Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการพื้นฐานด้านการยศาสตร์ (ฺBasic Ergonomics)

หลักการพื้นฐานด้านการยศาสตร์ (ฺBasic Ergonomics)

Published by arsa.260753, 2015-11-05 21:09:57

Description: หลักการพื้นฐานด้านการยศาสตร์ (ฺBasic Ergonomics)

Search

Read the Text Version

หลักการพื้นฐานดานการยศาสตร สาํ หรับผปู ระกอบวชิ าชีพดา นอาชีวอนามัยBasic Ergonomics นพ.วิวัฒน เอกบูรณะวัฒน ศนู ยอ าชีวเวชศาสตร รพ.สมติ เิ วช ศรีราชา 15 มนี าคม 2558

การยศาสตรค ืออะไร™ การยศาสตร (Ergonomics) เปนชื่อวิชาที่เกี่ยวของกับการศึกษา ความสัมพันธระหวางงานกับมนุษย มุงหวังเพื่อจัดระบบของงาน ใหมนุษยเกิดความสะดวกสบายและมีประสิทธิภาพสูงข้ึนในการ ทํางาน™ ในทางอาชีวเวชศาสตร / อาชีวอนามัย วิชาการยศาสตรน้ันมีสวน ชวยในการลดปญ หาโรคทางระบบกระดูกและกลามเนอ้ื ที่เกิดจาก การทํางานท่ีมีสิ่งคุกคามทางชีวกลศาสตร (Biomechanical hazard) และยงั ชว ยใหท ําใหเ กิดความปลอดภยั ในการทาํ งานมากข้ึนอีกดวย™ ในทางวิศวกรรม วิชาการยศาสตรชวยเพ่ิมประสิทธิภาพของงาน เนอ่ื งจากทาํ ใหมนุษยท าํ งานไดส ะดวกข้นึ ปลอดภยั ข้ึน

มาดูรากศพั ทกนั สกั หนอ ย™ Ergonomics™ คาํ น้ตี องมี s เติมทายดว ยนะ™ มาจากภาษากรีก 3 คําคือ “ergon” หมายถึง งาน, “nomoi” หมายถึงกฎ, และ “ikos” หมายถงึ ศาสตรห รือระบบความรู™ บางทกี เ็ รยี กวา วชิ า Human factors หรอื Human Engineering™ การยศาสตร™ มาจากคําวา “การย” หมายถึง กิจธุระหรืองาน และคําวา “ศาสตร” หมายถึง วชิ าความรู™ สรปุ ก็คอื วชิ าทเี่ ก่ยี วกบั งานนนั่ แหละ !!!

ใครคือนกั การยศาสตร™ สวนใหญผูที่สนใจดานการยศาสตรในระดับผูเช่ียวชาญ จะเปนผูที่จบ การศึกษาในระดับปริญญาโทหรือเอก ท้ังจากในประเทศและตางประเทศ (ในประเทศ เชน หลักสูตรปริญญาโทสาขาวิศวกรรมทางการแพทย เอก การยศาสตร ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนตน) มีผูเช่ียวชาญจาก หลายวิชาชีพที่มาศึกษาตอดานการยศาสตร เชน วิศวกรอุตสาหการ พยาบาลอาชีวอนามัย แพทยอาชีวเวชศาสตร นักอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย เหลา นเี้ ปน ตน™ ในประเทศไทย มีการรวมตัวกันของกลุมผูเชี่ยวชาญดานการยศาสตรเปน สมาคมชื่อวา สมาคมการยศาสตรไทย (Ergonomics Society of Thailand) สมาคมฯ มีการจัดประชุมวิชาการ และจัดกิจกรรมตางๆ เปนระยะ เขาไปดู รายละเอยี ดไดท่ี www.est.or.th

ตกลงกนั กอ น™ ผูสอนไมใชผูเช่ียวชาญดานการยศาสตรนะครับ สอนไดแตหลักการ เบือ้ งตน ทีเ่ หลือนักเรยี นตองไปหาความรเู พม่ิ เติมกันเอง™ แตแมวาเราไมใชผูเช่ียวชาญ หากเรารูหลักการของการยศาสตร และ นํามาใชใ นการทํางาน รวมถึงในชวี ิตประจําวนั ได กโ็ อเคแลวเคล็ดลบั ฉบับ Dummies™ ในการเรยี นการยศาสตร ชว งแรกบางคนจะงง ใหเรียนดังน้ี™ ถามาจากสายการแพทย (เปน แพทย พยาบาล) ใหคดิ ตาม anatomy ของ กลามเนื้อและเสนเอ็นตางๆ วาถาทําทาทางแบบนี้ กลามเนื้อมัดไหนจะ ตงึ หรอื หดเกร็ง จะชวยใหเขา ใจไดง าย™ ถามาจากสายวิศวะ ใหคิดตามหลักการทางฟสิกส ตามหลัก machanic กลา มเนอื้ จะชอ่ื อะไรชา งมนั ใชการคํานวณงาน การแตกแรง

การยศาสตรส าํ คญั ยังไง™ ถาจะถามวาวิชาการยศาสตรสําคัญยังไง ก็ตองบอกวาสําคัญเนื่องจาก เปนวิชาท่ีชวยใหคนทํางานไดสบายข้ึน ลองนึกภาพการน่ังทํางานใน เกาอ้ีที่ไมสะดวกสบาย การตองหยิบของในช้ันวางของที่อยูสูงเกินไป บอยๆ มันไมสะดวกเลย ถาคนออกแบบระบบงานชวยออกแบบใหเรา ทํางานงา ยข้นึ นน่ั ละ คือการนาํ วชิ าการยศาสตรมาใชแ ลว !!!

จัดระบบงานไมด มี ผี ลยงั ไง™ ทาํ งานไดลําบาก บางงานออกแบบใหด ีก็สะดวก ทํางานงาย™ ปวดเม่ือย เกิดโรค™ เกดิ อุบตั เิ หตุ โตะ คอมพิวเตอรท ่ใี ชน งั่ ทาํ งานทง้ั วัน™ ทํางานไดชา ถาจดั ไมดี เมอ่ื ทาํ งานไปนานๆ™ ผลผลติ ลดลง ก็ทําใหปวดตา เมื่อยคอ ปวดไหล™ เบ่ืองาน เซง็™ อยากเปลี่ยนงาน

เหตุใดทาทางการทํางานจึงทําใหป วด™ สง่ิ คกุ คามทางชีวกลศาสตร (Biomechanical hazard) ทําใหเ กิดโรคกระดูก และกลามเน้อื (Musculoskeletal diseases) ไดจ าก 3 สาเหตหุ ลัก คอื 1. การทาํ งานในทาเดิมซํา้ ๆ นานๆ (Repetitive work) 2. การทาํ งานที่ตองใชแ รงเกนิ กาํ ลัง (Forceful work) 3. การทํางานท่ีตองบิดเอ้ียวตัว อยูในทาที่ไมเหมาะสม (Malposition / Awkward posture)

ถา เปนเราจะแกไ ขอยา งไร (1)

ถา เปนเราจะแกไ ขอยา งไร (2)

การยศาสตรใ นดา นตางๆ™ Physical ergonomics เปนอันที่เขาใจงายที่สุด เนนการออกแบบ สิ่งแวดลอมในงานใหเหมาะกับรางกายคน รวมถึงการออกแบบ สิ่งของตา งๆ ใหใชงานงาย เหมาะกับขนาดรางกายแตล ะคน™ Cognitive ergonomics สําคัญเชนกัน เปนการออกแบบงานหรือ สิ่งของอุปกรณตางๆ โดยมุงเนนความเขาใจ ใหคนจดจํางาย คุนเคยเร็ว ทํางานไดงาย™ Organizational ergonomics เนนการจัดการออกแบบภายใน องคกรเพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพ ติดตอส่ือสารกันไดงาย ทํางานได สะดวกรวดเร็ว งานไมลน งานพอดคี น

Physical ergonomics ทว่ี างคยี บอรดของโตะคอมพิวเตอร ออกแบบมาใหสามารถใชค ยี บอรดไดง าย จักษแุ พทยใ ชแ ผนโฟมรองขอศอก เพอ่ื ใหตรวจผปู วยไดโดยไมเจ็บ กลองกระดาษท่อี อกแบบใหมีหูหว้ิ ทาํ ใหยกกลองไดง ายขึน้ กรรไกรทีอ่ อกแบบมาสําหรับคนถนัดมอื ขวา แลว คนถนดั มือซายละ ???

Cognitive ergonomics (1) ในความรูสกึ คนทวั่ ไป ถงั บรรจแุ กส เขตสีเขียว = ระดบั ที่ปลอดภัย ปุม เขียว = เปด / ดี / ไปได เขตสแี ดง = แกส หมด / แรงดนั มากไป / ไมป ลอดภยั ปุมแดง = ปด / อันตราย / หยุดการขนั นอต หมุนวาวล เปดกอ กนาํ้ หมุนทวนเข็มนาฬิกา = เปด หมุนตามเข็มนาฬกิ า = ปด หนาปด บอกความเร็วของรถมอเตอรไซด 60 อยกู ลาง = ขับมากกวา 60 ตองระวงั รถยนต 120 อยูกลาง = ขับมากกวา 120 ตอ งระวัง

Cognitive ergonomics (2)Cognitive ergonomics ในหนาเว็บไซต ปมุ ควบคุมในหนาเวบ็ ไซตช ื่อดงั แทบทกุ เว็บไซตจะอยูดา ยซายหรือดานบน ทมี่ า: google.co.th เพอ่ื ใหผูใชง านเรียนรูการใชไ ดง า ย ทมี่ า: หนาเพจ The Walking Dead จากเวบ็ ไซต Facebook, Instagram, Twitter, Google+Google.co.th เปนตัวอยางของหนาเว็บไซตท ดี่ ี งา ย สะอาดตา

การใชหลกั การยศาสตรม อี ยูรอบตวั เรา™ ไซสเ สื้อ ไซสกางเกง ขนาดยกทรง เบอรรองเทา™ การออกแบบขนาดเฟอรนิเจอร™ การออกแบบดา มจับเครื่องมือตา งๆ™ การออกแบบส่ิงของใหใชง านงาย™ การออกแบบสิ่งของที่เหมาะกับท้ังคนถนัดมือขวาและมือซาย™ การออกแบบปุมกดใหเ ขา ใจไดง าย™ การทําปา ยสญั ลักษณใหคนเขาใจไดงาย™ การออกแบบสถานงี าน (Work station) ใหทาํ งานไดสะดวก

ระวงั !!! การยศาสตรปลอม™ อยางไรก็ตาม เนื่องจากคําวา “Ergonomics” มันดูเทหมาก ในปจจุบันผูผลิตสินคา บางรายก็จะชอบโฆษณาวา สินคาของตนเองนั้นมี “Ergonomics design” บางทีก็ ออกแบบสินคามาใหหนาตาแปลกๆ พิศดาร แตพอเอามาใชจริงๆ ก็อาจใชไมถนัด ใชไ ดยาก ทาํ ใหทาํ งานชา กนิ แรง™ ก็ควรระวังไว จงจําไววา อะไรที่ใชไมถนัด ทําใหทํางานไมสะดวก อันนั้นไมถือวา เปน Ergonomics design แมว า ทฉี่ ลากจะเขียนโฆษณาเอาไวกต็ าม en.wikipedia.orgen.wikipedia.org www.healthyofficeworking.co.uk

การวัดขนาดคน™ ในประเด็น Physical ergonomics การจะออกแบบส่ิงของตางๆ ใหเหมาะกับขนาด รางกายคนสวนใหญได ก็ตองมีการวัดขนาดรางกายเฉล่ียของคนไว วิชาการวัดขนาด คนน้นั เราเรียกวา Anthropometry™ คนแตล ะชาติก็มีขนาดเฉลี่ยของรางกายตางกนั นาํ ไปสกู ารผลติ สิง่ ของขนาดตางๆ กนั™ เขาวัดขนาดอะไร? : ความสูง นํ้าหนัก รอบเอว รอบอก รอบสะโพก ความยาวแขน ความยาวขา ขนาดใบหนา รอยนิ้วมือ มา นตา ความยาวน้วิ ขนาดมือ ฯลฯ ในประเทศไทย มีการสาํ รวจวดั ขนาดประชากรไทย กันอยูเปนระยะๆ เชน การสํารวจโดยสํานักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ในป พ.ศ. 2524-25, 2529-30, 2536-37, 2543-44 และ โครงการ Size Thailand โดยองคกร NECTEC ในป พ.ศ. 2550-51 (เขาดูรายละเอียดไดจากเว็บไซต www.sizethailand.org)

ขนาดน้นั สําคญั ฉไน ? เกาอี้ที่ปรับความสงู ตาํ่ ได ชว ยใหค นทม่ี ขี นาดรางกายตางกนั สามารถใชเกาอ้ีรวมกันไดขนาดเส้ือผา มกี ารแบง เปน ไซส S, M, L, XLเพอ่ื ใหเหมาะสมกับขนาดรางกายของคนใส ในทท่ี าํ งาน พนกั งานแตล ะคน แมทาํ งานหนาทีเ่ ดียวกนั อาจมีขนาดรางกายไมเ ทา กัน พนักงานตัวเล็ก พนกั งานผูหญิงตวั เลก็ยนื ทํางานกบั โตะท่มี ขี นาดไมเหมาะสมกบั รางกาย แตเกาอ้ีตัวใหญ มแี ผนรองน่ังยาว แมจะปรับความสงู ลงจนสดุ แลว ขาก็ยงั ไมถ งึ พน้ื และเอนหลังพิงพนักไมถึง

Ergonomics assessment tools (1)™ ในการประเมินความเสี่ยงทางดานการยศาสตร บางครั้งการ ประเมินดวยสายตาอาจจะไมครบถวน หรือผูประเมินแตละคน อาจจะประเมนิ ไดไ มเ ทา กนั™ เชน พนักงานน่ังทํางานกับเกาอี้ที่ไมสะดวกสบาย นักอาชีวอนามัย มาประเมินอาจจะบอกวาเปนปญหามาก แตนายจางมาประเมิน อาจจะบอกวา เปน ปญหานดิ หนอยเอง™ ดวยเหตุนี้จึงมีผูคิดคนเคร่ืองมือประเมินทางดานการยศาสตร (Ergonomics assessment tool) ข้ึนมา โดยเครื่องมือน้ีอาจอยู ในรูป แบบฟอรม, Checklist, หรือโปรแกรมคอมพิวเตอรก็ได เพ่ือใหมีมาตรฐานในการประเมนิ ตรงกัน

Ergonomics assessment tools (2)™ เครือ่ งมือเหลานี้ บางตัวก็ไดรับความนิยมสูง เชน RULA (Rapid Upper Limbs Assessment) ของมหาวิทยาลัย Cornell ไดรับ ความนิยมในการนํามาใชประเมินงานที่ใชมอื ทําเปน หลกั™ เครื่องมือเหลานี้ บางตัวก็แจกฟรี นํามาใชตอได แตบางตัวก็มี ลิขสิทธ์ิ ตองซื้อกอนจึงจะนํามาใชได บางตัวมีงานวิจัยรองรับ วาใชไ ดผ ลจริง บางตวั อาจไมมี เวลาจะเลือกใชตองเลอื กดีๆ™ ในบริษัทขามชาติช้ันนําบางแหง ทีมการยศาสตรของโรงงาน จะมีการคิดเคร่ืองมือประเมินเหลานี้ขึ้นเอง เพ่ือใหจําเพาะตอ งานของโรงงานตนเองเลย แตเคร่ืองมือเหลาน้ีมักมีลิขสิทธ์ิ ใชไดแ ตเฉพาะในโรงงานแหง นัน้ นาํ มาใชทั่วไปไมได

ตัวท่ีไดรบั ความนิยมนาํ มาใช™ RULA (Rapid Upper Limb Assessment)™ REBA (Rapid Entire Body Assessment)™ OWAS (Ovako Working Posture Assessment System)™ NIOSH Lifting Index (National Institute for Occupational Safety and Health)™ ACGIH Lifting TLVs (American Conference of Governmental Industrial Hygienists)™ 3D SSPP Program (3D Static Strength Prediction Program)™ ART Tool (The Assessment of Repetitive Tasks)™ MAC Tool (The Manual Handling Assessment Chart)™ รายละเอียดของเครอ่ื งมอื แตล ะตวั มีคอ นขา งมาก จะไมข อกลาวถงึ ในที่น้ี ถา นักเรยี นสนใจขอใหไปศึกษาเพิ่มเตมิ กนั เองนะครบั

ตวั อยา งการใชเ คร่ืองมอื (1) Source: RULA Assessment Formการประเมนิ งานขน้ั ตอนหน่ึงดว ยเคร่ืองมอื RULA เคร่ืองมือชนิดนีม้ ขี อดีคือเหมาะสําหรบั การประเมินงานทใ่ี ชมือและแขนทําเปน หลกั

ตวั อยางการใชเครอ่ื งมอื (2) Source: WinOWAS Programภาพจากโปรแกรม WinOWAS แสดงการใชเครื่องมือ OWAS ประเมินงานชนิดหนึง่ ขอดีของเครื่องมือ OWAS คือเหมาะกบั การใชประเมินงานทม่ี หี ลายขน้ั ตอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook