Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน (1)

แนวทางการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน (1)

Published by arsa.260753, 2015-11-06 03:04:31

Description: แนวทางการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน (1)

Search

Read the Text Version

แนวทางการวนิ ิจฉยั โรคจากการทาํ งาน นพ.วิวัฒน เอกบูรณะวฒั นแพทยอ าชีวเวชศาสตร รพ.สมิติเวช ศรีราชา www.wiwat.org

เนอื้ หาทจี่ ะเรยี นรู ™โรคจากการทาํ งานคอื อะไร ™โรคท่เี กย่ี วเน่อื งกบั การทาํ งานคอื อะไร ™ทําไมตองวินิจฉยั โรคจากการทาํ งาน ™แนวทางการวางระบบการวินจิ ฉัยโรคจากการทาํ งาน ™เกณฑการวนิ ิจฉัยโรคจากการทํางาน ™รายช่ือโรคจากการทํางานของประเทศไทย พ.ศ. 2550

โรคจากการทาํ งานคืออะไร ™โรคจากการทาํ งาน หรือ โรคจากการประกอบอาชพี (occupational disease) แปลตรงตัวไดวา คือโรคทท่ี ํางาน แลวทําใหเ กดิ โรคขนึ้ (ถาไมทาํ งานจะไมเ ปน โรคน)้ี โรค จากการทํางานมอี ยมู ากมายหลายโรค ™โรคท่เี ก่ียวเนื่องกบั การทํางาน หรอื โรคทเี่ กยี่ วเนือ่ งกับ การประกอบอาชพี (work-related disease) คอื โรคที่ไมไ ด เกิดจากการทาํ งาน (คอื ถา ไมทํางานก็ยงั เปนโรคน้ีไดอ ยู ดี) แตการทํางานอาจมผี ลกระทบ ทําใหอาการของโรคดี ขน้ึ หรือเลวลงได

ตัวอยางของโรคจากการทํางาน ตวั อยา งของโรคจากการทํางาน เชน ™โรคปอดฝุนหนิ เกดิ จากการสูดดมฝุน หินในงาน ™โรคปอดฝุนฝาย เกดิ จากการสูดดมฝุนฝา ยในงาน ™โรคพิษปรอท เกดิ จากการไดรบั สารปรอทในงาน ตวั อยา งของโรคท่ีเกย่ี วเนื่องกบั การทํางาน เชน ™โรคเกาต โรคเบาหวาน โรคมะเรง็ เตา นม โรคโลหิตจาง โรคพยาธิ โรคล้ินหัวใจร่ัว ท่ีไมไ ดม สี าเหตุเกดิ จากการ ทาํ งาน (คนทจ่ี ะบอกไดว า โรคเหลา นม้ี สี าเหตุเกิดจากการ ทาํ งานหรือไมค อื แพทยอ าชวี เวชศาสตร)

ทําไมจงึ ตองวนิ จิ ฉัยโรคจากการทาํ งาน สาเหตุทตี่ อ งวนิ ิจฉยั โรคจากการทาํ งาน เพราะ ™เพ่อื ทก่ี องทนุ เงินทดแทนจะไดจ า ยเงินชดเชยใหกับคนที่ ปวยเปนโรคจากการทํางานได ™เพอ่ื รวบรวมสถิติโรคจากการทาํ งาน อนั จะนําไปสูการ วางนโยบายปองกนั โรคของประเทศตอ ไป ใครควรจะเปนผวู ินิจฉัยโรคจากการทํางาน ™ดีทส่ี ุดควรจะเปนแพทยอ าชวี เวชศาสตร ™แพทยส าขาอน่ื ๆ

สถติ ิโรคจากการทํางานไทย มี 3 ฐานขอมูลสาํ นักระบาด กองทุนเงนิ สาํ นักโรคจากการ วิทยา ทดแทน ประกอบอาชีพรง.506/2 กท.16/1 ICD-10โรงพยาบาลรฐั โรงพยาบาลเอกชน โรงเรียนแพทย โรงพยาบาลอาํ เภอ สถานีอนามยั เขยี นใบรายงานโรคหรอื สง ขอมูลให

ฐานขอมูล (1) กองทนุ เงินทดแทน กองทนุ เงินทดแทน สถติ ิรายงานโดยเขยี นใบ กท.16/1 สง กองทนุ เงนิ ทดแทน ผเู ขยี นตอ งเปนแพทย ผปู วยทเ่ี ขยี น สงไปแพทยต อ งวินจิ ฉัยไดแนนอนแลว วาปวยเปน โรคจาก การทาํ งานจรงิ ๆ ขอดี เกบ็ จํานวนผูปวยจรงิ ขอเสยี สถติ คิ รอบคลุมแตผ ูท อ่ี ยู ในขายความคมุ ครองของกองทนุ เงินทดแทน (ประมาณ 10 ลา นคน) คนเขียนมีโอกาสตอ งไปเปนพยานทศ่ี าล

ฐานขอ มูล (2) สํานกั ระบาดวิทยา สํานักระบาดวทิ ยา สถติ ิรายงานโดยเขียนใบ รง.506/2 สง สสอ. สสจ. และสํานักระบาด ใครเขียนก็ได (แพทย พยาบาล เจาหนา ทสี่ าธารณสุข หมออนามยั ) เพยี งแต สงสยั โรคจากการทาํ งานกเ็ ขียนไดแ ลว ไมจําเปน ตองเปน ผูปวยวินจิ ฉัยยนื ยนั ขอ ดี สถิตคิ รอบคลุมท้ังประเทศ รวมคนทใ่ี ชส ทิ ธริ าชการ และประกันสขุ ภาพถวนหนา ไวดว ย ขอ เสีย เปน เพียง ผปู วยสงสยั เมือ่ เอาขอมูลมาดูจริงจังจึงบอกไมไดช ดั วา มผี ูปวยก่ีคนกันแน เปนระบบที่เพ่ิมภาระงาน (workload) ใหกับเจาหนาทตี่ ามโรงพยาบาลและ สอ. มากข้ึน

ฐานขอ มูล (3) สาํ นักโรคจากการประกอบอาชีพ สาํ นกั โรคจากการประกอบอาชพี สถติ ิไดจากการทสี่ าํ นกั โรคจากการประกอบอาชพี ไปรวบรวมสถติ โิ รคมาจาก ฐานขอมลู ICD-10 ของ สปสช. ขอดี ครอบคลมุ ท้งั ประเทศ ท้ังผูปวยประกนั สังคม ราชการ และประกนั สขุ ภาพถวนหนา เชื่อถอื ไดส งู เพราะเปนผูป วย ยืนยนั ไมเ พม่ิ ภาระงานใหเ จาหนา ทที่ โี่ รงพยาบาล และ สอ. ขอเสีย ไมมีการเผยแพรใหค นทัว่ ไปไดท ราบ เชน ทางอนิ เตอรเนต็ ทาํ ใหคนท่ัวไปเอาขอ มลู มาใชไ มไ ด

แนวทางการวนิ จิ ฉัยโรคจากการทาํ งาน ™ในท่นี จ้ี ะขอกลาวถงึ โดยเนน การรายงานไปท่ีกองทนุ เงนิ ทดแทนเปน สําคญั เน่อื งจากเปน ฐานขอมลู ทกี่ าร รายงานจะมผี ลทางกฎหมายตอ ผูร ายงานดวย ทําให ตองทําอยา งถูกตองและระมัดระวังมากทีส่ ดุ

ส่งิ สาํ คญั ท่ีตอ งระลกึ ถงึ สิง่ สาํ คัญท่ีตอ งระลกึ ถึง 3 ขอ กอ นสงรายงานการวนิ ิจฉัย โรคจากการทาํ งาน (กท.16/1) ไปที่กองทนุ เงินทดแทน 1. ตองเปนผูปวยยืนยัน ทไ่ี ด definite diagnosis แลว 2. ตองเปน “แพทย” ทเ่ี ปน ผเู ขยี นวินจิ ฉัย 3. แพทยท ีว่ นิ จิ ฉยั ตองพรอมจะไปเปน พยานทศี่ าล หาก ผลการวนิ จิ ฉยั น้นั เกิดทําใหเ กดิ กรณีพิพาทระหวาง นายจา งกับลูกจา งขนึ้

เสนทางการเดนิ เรอ่ื งของกองทุนเงนิ ทดแทนลกู จา งมาวินจิ ฉัยโรคจากการทํางานทีโ่ รงพยาบาล ฟอ งศาลแพง ศาลปกครอง ศาลอนื่ ๆแพทยอ าชวี เวชศาสตรวินจิ ฉัยเปนโรคจากการทาํ งาน พยาน ผลตัดสินศาลแรงงาน ลกู จางหรอื นายจา งฟองศาลแรงงาน แพทยเขียนใบ กท.๑๖/๑ ผลตัดสินไมน าพอใจ(นายจางเขียนใบ กท. ๑๖ และ กท. ๔๔) ลูกจา งหรอื นายจา งยื่นเรอื่ งอทุ ธรณ ย่ืนเรอื่ งไปท่กี องทุนเงินทดแทน เรือ่ งซับซอ น ผลตัดสินไมนา พอใจเจา หนา ที่กองทุนเงินทดแทนพิจารณา วงเงนิ เคลมสงูถาเร่ืองท่ียื่นมาชัดเจน วงเงินเคลมไมสงู สงเรื่องเขาคณะอนุกรรมการ การแพทยพจิ ารณา เจาหนาท่ีทาํ เร่ืองจายเงินใหเ ลย โรงพยาบาลไดคารกั ษา เปนโรคจากการทาํ งานจรงิ ลกู จา งไดเงนิ ชดเชยนายจา งเสียเงนิ คาประสบการณเ พ่ิม เรือ่ งจบ

เสน ทางการเดินเร่ืองของสาํ นักระบาด ลูกจางมารักษาตัวท่ีโรงพยาบาล จะเห็นไดวา เสน ทางการเดินเรือ่ ง ของสาํ นักระบาดวทิ ยานั้น จาํ กัดวงแพทยอาชีวเวชศาสตร แพทยสาขาอืน่ พยาบาล อยูเฉพาะในกระทรวงสาธารณสุข หมออนามยั สงสัยเปน โรคจากการทํางานคนท่ีสงสัย เขยี นใบ รง.๕๐๖/๒ สสอ. สงสํานักระบาด สสจ. สํานักระบาดบันทึกขอมูลเขาระบบเฝา ระวังโรค หมายถึง ฝายหน่ึงรายงานไป (passive surveillance) (บางครง้ั ) อกี ฝายก็จะเขามา สอบสวนหาสาเหตุของโรคใหขึ้นผลทางอินเตอรเ น็ตเปน รายวัน รายสัปดาห รายเดอื น ครบปส าํ นักระบาดทําสรุปผล วามีจาํ นวนผปู ว ยสงสัยเปนโรคจากการทาํ งานกี่ราย

ปญ หา ? จาก flow chart เสน ทางการเดนิ เร่อื งของกองทนุ เงนิ ทดแทน กบั สาํ นกั ระบาดวทิ ยาทแี่ สดงมา จะเหน็ ไดวา เสน ทางแตกตาง กนั มาก ทัง้ ๆ ทเี่ ปน การรายงานโรคจากการทํางานเหมอื นกนั ปญ หาคือโรงพยาบาลตอ งรับทง้ั คนไข สทิ ธิกองทุนเงนิ ทดแทน (ประกนั สังคม) สิทธิราชการ และสทิ ธปิ ระกนั สขุ ภาพถว นหนา เราจะจัด flow ภายในโรงพยาบาลไดอ ยางไร ใหไ มส บั สน และ ไมเ พิ่มภาระงานใหก บั เจา หนา ทม่ี ากเกินไป

วิธีแกไ ขท่อี าจเปน ไปได เง่ือนไขคอื ถา คนไข “เปนโรคจากการทาํ งาน” ™ถา มสี ทิ ธิกองทุนฯ เขียนทงั้ รง.506/2 และ กท.16/1 ™ถา มสี ทิ ธิราชการหรือประกนั สขุ ภาพถว นหนา เขยี นแค รง.506/2 การแยก flow อาจไมใชท างเลอื กทด่ี นี ัก เพราะเปน ผปู ว ย ทม่ี าวนิ ิจฉัยโรคจากการทํางานเหมอื นกนั อาจทาํ ใหแ ผนก คดั กรอง (screening) เกดิ ความสบั สนได ทางเลอื กหน่งึ คือ จดั flow เดยี ว แตจ ดั ใหด ๆี เหมาะกบั ท้งั 2 ระบบไปเลย

ทางเลือกที่ 1 แบง แยกที่จดุ คัดกรอง ตวั อยางคําถามคัดกรองเชน (1) คุณคิดวา อาการท่ีเปนสมั พันธกบั งานที่ทําไหม (2) หยุดงานแลว อาการดีข้ึนไหม ผปู ว ย (3) มีเพือ่ นรว มงานมอี าการแบบน้ีบางไหมพยาบาลคัดกรองถามคาํ ถามคัดกรอง ไมสงสัยโรคจากการทาํ งาน สงสัยโรคจากการทาํ งาน สงแผนกอาชีวเวชกรรม รักษาตามปกติเพือ่ พบแพทยอ าชวี เวชศาสตร สงพบแพทยเฉพาะทางสาขาตางๆ ถา วินจิ ฉยั เปนโรคจากการทํางาน เขียนใบ กท.๑๖/๑ หรอื รง.๕๐๖/๒สงกองทุนเงินทดแทน หรือ สํานักระบาด

ขอ ด-ี ขอเสยี ของทางเลือกที่ 1 ™ขอ ดี เพมิ่ จํานวนผูปวยทีจ่ ะวินจิ ฉยั โรคจากการทาํ งาน ได ในแงสถิติโรคของประเทศจะไดต วั เลขทด่ี ีขนึ้ เล็กนอ ย ™ขอ เสีย มีขอเสียหลายประการ (1) เพ่ิมภาระงานให พยาบาลคัดกรองอยางมากมาย (2) ทําใหผูปวยไปคงั่ อยูทแี่ ผนกอาชีวเวชกรรม ซงึ่ สว นใหญกม็ แี พทยแค 1 – 2 คน และตรวจไมท นั (3) เพิ่มความเสยี่ งใหแ พทยท่ี วนิ จิ ฉัย เพราะยังไมได definite diagnosis เส่ยี งมากถา ตอ งไปเปนพยานศาล (4) เพิม่ ภาระงานใหแ กแ ผนกอา ชวี เวชกรรม (5) เปน การไมใหเ กยี รติแพทยสาขาอ่ืน? (เพราะไปแยง ผปู วยเขามาตรวจกอน)

ทางเลอื กท่ี 2 ใชร ะบบการสง ตอ โดยแพทยผปู วยวนิ จิ ฉัยและรักษาโรค แพทยไมส งสัยโรคจากการทาํ งานโดยแพทยเฉพาะทางสาขาตางๆแพทยสงสัยโรคจากการทาํ งาน สงแผนกอาชีวเวชกรรม รบั ยากลบั บานเพ่ือพบแพทยอาชวี เวชศาสตร ถา วินิจฉยั เปนโรคจากการทาํ งาน เขยี นใบ กท.๑๖/๑ หรือ รง.๕๐๖/๒สงกองทนุ เงินทดแทน หรือ สาํ นักระบาด

ขอ ด-ี ขอเสีย ของทางเลอื กที่ 2 ™ขอ ดี มขี อดีหลายประการ (1) ทราบ definite diagnosis แลว ทาํ ใหว ินจิ ฉัยโรคจากการทาํ งานไดงายข้นึ (2) ขอมลู แนน อนกวา หากมีขอพพิ าทถึงศาล แพทยอ าชีว เวชศาสตรกไ็ ปขน้ึ ศาลไดอ ยา งมน่ั ใจ (3) ไมเพมิ่ ภาระ งานใหกบั พยาบาลคัดกรอง (4) ไมเพม่ิ ภาระงานใหแ ก แผนกอาชวี เวชกรรม (5) เปน การใหเกยี รตแิ พทยสาขา อ่ืน เพราะใหสทิ ธแิ พทยเ ปนผูต ดั สินใจสง ปรกึ ษา ™ขอ เสีย อาจไดผ ูปวยนอ ยหนอ ย แตกเ็ ปนโรคจากการ ทํางานแนน อน ทาํ ใหส ถิตใิ นภาพรวมแมตวั เลขเพม่ิ ไม มาก แตค วามนา เช่อื ถอื จะสงู กวา

เกณฑการวนิ จิ ฉัยโรคจากการทาํ งาน (1) ประกาศกระทรวงแรงงานและสวสั ดิการสงั คม เร่ืองหลกั เกณฑก ารวนิ ิจฉยั และการประเมนิ การ สูญเสยี สมรรถภาพของผูป ว ยหรือบาดเจบ็ ดวยโรคจากการทํางาน (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2541 1. การวนิ ิจฉยั โรคจากการทาํ งาน ใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑด งั ตอ ไปน้ี 1.1 มีหลกั ฐานทางการแพทยแ สดงการเจบ็ ปวย ดงั นี้ ก. เวชระเบยี น ข. ผลและรายงานการชนั สูตรตางๆ ที่เกย่ี วกับโรค ค. ใบรบั รองแพทย ง. ความเหน็ ของแพทยผเู ช่ยี วชาญ

เกณฑก ารวนิ ิจฉัยโรคจากการทํางาน (2) 1.2 มีการวินจิ ฉยั แยกสาเหตอุ ื่นๆ ของการเจบ็ ปว ย ซึ่งอาจทําใหเกดิ การเจบ็ ปวยแบบเดยี วกนั (differential diagnosis) 1.3 มีประวัตหิ รอื หลกั ฐานทางประวตั หิ รอื หลกั ฐานอ่นื แสดงถงึ การ ไดร บั สงิ่ คกุ คามทั้งในงานและนอกงาน 1.4 มอี าการหรอื อาการแสดงคร้ังแรก (onset) เกดิ หลังจากสัมผัส (exposure) และมีระยะเวลากอ โรครายบคุ คล (induction time) 2. นอกจากหลกั ฐานทกี่ าํ หนดไวต ามขอ 1 แลว อาจใชหลกั เกณฑข อใดขอ หนง่ึ ประกอบการวินจิ ฉยั โรคไดด งั ตอ ไปน้ี 2.1 การวนิ ิจฉยั ดว ยการรกั ษาทางการแพทยพสิ จู นส าเหตุของโรค เชน โรค พษิ สารตะก่วั อาจจําเปน ตองทาํ การตรวจทดลองรกั ษาไปกอ น เพอื่ ให ผูปวยปลอดภัย หากอาการดขี น้ึ แสดงวา นา จะเปน โรคพษิ จากตะก่วั

เกณฑก ารวินจิ ฉยั โรคจากการทํางาน (3) 2.2 อาการปว ยบางระยะสัมพนั ธก บั การสมั ผัสส่ิงแวดลอ มท่ีมปี จจัยคกุ คาม ในพนื้ ทสี่ งสยั 2.3 อาการปวยบางระยะเปลย่ี นแปลงไปในทางทด่ี ีข้นึ เมื่อเวนจาก สงิ่ แวดลอมท่เี ปนปจจยั คกุ คาม 2.4 มผี ูปว ยในกลุมผูสัมผัสลักษณะเดยี วกนั มากกวาหนึง่ ราย หรือมีรายงาน การสอบสวนทางระบาดวทิ ยาสนับสนุน 2.5 สอดคลองกบั การศึกษาหรือรายงานในคน และสตั วก อนหนา นี้ 3. หลกั เกณฑก ารวินจิ ฉยั โรค ใหอ างองิ เอกสารทางการขององคก ารอนามัย โลก (WHO) องคก ารแรงงานโลก (ILO) และเกณฑส ากลขององคก ร ตางประเทศ ทเี่ ปนทย่ี อมรับตามลําดบั และจะตองเปน ฉบบั ปจ จบุ นั หรอื เอกสารเลม ทจี่ ะออกใหม

บญั ชรี ายชอ่ื โรคจากการทาํ งาน (1) ประกาศกระทรวงแรงงาน เรอื่ งกําหนดชนิดของโรคซง่ึ เกิดขน้ึ ตาม ลกั ษณะหรอื สภาพของงานหรอื เน่ืองจากการทาํ งาน พ.ศ. 2550 มี จํานวนทัง้ หมด 80 โรค ดงั นี้ โรคที่เกิดขน้ึ จากสารเคมดี ังตอ ไปน้ี 1. เบรลิ เลยี ม หรอื สารประกอบของเบริลเลียม 2. แคดเมียม หรือสารประกอบของแคดเมยี ม 3. ฟอสฟอรัส หรอื สารประกอบของฟอสฟอรสั 4. โครเมยี ม หรอื สารประกอบของโครเมยี ม 5. แมงกานีส หรอื สารประกอบของแมงกานีส 6. สารหนู หรอื สารประกอบของสารหนู 7. ปรอท หรอื สารประกอบของปรอท 8. ตะก่วั หรือสารประกอบของตะกวั่ 9. ฟลอู อรนี หรือสารประกอบของฟลอู อรนี

บญั ชรี ายช่ือโรคจากการทาํ งาน (2)10. คลอรีน หรอื สารประกอบคลอรนี 26. เภสชั ภณั ฑ11. แอมโมเนยี 27. ทัลเลียม หรอื สารประกอบของทลั เลยี ม12. คารบ อนไดซลั ไฟด 28. ออสเมยี ม หรือสารประกอบของออสเมยี ม13. สารอนพุ ันธฮาโลเจนของสารไฮโดรคารบอน 29. เซลเี นียม หรือสารประกอบของเซลเี นียม14. เบนซีน หรือสารอนพุ ันธข องเบนซนี 30. ทองแดง หรือสารประกอบของทองแดง15. อนพุ ันธไ นโตรและอะมโิ นของเบนซนี 31. ดีบกุ หรือสารประกอบของดีบกุ16. ซัลเฟอรไดออกไซด หรือกรดซัลฟูริค 32. สงั กะสี หรอื สารประกอบของสังกะสี17. ไนโตรกลีเซอรีน หรือกรดไนตรคิ อ่นื ๆ 33. โอโซน ฟอสยีน18. แอลกอฮอล กลยั คอล หรือคีโตน 34. สารทําใหระคายเคอื ง เชน เบนโซควนิ โนน19. คารบอนมอนนอกไซด ไฮโดรเจนไซยาไนด20. อะครัยโลไนไตรล หรือสารระคายเคอื งตอกระจกตา เปนตน21. ออกไซดของไนโตรเจน22. วาเนเดยี ม หรือสารประกอบของวาเนเดียม 35. สารกาํ จดั ศตั รพู ชื23. พลวง หรือสารประกอบของพลวง 36. อัลดีไฮด ฟอรม าลดไี ฮด และกลตู ารัลดีไฮด24. เฮกเซน 37. สารกลมุ ไดออกซนิ25. กรดแรท ี่เปน สาเหตใุ หเกดิ โรคฟน 38. สารเคมี หรอื สารประกอบของสารเคมีอนื่ ซึง่ พสิ จู นไ ดว า มสี าเหตเุ น่อื งจากการทาํ งาน

บญั ชรี ายชื่อโรคจากการทํางาน (3) โรคทีเ่ กิดขึน้ จากสาเหตทุ างกายภาพ 39. โรคหตู งึ จากเสียง 40. โรคจากความสน่ั สะเทอื น 41. โรคจากความกดดันอากาศ 42. โรคจากรังสีแตกตวั 43. โรคจากรังสีความรอ น 44. โรคจากแสงอลั ตราไวโอเลต 45. โรคจากรงั สีไมแตกตัวอ่ืนๆ 46. โรคจากแสงหรอื คลื่นแมเ หล็กไฟฟา 47. โรคจากอณุ หภมู ติ ่าํ หรือสงู ผิดปกตมิ าก 48. โรคท่เี กิดข้ึนจากสาเหตทุ างกายภาพอื่น ซึ่งพิสจู นไดวา มีสาเหตุเน่อื งจากการทาํ งาน 49. โรคทเี่ กดิ ข้ึนจากสาเหตุทางชีวภาพ ไดแ ก โรคตดิ เชอื้ หรอื โรคปรสิต เนอ่ื งจากการทาํ งาน

บญั ชรี ายชอื่ โรคจากการทาํ งาน (4) โรคระบบหายใจท่ีเกดิ ขน้ึ เนื่องจากการทํางาน 50. โรคกลมุ นวิ โมโคนิโอสิส เชน ซลิ โิ คสิส แอสเบสโทสิส ฯลฯ 51. โรคปอดจากโลหะหนกั 52. โรคบิสสิโนสิส 53. โรคหดื จากการทาํ งาน 54. โรคปอดอักเสบภมู ิไวเกนิ 55. โรคซิเดโรสิส 56. โรคปอดอดุ ก้นั เร้ือรัง 57. โรคปอดจากอะลมู เิ นียม หรือสารประกอบของอะลมู เิ นยี ม 58. โรคทางเดินหายใจสว นบนเกิดจากสารภูมแิ พห รอื สารระคายเคืองในท่ีทํางาน 59. โรคระบบหายใจอ่นื ซง่ึ พิสจู นไดว า มีสาเหตุเนอ่ื งจากการทาํ งาน

บญั ชรี ายชอ่ื โรคจากการทํางาน (5) โรคผวิ หนังที่เกดิ ข้ึนเน่ืองจากการทาํ งาน 60. โรคผวิ หนงั ท่เี กิดจากสาเหตุทางกายภาพ เคมี หรือชวี ภาพอน่ื ซึง่ พิสจู นไดว ามีสาเหตุเน่อื งจากการทํางาน 61. โรคดางขาวจากการทํางาน 62. โรคผวิ หนงั อนื่ ซง่ึ พิสจู นไดว า มีสาเหตุเน่ืองจากการทาํ งาน 63. โรคระบบกลา มเน้อื และโครงสรา งกระดกู ทเ่ี กิดข้ึนเนือ่ งจากการทํางานหรอื สาเหตุจากลักษณะงานทจ่ี าํ เพาะหรอื มปี จ จยั เสย่ี งสูงในสง่ิ แวดลอ มการทํางาน โรคมะเร็งท่ีเกิดขึ้นเนือ่ งจากการทาํ งานโดยมีสาเหตุจาก 64. แอสเบสตอส (ใยหิน) 65. เบนซิดนี และเกลอื ของสารเบนซิดนี 66. บิสโครโรเมทธลิ อีเทอร 67. โครเมยี มและสารประกอบของโครเมยี ม 68. ถา นหิน

บญั ชรี ายช่อื โรคจากการทาํ งาน (6) 69. เบตา – เนพธีลามนี 70. ไวนิลคลอไรด 71. เบนซีนหรืออนุพนั ธข องเบนซนี 72. อนุพนั ธข องไนโตรและอะมโิ นของเบนซีน 73. รังสแี ตกตวั 74. นํ้ามันดนิ หรอื ผลติ ภัณฑจากน้ํามันดนิ เชน นํ้ามันถานหิน น้ํามนั เกลอื แร รวมทง้ั ผลติ ภณั ฑจ ากการกลน่ั นํา้ มนั เชน ยางมะตอย พาราฟนเหลว 75. ไอควนั จากถา นหิน 76. สารประกอบของนิกเกิล 77. ฝนุ ไม 78. ไอควันจากเผาไม 79. โรคมะเร็งท่ีเกิดจากปจจยั อนื่ ซ่งึ พิสูจนไดวา มีสาเหตเุ นื่องจากการทาํ งาน 80. โรคอ่ืน ๆ ซ่ึงพสิ จู นไ ดว า เกดิ ขนึ้ ตามลกั ษณะ หรอื สภาพของงานหรอื เนื่องจากการทาํ งาน

แพทยอาชีวเวชศาสตรจะชว ยระบบไดอ ยางไร ™ตอ งมีความม่นั ใจในการวนิ ิจฉยั โรคจากการทาํ งาน ซึ่ง ถอื วา เปน ความรับผิดชอบอยางหนึง่ ของแพทยอาชีวเวช ศาสตร ถา แพทยอ าชวี เวชศาสตรไ มม น่ั ใจในการ วินจิ ฉัยโรคจากการทาํ งานเองเสยี แลว กค็ งไมม แี พทย สาขาใดที่จะกลาวินิจฉัยอีก ™ตรวจผูปวยดวยความเอาใจใส เกบ็ ขอมูลใหละเอียด กอ นทจ่ี ะวนิ ิจฉยั โรคจากการทํางาน

แพทยสาขาตางๆ จะชว ยระบบไดอยางไร ™เมอ่ื พบผปู วยสงสัยโรคจากการทํางาน ควรสงตอ ให แพทยอาชวี เวชศาสตรวนิ ิจฉัย (หรืออาจวินิจฉยั เองกไ็ ด ถามคี วามม่ันใจ และพรอ มจะไปเปน พยานศาล) ™การวินจิ ฉัยโรคจากการทํางานน้ี กรณีสทิ ธกิ องทนุ เงนิ ทดแทน กจ็ ะเปนผลดีตอ ผูปวย เพราะทําใหผ ปู ว ยไดเงนิ ชดเชยการเจบ็ ปวย ซ่งึ เปน เงินทผี่ ูปวยควรจะได ™ศึกษาหาความรเู รอ่ื งโรคจากการทํางานเพมิ่ ข้นึ

พยาบาลจะชว ยระบบไดอยา งไร ™ชวยแพทยซกั ประวตั ิในประเด็นทีเ่ ก่ยี วกบั การทํางาน ถาพบวาผูปวยอาจเปนโรคจากการทํางาน ควรแจงให แพทยท ราบ ™ศึกษาหาความรูเรอื่ งโรคจากการทาํ งานเพ่มิ ขึน้ ™ชว ยดูแลพยาบาลผูปวยโรคจากการทาํ งาน ™ไมค วรเขยี นวนิ จิ ฉยั โรคจากการทาํ งานเอง โดยเฉพาะ ถาทํางานในภาคตะวันออกซง่ึ มแี พทยอาชีวเวชศาสตร มากพอสมควรแลว ควรสงตอ ใหแพทยเ ปน ผูวนิ จิ ฉยั การเขียนวินิจฉยั เองอาจทําใหสมุ เส่ียงตอการเกิดปญหา ดา นกฎหมายตอ ตวั ผูวินิจฉัยได

www.wiwat.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook