Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย ม.๑

ภาษาไทย ม.๑

Published by piyada221041, 2021-09-25 07:04:44

Description: ภาษาไทย ม.๑

Search

Read the Text Version

ความหมาย การอ่าน แนวข้อสอบ ภาษาพูดและ ลักษณะเฉพาะของภาษา จับใจความ ภาษาเขียน พูดและภาษาเขียน หลักการ ภาษาไทย ชนิดของ สำคัญ ม.๑ ความแตกต่างของภาษา จับใจความ เสียงใน คำใน พูดและภาษาเขียน ข้อความสั้น ๆ ภาษาไทย ภาษาไทย ตัวอย่างคำ รูปและเสียง - พยัญชนะ ความหมายของคำ -สระ ชนิดต่าง ๆ -วรรณยุกต์ เสียงครึ่งสระ ประเภท วิเคราะห์เสียง ตัวอย่างคำแต่ละชนิด

การอ่านจับใจความสำคัญ ความหมาย หลักการ การอ่านจับใจความ หมายถึง การอ่าน ๑. ตั้งเป้าหมายในการอ่านให้ชัดเจน เพื่อค้นหาสาระสำคัญหรือความคิดหลักของ ๒. อ่านคร่าว ๆ พอเข้าใจ เรื่องที่อ่านที่ผู้เขียนต้องการสื่อ ๓. อ่านซ้ำอีกครั้งเพื่อเก็บรายละเอียดเรื่อง ๔.เมื่ออ่านจบต้องตอบคำถามให้ได้ว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร

ภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาพูด ใช้ในการพูด เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ภาษาเขียน ใช้ในการเขียน เคร่งครัดหลักภาษามีรูปแบบ ลักษณะเฉพาะของภาษาพูดและภาษาเขียน ชัดเจน ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ภาษาพูด ภาษาเขียน ๑. เป็นภาษาเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะวัย ๑. ใช้คำมาตรฐานหรือแบบแผนตามระดับ ๒. เป็นคำไทยแท้ เช่น ของภาษาให้สอดคล้องกับสถานะของบุคคล ๓. มักเปลี่ยนแปลงเสียง ๒. ออกเสียงตามหลักภาษา ๔.มักยืมภาษาต่างประเทศและมาตัดคำให้สั้น ๓. ไม่แสดงอารมณ์ผ่านรูปเขียน ลง ๔.ไม่ใช้คำลงท้าย ๕.ภาษาพูดมักใช้คำลงท้าย ๕.ไม่ใช้คำซ้ำคำซ้อน

ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน ๑. ภาษาพูดมักเป็นภาษาเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะวัย มีการเปลี่ยนแปลงคำพูดอยู่เสมอ ๒.ภาษาพูดมักเป็นภาษาไทยแท้ คือ เป็นภาษาชาวบ้าน เข้าใจง่าย แต่ภาษาเขียนมักใช้ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต เป็นภาษาแบบแผน หรือกึ่งแบบแผน ๓.ภาษาพูดมักเปลี่ยนแปลงเสียงสระและเสียงพยัญชนะ รวมทั้งนิยมตัดคำให้สั้นลงแต่ ภาษาเขียนคงเคร่งครัดตามรูปคำเดิม ๔.ภาษาพูด ยืมคำภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ และมักตัดคำให้สั้นลง รวมทั้ง ภาษาจีน เป็นต้น ภาษาเขียนใช้คำแปลภาษาไทยหรือทับศัพท์

ตัวอย่างคำภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน กิน รับประทาน วัว โค คิด ไตร่ตรอง , พิจารณา ควาย กระบือ ช่วย อนุเคราะห์ หมา สุนัข ตาย เสียชีวิต มรณะ ฯลฯ หมู สุกร ผัว สามี หมอ แพทย์ เมีย ภรรยา แม่ มารดา เมียน้ อย อนุภรรยา พ่อ บิดา แซว เสียดสี ยังไง อย่างไร

ชนิดของคำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน คำอุทาน

คำนาม คำสรรพนาม คำนามคือคำเรียกคน พืช สัตว์ สิ่งของ สถานที่ หรือ คำสรรพนาม คือคำที่ใช้แทนคำนามที่กล่าวมาแล้ว เพื่อ อาการต่าง ๆ จะได้ไม่ต้องกล่าวนามนั้นซ้ำอีก เช่น บ้าน รถ ปากกา ดินสอ หนังสือ ซูไฮนี อดิสรณ์ ครู บุรุษสรรพนาม สรรพนามที่ใช้แทนบุคคล นักเรียน หมอ พยาบาล ลิง นก หมู หมา กา ไก่ กระรอก กระต่าย แมว งู โรงเรียน สนาม อาคาร ศาล สรรพนามบุรุษที่ ๑ (แทนตัวผู้พูด) เช่น ฉัน หนู ร้าน โคลีเซียม ฯลฯ ผม น้อง เรา กู พี่ ลักษณนามคือคำนามที่บอกลักษณะของคำด้านหน้า สรรพนามบุรุษที่ ๒ (แทนผู้ฟัง) เช่น เธอ แก มึง เช่น แก้วน้ำ ใบ มุ้ง ๑ หลัง รถ ๑ คัน หมอน ๑ ใบ คุณ มือถือ ๑ เครื่อง เรือ ๑ ลำ ปี่๑เลา เงิน๑บาท ผ้าห่ม ๑ ผืน ฯลฯ สรรพนามบุรุษที่ ๓ (ผู้ที่ถูกกล่าวถึง) เช่น เขา หล่อน มัน \"เขาเดินหน้ามันไปเก็บมันในสวยเจอกับไก่ มันขันเสียง ดัง\"

คำกริยา คำบุพบท คำสันธาน คำอุทาน คำกริยา คือ คำแสดงอาการของนามหรือสรรพนามที่เป็น คำบุพพท คือ คำที่ทำหน้าที่เชื่อม ๒ คำให้สัมพันธ์กัน อาจนำ ประธานของประโยค หน้าคำนาม สรรพนาม หรือกริยาที่ทำหน้าที่เป็นนามก็ได้ บุพบทบอกตำแหน่ง เพื่อให้รู้ว่าอยู่ตรงไหน ได้แก่คำว่า บน เช่น กิน นั่ง นอน เดิน เล่น วิ่ง กระโดด เลื้อย คลาน ใต้ ใกล้ ไกล กลาง ริม ใน นอก ที่ เหนือ มอง ดู ชม จับ หยิบ ส่อง ยก (น้ำ)หก ถือ บุพบทบอกความเป็นเจ้าของ ได้แก่คำว่า ของ แห่ง ใน บุพบทบอกความเกี่ยวข้องหรือความประสงค์ ได้แก่คำว่า กับ คำวิเศษณ์ แก่ แด่ เพื่อ โดย สำหรับ บุพบทบอกเวลา ได้แก่คำว่า กระทั่ง เมื่อ ตั้งแต่ ถึง เมื่อคืน คำวิเศษณ์ คือ คำขยายคำอื่นให้มีความหมายชัดขึ้นหรือมี เนื้อความต่างไป ใช้ประกอบ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา เช่น สวย อ้วน ผอม หอม เผ็น ร้อน หนาว เย็น อุ่น เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม เล็ก ใหญ่ เช้า สาย บ่าย เย็น อดีต อนาคต ใกล้ ไกล ห่าง บน ใต้ ใน นอก หน้า หลัง ฯลฯ

คำสันธาน คำอุทาน คำสันธาน คือ คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำกับคำ ประโยคกับ คำอุทาน คือ คำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ความรู้สึก ประโยค ข้อความกับข้อความ ทำให้มีใจความสมบูรณ์ และ ของผู้พูด ในขณะดีใจ ประหลาดใจ เสียใจ ตกใจ หรืออาจ ภาษาสละสลวยยิ่งขึ้น เป็นคำเสริมคำพูด เช่นคำว่า อุ๊ย เอ๊ะ อนิจจา ไชโย เป็นต้น ตัวอย่างคำสันธาน และ แต่ หรือ จึง ก็ เพราะ ครั้น...จึง ไชโย! ทำการบ้านเสร็จซะที เพราะ...จึง เมื่อ...ก็ แต่ว่า แต่ทว่า กว่า...ก็ อย่างไรก็ดี อ๋อ! คำอุทานเป็นอย่างนี้นี่เอง อย่างไรก็ตาม

เสียงในภาษาไทย เสียงแท้(เสียงสระ) มี ๒๑ รูป ๓๒ เสียง เสียงแปร(เสียงพยัญชนะ) มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง เสียงดนตรี(เสียงวรรณยุกต์) มี ๔ รูป ๕ เสียง สระเดี่ยว ๑๘ เสียง ได้แก่ /อะ/ /อา/ /อิ/ /อี/ เสียงครึ่งสระ ๒ เสียง /อึ/ /อือ/ /อุ/ /อู/ /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /ย/ - ญ ย - ญาติ เยอะ แยะ /เออะ/ /เออ/ /เอาะ/ /ออ/ /โอะ/ /โอ/ /ว/ - ว - ไหว้ วาน ว่า ว่าย วน เวียน สระประสม ๖ เสียง ได้แก่ /เอียะ/ /เอีย/ /เอือะ/ /เอือ/ /อัวะ/ /อัว/ **(เมีย เบื่อ ผัว) เสียงพยัญชนะควบ สระเกิน ๘ เสียง ได้แก่ อำ - /อะ/ + /ม/ ไอ - /อะ/ + /ย/ ใอ - /อะ/ + /ย/ เอา - /อะ/ + /ว/ ฤ- /ร/ + /อึ/ ฤๅ - /ร/ + /อือ/ ฦ - /ล/ + /อึ/ ฦๅ - ล/ + /อือ

ตัวอย่างการวิเคราะห์ ขำ /ค/-/อะ/-/ม/-/จัตวา/ พลาด /พล/-/อา/-/ด/-/โท/ จรรย์ /จ/-/อะ/-/น/-/สามัญ/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook