราควอท34 ราย กลัยโฟเสต 22 ราย และอื่น ๆ 87 ราย สําหรบั สารเคมีอื่น ๆ รวมท้งั ผลติ ภัณฑท์ ่ใี ช้ตามบ้านเรือน110 ราย สว่ นใหญเ่ ป็นสารประกอบอินทรีย์ชนิดกดั กร่อน. (รูปท่ี 7) ประเภทสารเคมี 10 20 30 40 รอ้ ยละสารเคมที ี่ใชใ้ นบา้ นเรือนสารกาํ จดั หนแู ละสัตว์สารกําจัดวัชพชืสารกาํ จดั แมลงศตั รูพชื 0รูปที่ 7 ร้อยละของผู้ป่วยบาดเจ็บจากการไดร้ ับพษิ สารกําจัดแมลงศัตรูพชื พ.ศ. 2546 - 2552 สํานกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข การพฒั นาระบบเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชพี และสิง่ แวดล้อมในรูปแบบเชิงรบั ได้พฒั นาและมกี ารดําเนินการขึ้น ต้งั แต่ พ.ศ. 2546 โดยกําหนดให้มกี ารรายงาน 10 กลุม่ 35 รายโรค และกําหนดข้ันตอนการพฒั นาเคร่อื งมือและแนวทาง และส่งเสรมิ ศกั ยภาพเครือข่ายในระดบั เขต จงั หวัด และอ่ืน ๆใหส้ ามารถการดาํ เนินงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ รวมท้งั การรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ติดตามสถานการณ์ และการสนบั สนุนด้านวิชาการและนิเทศตดิ ตาม จากการดําเนินงานต้ังแต่ พ.ศ. 2546-2553 มจี ังหวัดที่ไดร้ บัการพฒั นาและมีการรายงานข้อมูลผู้ป่วยทงั้ ส้ิน 31 จังหวัด จงั หวัดระยอง และสมทุ รสาคร มีการรายงานสูงสดุเนื่องจากเป็นจังหวดั ทใี่ หค้ วามสําคญั และเป็นเขตอุตสาหกรรม จากการดาํ เนินงานท่ีผ่านมา พบวา่ มผี ู้ป่วยรายงาน ทัง้ สิ้น จํานวน 29,492 ราย เฉล่ียปีละ 4,200 ราย โรคทีม่ กี ารรายงานสงู สดุ คอื โรคปวดหลัง พษิจากพืช และสัตว์ โรคผวิ หนงั และโรคทมี่ แี นวโน้มการรายงานสูงข้ึน คอื พษิ จากสารเคมี ไดแ้ ก่ พิษจากสารเคมีการเกษตร สารระเหยตัวทําละลาย พิษจากกา๊ ซ และสารโลหะหนัก โดยการรายงานพบได้ทุกกลุ่มอายุส่วนใหญ่ เป็นกล่มุ วยั แรงงาน อายุ 15- 59 ปี และกล่มุ เด็กอายุ ตา่ํ กวา่ 15 ปี มแี นวโน้มสูงข้ึน ผทู้ ม่ี ีอาชีพรบั จา้ งท่ัวไป เป็นกล่มุ ที่มีการรายงานสูงสุด และกลุ่มรับจ้างในโรงงาน สว่ นใหญเ่ ป็นผู้ไดร้ บั ผลจากอุบตั เิ หตุสารเคมีอยา่ งไรกต็ าม เนอ่ื งจาก การรายงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดลอ้ มทไ่ี ด้รบั ยังขาดความครบถ้วนและความต่อเน่ืองในการรายงาน หากจะใชป้ ระโยชน์ข้อมูล เพ่ือแสดงสถานการณ์ของโรคอาจจะยงั บ่งชไ้ี มไ่ ด้
สํานกั ระบาดวทิ ยา ENOCC 9ชัดเจนเทา่ ทคี วร แตค่ วามจาํ เป็นทีต่ อ้ งมีการพัฒนาระบบเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดลอ้ มแบบเชงิ รับ ยงั ควรมีการดาํ เนินการอยา่ งตอ่ เน่ือง เพอ่ื ใชเ้ ป็นเครอ่ื งมอื ในการตรวจจับ หรอื ตรวจสอบหาความผิดปกติ ของโรคและภัยที่เกิดจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดลอ้ มและเพื่อใช้เป็นตัวช้ีวดั และแสดงปัญหาผลกระทบจากสิ่งคุกคามอันตราย สารเคมตี า่ ง ๆ อันเกิดจากการประกอบอาชพี และส่งิ แวดลอ้ ม และการตดิ ตาม สอบสวน ค้นหา ผู้ปว่ ยหรือผู้ได้รบั ผลกระทบตลอดจนการเป็นข้อมูลพนื้ ฐาน และหลักฐานอ้างอิงทางวชิ าการทเ่ี กีย่ วข้อง ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากระบบเฝา้ ระวงั โรค ต้องมคี วามถูกต้อง ครบถว้ น และทันต่อเวลาจงึ จะเป็นขอ้ มูลท่ีสามารถบ่งช้ีสถานการณ์ไดด้ ี และจะมคี ุณคา่ หากนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ ตอ่ การติดตามสอบสวนหาสาเหตุและหาวิธีการควบคุม ป้องกันโรคและภยั ที่เกิดข้ึน อยา่ งไรก็ตาม การดําเนินงานเฝา้ ระวังโรคจากการประกอบอาชพี และสงิ่ แวดล้อมแบบเชิงรบั เป็นการดําเนินทต่ี ้องอาศยั ความร่วมมือจากหลายฝา่ ย และเป็นระบบทีต่ ่อเน่ือง จงึ ทาํ ใหบ้ างคร้งั ประสบปญั หาในการดําเนินการต่าง ๆ ดงั นี้ 1. ปัญหาความไมช่ ัดเจนของการดาํ เนนิ งาน เน่อื งจากรูปแบบการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมแบบเชงิ รับ เป็นการพัฒนามาจากการรายงานโรคในข่ายงานเฝา้ ระวังโรคใน506 เดิม ของสํานักระบาด ทม่ี ีการเฝ้าระวังโรคจากการทาํ งาน 6 กลุ่มโรค ซึ่งทาํ ให้ผปู้ ฎิบตั ใิ นช่วงแรก เกดิความสับสนว่า จะรายงานในระบบของ 506 หรอื 506/2 และมคี วามซาํ้ ซ้อนในบางโรค 2. ความพร้อม ความรู้ ความเขา้ ใจ ของผู้รับผดิ ชอบงาน ความพรอ้ มด้านบุคลากรยังขาดองคค์ วามรู้ และประสบการณ์ด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสง่ิ แวดล้อม เช่น สถานบรกิ ารสาธารณสุขบางแหง่ ไมม่ แี พทยด์ า้ นอาชีวเวชศาสตร์ ไมส่ ามารถให้การวิเคราะห์และวินิจฉัยโรคทเ่ี กิดจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมได้ พยาบาลหรือเจ้าหน้าทีผ่ ซู้ ักประวัติ ไมไ่ ดค้ ํานงึ ถงึ โรคท่เี กดิ จากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดลอ้ ม และเข้าใจว่าโรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดลอ้ ม มีเฉพาะในพื้นท่ีจงั หวดั ทเี่ ปน็เขตอตุ สาหกรรมเท่าน้ัน ไม่ได้มองถึงกลุม่ แรงงานนอกระบบ งานบรกิ าร ผ้รู ับงานไปทําท่ีบา้ น ซงึ่ เป็นกลมุ่ เสีย่ งสาํ คัญในชุมชน 3. การปรบั เปลี่ยนโครงสร้างใหม่และบุคลากร มีผลต่อการดําเนินการของผู้ปฏิบัติงานในแตล่ ะพ้ืนท่ี และไม่มกี ารทดแทน หรอื การต่องานให้ผู้มารับงานใหม่ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการใชป้ ระโยชน์ ปัญหาการบันทึกและวเิ คราะห์ข้อมูลเกดิ ข้ึนในหลายจงั หวัด ซ่ึงอาจเชื่อมไปถึงปัญหาด้านบุคลากร และการให้ความสาํ คญั กบั การนําข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรอื ไม่สามารถอธิบายปัญหาของโรคทเี่ กดิ ขึ้นได้ เน่ืองจากการเก็บรวบรวมข้อมูลไม่เพยี งพอ และไมไ่ ดเ้ ชอ่ื มโยงข้อมูลจากการเฝ้าระวงั กบั ข้อมูลอ่ืน ๆ และไมไ่ ดม้ กี ารติดตามสอบสวน หาสาเหตุเพ่ิมเติมขอ้ เสนอแนะ 1. การสนบั สนุนด้านนโยบาย บุคลากร งบประมาณ ในการดําเนินงานเฝ้าระวงั โรคจากการประกอบอาชพี และสงิ่ แวดล้อมใหเ้ พียงพอ ครอบคลุมและเหมาะสมกบั พ้ืนท่ี 2. ใหม้ ีการรายงานโรคจากการประกอบอาชีพและสงิ่ แวดล้อมเฉพาะ (506/2) โดยแยกการรายงานจากโรคติดเชื้อ (506) เนอ่ื งจากมีปจั จัย สาเหตุ และลักษณะการเกดิ โรคท่ีแตกตา่ งกัน
สาํ นักระบาดวทิ ยา ENOCC 10 3. ส่งเสรมิ พฒั นาศักยภาพบุคลากรทุกระดับทเ่ี กี่ยวข้องเพ่อื ใหส้ ามารถ ดาํ เนินการเฝา้ระวัง สอบสวนโรคจากการประกอบอาชพี และสิง่ แวดล้อมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. สง่ เสรมิ ให้มกี ารใช้ประโยชนจ์ ากข้อมลู เฝ้าระวงั โรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดลอ้ ม เพ่อื การตดิ ตาม หาสาเหตุ เตือนภัย และข้อกําหนดเชิงนโยบายในระดบั พื้นทีแ่ ละประเทศ ***************************************************************************************
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: