Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore B-P เบสท่าผา

B-P เบสท่าผา

Published by Pandee Komala, 2022-09-12 10:58:56

Description: B-P เบสท่าผา

Search

Read the Text Version



๒ บทนำ กำรสง่ เสริมกำรเรียนรู้ “ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่” ควำมเป็นมำ ในขณะที่ท่ัวโลกกำลังเผชิญวิกฤตต่ำงๆ ทั้งด้ำนเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และยังไม่สำมำรถหำวิธี บรรเทำและแก้ไขปัญหำต่ำงๆท่ีเหมำะสมและย่ังยืน ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ เน้น กำรพัฒนำท่ีมุ่งสร้ำงควำมสมดุลทำงเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ตลอดจนสร้ำงควำมสุขแบบ ยั่งยืนภำยใต้หลัก 3S ได้แก่ Survival (กำรอยู่รอด) Sufficiency (พอเพียง) และ Sustainability (ย่ังยืน) โดย กำรสง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนอย่รู อด มรี ำยไดท้ ่ีม่ันคงในระยะยำว และเปดิ โอกำสให้ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียภำยในทอ้ งถิ่นทุก คนเข้ำมำมีส่วนร่วมในทุกๆ ข้ันตอนกำรพัฒนำ เพ่ือสร้ำงควำมรู้สึกเป็นเจ้ำของ โดยเร่ิมจำกกำรระบุปัญหำ ควำมต้องกำร และส่ิงที่เป็นควำมจำเป็นเร่งด่วน และร่วมกันออกแบบโครงกำร วิธีกำรดำเนินงำน และกำร ประเมินผล กระตุ้นให้ชำวบ้ำนในพ้ืนที่รจู้ ักคดิ และลงมือทำเอง เพื่อสร้ำงควำมเข้มแข็งใหก้ ับผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย ในทอ้ งถิ่นใหส้ ำมำรถขับเคล่อื นกระบวนกำรพัฒนำได้ด้วยตัวเอง หลักกำรสำคัญอีกประกำรของปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ “กำรพัฒนำ แบบองค์รวมและกำรบูรณำกำร” เพ่ือปูทำงไปสู่โครงกำรพัฒนำในระยะยำว นอกจำกน้ันยังได้ให้ควำมสำคัญ กับเรื่องของกำรพัฒนำคน สุขภำวะ กำรดำรงชีวิต และกำรศึกษำ อย่ำงมีบูรณำกำรและเป็นองค์รวม เพื่อให้ เกดิ กำรแก้ปัญหำท่ีรอบดำ้ นและย่ังยืน จึงได้เล็งเห็นคุณค่ำและควำมสำคัญดังกล่ำวข้ำงต้น จึงได้จัดทำโครงกำรกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ “ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่” เพ่ือเผยแพร่องค์ควำมรู้ที่เป็นประโยชน์ให้กับนักศึกษำ ประชำชน ชุมชน เพื่อเป็นหลักปฏิบัติและแนวทำงในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตของตนเองและชุมชนอย่ำงยั่งยืน ต่อไป

๓ วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ จัดสร้ำงและเช่ือมโยงแหล่งเรียนรู้“ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่” ในตำบล ท่ำผำ ให้เป็นแหลง่ เรยี นร้ทู ่ียงั ยืน และกำรใชป้ ระโยชน์สูงสุดแก่ผเู้ รียน ประชำชน ชมุ ชน สงั คม กิจกรรม/วธิ กี ำร/ขน้ั ตอนสำคัญ/ระยะเวลำดำเนนิ กำร กำหนดกำรดำเนินงำนเป็น 2 ช่วงระยะเวลำ คือ ระยะท่ี 1 ระหวา่ งเดือน ตุลาคม 2564 – มนี าคม 2565 ระยะที่ 2 ระหวา่ งเดอื น เมษายน 2565 – กันยายน 2565 ระยะที่ 1 ระหวำ่ งเดอื น ตุลำคม 2564 – มนี ำคม 2565 กิจกรรมหลกั วธิ กี ำรหลกั ขนั้ ตอนสำคญั ระยะเวลำ ดำเนินกำร 1. ขออนุมัติ 1.1 จดั ทาโครงการและเสนอขอ 1.1.1 ศึกษาเกยี่ วกับ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ ตุลาคม 2564 โครงการและวาง แผนการดาเนนิ อนุมตั ิโครงการ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม”่ และ พฤศจกิ ายน โครงการ (P) 2564 - มนี าคม โดยนาหลักปรัชญา 1.2 วางแผนการดาเนนิ โครงการ แนวนโยบายท่เี กยี่ วข้อง เพอื่ จดั ทากรอบ ของเศรษฐกิจ 2565 พอเพียงไปปรบั ใช้ แนวคดิ ของโครงการ กบั ทกุ ๆโครงการ และทุกกจิ กรรม 1.1.2 ยกรา่ งและจดั วางโครงการ และเสนอ 2.ปฏิบัติงานตาม ขออนมุ ัติโครงการ แผนงาน กระบวนการและ 1.1.3 ออกแบบกระบวนการ และจัดวาง ขนั้ ตอนการ ดาเนนิ งาน (D) ขัน้ ตอนการดาเนินงานโครงการ โดยนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ 1.2.1 วางแผนการปฏบิ ตั ิงานตาม พอเพยี งไปปรับใช้ กบั ทุกๆโครงการ กระบวนการและข้ันตอนการดาเนนิ งาน และทุกกิจกรรม 2.1 คน้ ควา้ หาขอ้ มูลเครือขา่ ย 2.1.1 ศกึ ษา คน้ คว้า รวบรวม องค์ความรทู้ ่ี แหล่งเรียนรู้ “ปรัชญาของ เก่ยี วกับแหล่งเรียนร“ู้ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม”่ ในตาบล ทฤษฎีใหม่”ในตาบล 2.2.1 จดั หาส่ือเอกสาร และสือ่ 2.2 รวบรวม ส่ือ “ปรชั ญาของ อเิ ลคทรอนิคส์ เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตร 2.3.1 ดาเนินการพฒั นาศนู ยเ์ รียนร้ฯู และ ทฤษฎีใหม่” ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรปู้ รชั ญาของ 2.3 พฒั นาศนู ยเ์ รียนรฯู้ และ เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ ใน ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรฯู้ ตาบลตามแผนการปฏิบัติงานประจาปี ในตาบลตามแผนการปฏิบตั ิงาน งบประมาณ 2.4 ดาเนินการเผยแพรผ่ ลการจดั 2.4.1 ดาเนินการเผยแพรผ่ ลการจดั กิจกรรม กิจกรรม ในชอ่ งทางทห่ี ลากหลาย ในช่องทางท่หี ลากหลาย เชน่ ส่ือ 2.4 เชือ่ มโยงเครือข่ายแหล่ง อเิ ลคทรอนิคสอ์ อนไลนเ์ ผยแพรบ่ น เรยี นรฯู้ ในชุมชน Facebook Group/page และ Youtube และ อ่นื ๆ

๔ 3.ติดตามผลการ 3.1 ตรวจสอบผลลัพธ์ (Output 3.1.1 กาหนดเปา้ หมาย ผลลพั ธ์ และเกณฑ์ กมุ ภาพันธ์ – ดาเนนิ งาน (C) โดย Outcome) ของโครงการ การประเมนิ เป้าหมาย ผลลัพธ์ มีนาคม 2565 นาหลกั ปรัชญาของ 3.2 ตรวจสอบกระบวนการ 3.1.2 ติดตามผลการดาเนินงาน โดยใช้ เศรษฐกิจพอเพียงไป (Process) ของโครงการ แบบสอบถามหรอื จากการสงั เกตติดตามผลท่ี ปรบั ใชก้ ับทกุ ๆ เกดิ ขึ้นจริง โครงการและทุก 3.2.1 กาหนดเปา้ หมาย และเกณฑก์ าร กิจกรรม ประเมนิ กระบวนการ 3.2.2 ตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน โดยใช้ แบบสอบถามหรือจากการสงั เกตตดิ ตามผลท่ี เกิดขึน้ จรงิ 3.3 ตรวจสอบปัจจัยปอ้ น (Input) 3.3.1 การสนบั สนนุ โครงการ การดาเนนิ โครงการ 3.3.2 ทักษะการดาเนนิ งานของผจู้ ัดทา 3.4 จดั ทาสรุปผล รายงาน และ โครงการ เผยแพร่ Best Practice (รอบท่ี 3.4.1 จดั ทาสรุปผลรายงาน Best Practice กมุ ภาพันธ์ – 1) (รอบท่ี 1) มนี าคม 2565 3.4.2 เผยแพร่ Best Practice (รอบที่ 1) ทัง้ แบบเอกสารกระดาษ และเอกสาร อิเลคทรอนิคส์ 4. ปรับปรุงพฒั นา 4.1 นาผลจากการตรวจสอบ 4.1 นาผลจากการตรวจสอบตดิ ตามผลการ มนี าคม 2565 (A) โดยนาหลกั ติดตามผลการดาเนินงาน มา ดาเนินงาน ในขน้ั ตอนท่ี 3 (Check) มาคิดค้น ปรชั ญาของ คดิ ค้นและวางแผนปรบั ปรุง และวางแผนปรับปรงุ พัฒนาการดาเนนิ งาน เศรษฐกิจพอเพยี งไป พัฒนาคณุ ภาพการดาเนินงาน 4.2 ดาเนินการพัฒนา ปรับปรุงคณุ ภาพอยา่ ง ปรับใช้กบั ทกุ ๆ อยา่ งตอ่ เนื่อง ตอ่ เน่ือง ตามวงจรคณุ ภาพ P D C A โครงการและทกุ กจิ กรรม ระยะที่ 2 ระหว่ำงเดือน เมษำยน – กันยำยน 2565 กจิ กรรมหลกั วิธีกำรหลกั ขัน้ ตอนสำคัญ ระยะเวลำ ดำเนินกำร 1. วางแผนปรับปรงุ 4.1 นาผลจากการตรวจสอบ 4.1.1 นาผลจากการดาเนินงานในระยะที่ 1 มา คดิ ค้นและวางแผนปรับปรุง พัฒนาคณุ ภาพการ เมษายน 2565 ดาเนินงาน (A ) พฒั นาจากการ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน มา 4.1.2 วางแผนการดาเนินงานในระยะที่ 2 (P2) ดาเนนิ งานในระยะที่ คิดคน้ และวางแผนปรบั ปรุง 1 (P2)โดยนาหลกั พฒั นาคุณภาพการดาเนนิ งาน ปรัชญาของ อยา่ งต่อเนื่อง (A P) เศรษฐกิจพอเพยี งไป ปรบั ใช้กับทกุ ๆ โครงการและทกุ กิจกรรม 2.ปฏิบัติงานตาม 2.1 คน้ ควา้ หาขอ้ มูลเครือข่าย 2.1.1 ศกึ ษา ค้นคว้า รวบรวม ความรู้ทีเ่ กีย่ วกับ เมษายน-กันยายน แหล่งเรยี นร“ู้ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ 2565 แผนงาน แหลง่ เรยี นรู้ “ปรชั ญาของ เกษตรทฤษฎีใหม”่ ในตาบล 2.2.1 จัดหาสอื่ เอกสาร และส่ืออเิ ลคทรอนิคส์ กระบวนการและ เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตร ขั้นตอนการ ทฤษฎีใหม่”ในตาบล

๕ ดาเนินงาน (D2) 2.2 รวบรวม สือ่ “ปรชั ญาของ 2.3.1 ดาเนนิ การพฒั นาศูนยเ์ รยี นร้ฯู และ โดยนาหลกั ปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตร ดาเนินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรปู้ รชั ญาของ ของเศรษฐกิจ ทฤษฎใี หม่” เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ ใน พอเพียงไปปรับใช้ 2.3 พัฒนาศนู ยเ์ รยี นรฯู้ และ ตาบลตามแผนการปฏิบัตงิ านประจาปี กับทกุ ๆโครงการ ดาเนินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรฯู้ งบประมาณ และทุกกิจกรรม ในตาบลตามแผนการปฏบิ ตั ิงาน 2.4.1 ดาเนนิ การเผยแพร่ผลการจัดกิจกรรม ใน 2.4 ดาเนินการเผยแพร่ผลการจดั ชอ่ งทางท่ีหลากหลาย เช่น สื่ออิเลคทรอนิคส์ กิจกรรม ในช่องทางที่หลากหลาย ออนไลน์เผยแพร่บน Facebook Group/page 2.5 เชือ่ มโยงเครือขา่ ยฯ ท้ังใน และ Youtube และ อืน่ ๆ พน้ื ทต่ี าบลท่าผา และนอกพน้ื ท่ใี น 2.5.1 เช่ือมโยงเครอื ขา่ ยฯ ท้ังในพื้นที่ตาบลท่า อาเภอบ้านโปง่ ผา และนอกพน้ื ท่ใี นอาเภอบา้ นโปง่ 3.ติดตามผลการ 3.1 ตรวจสอบผลลัพธ์ (Output 3.1.1 กาหนดเป้าหมาย ผลลพั ธ์ และเกณฑก์ าร เมษายน-กันยายน ดาเนินงาน (C2) Outcome) ของโครงการ ประเมิน เปา้ หมาย ผลลัพธ์ 2565 โดยนาหลกั ปรชั ญา 3.1.2 ติดตามผลการดาเนินงาน โดยใช้ ของเศรษฐกิจ แบบสอบถามหรือจากการสังเกตติดตามผลท่ี พอเพียงไปปรบั ใช้ 3.2 ตรวจสอบกระบวนการ เกิดขึน้ จริง กบั ทกุ ๆโครงการ (Process) ของโครงการ 3.2.1 กาหนดเปา้ หมาย และเกณฑ์การประเมนิ และทุกกจิ กรรม กระบวนการ 3.2.2 ติดตามผลการดาเนินงาน โดยใช้ แบบสอบถามหรือจากการสงั เกตตดิ ตามผลท่ี 3.3 ตรวจสอบปัจจัยป้อน (Input) เกิดขึ้นจรงิ การดาเนินโครงการ 3.3.1 การสนบั สนนุ โครงการ 3.3.2 ทักษะการดาเนินงานของผจู้ ัดทา โครงการ 3.4 จัดทาสรปุ ผล รายงาน และ 3.4.1 จัดทาสรุปผลรายงาน Best Practice เมษายน-กนั ยายน เผยแพร่ Best Practice (รอบที่ (รอบท่ี 2) 2564 1) 3.4.2 เผยแพร่ Best Practice (รอบท่ี 2) ท้งั แบบเอกสารกระดาษ และเอกสาร อิเลคทรอนคิ ส์ 4. ปรับปรุงพัฒนา 3.4 จัดทาสรุปผล รายงาน และ 4.1 นาผลจากการตรวจสอบตดิ ตามผลการ กนั ยายน 2565 (A2) โดยนาหลัก เผยแพร่ Best Practice (รอบท่ี1) ดาเนนิ งาน ในขน้ั ตอนที่ 3 (Check) มาคดิ ค้น ปรชั ญาของ 4.1 นาผลจากการตรวจสอบ และวางแผนปรบั ปรงุ พฒั นาการดาเนนิ งาน เศรษฐกจิ พอเพยี งไป ติดตามผลการดาเนนิ งาน มา 4.2 ดาเนินการพัฒนา ปรับปรงุ คณุ ภาพอย่าง ปรับใช้กับทุกๆ คิดค้นและวางแผนปรบั ปรงุ ตอ่ เน่ือง ตามวงจรคณุ ภาพ P D C A โครงการและทกุ พฒั นาคณุ ภาพการดาเนินงาน กจิ กรรม อย่างตอ่ เนื่อง ผลทคี่ ำดวำ่ จะได้รบั ผู้เข้าร่วมโครงการในทุกกิจกรรมที่จัดในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ได้รับความรู้ และสามารถนา “ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่” ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลอ่ืน และสามารถนาไปพัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนได้ตอ่ ไป

๖ กรอบแนวคิด และกระบวนกำร กำรส่งเสรมิ กำรเรียนรู้ “ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่” กรอบแนวคดิ ในขณะที่ทั่วโลกกาลังเผชิญวิกฤตต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และและการพัฒนาที่ไม่ ยงั่ ยืน ตลอดจนยงั ไมส่ ามารถหาวธิ ีบรรเทาและแก้ไขปัญหาต่างๆท่ีเหมาะสมและยัง่ ยนื ได้ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่” เน้นการพัฒนาที่มุ่งสร้างความสมดุลทาง เศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดล้อม และวฒั นธรรม ตลอดจนสรา้ งความสุขแบบย่ังยืนภายใตห้ ลัก 3S ไดแ้ ก่ Survival (การอยู่รอด) Sufficiency (พอเพียง) และ Sustainability (ย่ังยืน) โดยการส่งเสริมให้ชุมชนอยู่รอด มีรายได้ท่ี ม่ันคงในระยะยาว และเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในท้องถิ่นทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกๆ ขั้นตอน การพฒั นา เพื่อสรา้ งความรู้สึกเปน็ เจา้ ของ โดยเร่มิ จากการระบุปัญหา ความต้องการ และส่ิงที่เปน็ ความจาเป็น เร่งด่วน และร่วมกันออกแบบโครงการ วิธีการดาเนินงาน และการประเมินผล กระตุ้นให้ชาวบ้านในพ้ืนที่รู้จัก คดิ และลงมอื ทาเอง เพ่อื สรา้ งความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนท้องถนิ่ ให้สามารถขับเคล่ือนกระบวนการพฒั นาท่ียั่งยืน ได้ด้วยตวั เอง ดังนั้น จึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง ท่ีทุกฝ่ายจะได้ร่วมมือกัน ส่งเสริมการเรียนรู้และเผยแพร่ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่” เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ให้กับนักศึกษา ประชาชน ชุมชน สังคม เพื่อเป็นหลักปฏิบัติและแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของตนเองและชุมชนอย่าง ยงั่ ยนื ต่อไป กระบวนกำรดำเนินกำร ขน้ั ตอนดำเนนิ งำนตำมกระบวนกำร ขั้นที่ 1 วำงแผนกำรดำเนินงำน (Plan) 1.1 ศกึ ษาเกี่ยวกบั “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่” และแนวนโยบายที่ เกย่ี วข้อง เพอื่ จัดทากรอบแนวคดิ ของโครงการ 1.2 ยกรา่ งและจัดวางโครงการ และเสนอขออนุมัติโครงการ 1.3 ออกแบบกระบวนการ และจัดวางขัน้ ตอนการดาเนินงานโครงการ 1.4 วางแผนการปฏบิ ตั งิ านตามกระบวนการและขน้ั ตอนการดาเนนิ งานโครงการ ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบัตงิ ำนตำมแผนกำรดำเนินงำน (Do) 2.1ศึกษา ค้นควา้ รวบรวบเครือข่ายและสอ่ื “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่” 2.1.1 ส่ือเอกสาร 2.1.2 สอ่ื อิเลคทรอนิคส์ 2.1.3 เครือข่ายเอกชน ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ,แปลงไรน่ า-สวนผสม,แปลงผกั อินทรีย์ ฯลฯ 2.1.4 เครือข่ายภาครฐั เช่น หน่วยงานเทศบาล,แปลงสาธติ เกษตรฯ,หมบู่ ้าน ฯลฯ 2.2ดาเนนิ การพัฒนาศูนยเ์ รยี นรู้ฯ 2.2.1 พัฒนาเรือขา่ ยและดาเนินกจิ กรรมตามแผนปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ 2.2.2 ดาเนินการเผยแพร่ผลการจดั กิจกรรม ในช่องทางทห่ี ลากหลาย 2.2.3 เชือ่ มโยงเครอื ขา่ ยฯ ท้ังในพนื้ ท่ีตาบลท่าผา และนอกพน้ื ที่ในอาเภอบา้ นโปง่

๗ ขัน้ ท่ี 3 กำรตรวจสอบตดิ ตำมผลกำรดำเนินงำน (Check) 3.1 ตรวจสอบผลลัพธ์ (Output Outcome) ของโครงการ 3.2 ตรวจสอบกระบวนการ (Process) ของโครงการ 3.3 ตรวจสอบปจั จยั ป้อน (Input) การดาเนนิ โครงการ ขัน้ ท่ี 4 กำรปรับปรงุ พัฒนำ (Act) 4.1 นาผลจากการตรวจสอบตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน ในข้ันตอนที่ 3 (Check) มาคดิ ค้นและวางแผน ปรบั ปรุง พัฒนาการดาเนินงาน 4.2 ดาเนนิ การพัฒนา ปรับปรงุ อยา่ งต่อเน่อื ง ตามวงจรพัฒนาคณุ ภาพ P D C A

๘ รำยงำนผลกำรดำเนินกำร (Best Practice) กำรสง่ เสรมิ กำรเรยี นรู้ “ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่” เปน็ การสรปุ รายงานผลการดาเนินงาน การส่งเสริมการเรียนร้แู ละเผยแพร่ “ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่” ระยะท่ี 2 ระหวา่ งเดือน เมษายน 2564 – กันยายน 2564 ดงั น้ี วำงแผนกำรดำเนินงำน (Plan) 1. ค้นคว้ำ ศึกษำเกี่ยวกบั “ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่” และ แนวนโยบำยทเ่ี กย่ี วข้อง เพ่ือจัดทำกรอบแนวคิดของโครงกำร เป็นเวลาเกือบ 20 ปีท่ีคนไทยรู้จัก “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ที่ “พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช” พระราชทานเป็นแนวทางในการนาพาประเทศไทยให้ข้ามพ้นวิกฤตเศรษฐกิจครั้ง ใหญท่ ี่เกิดขึ้นเม่ือปี 2540 หรือ “วิกฤตต้มยากงุ้ ” หรือ ช่วงวิกฤตเศรษฐกจิ “ฟองสบูแ่ ตก” จนหลายภาคส่วน น้อมนาหลกั ปรชั ญานี้ไปเป็นแนวทางปฏบิ ัติ โดยอาจารยย์ กั ษ์ หรอื ดร.วิวัฒน์ ศัลยกาธร ผู้เดด็ เดีย่ วตามรอยใน หลวงให้เศรษฐกิจพอเพยี งเล้ียงชีวิต ไดศ้ กึ ษาและเขยี นเร่ืองเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตลอดต้งั แตป่ ี 2540 จวบจน ทกุ วนั นี้ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงได้รับการนาไปประยุกต์ใชอ้ ย่างแพรห่ ลาย ทงั้ ในภาคเกษตรกรรม ธุรกิจ การ จัดการทางเศรษฐกิจและส่ิงแวดล้อม และสถานศึกษา จนประสบความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ของการนา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ต์ใช้ในการบรรลเุ ปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ มีพระราชดารัส เมื่อปี 2554 ว่า “เป้าหมายในการพัฒนาของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือ ‘การพัฒนาท่ีย่ังยืน’ เพ่ือปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของคน โดยไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อม ให้คนมีความสุข โดยต้องคานึงเร่ืองสภาพภูมิศาสตร์ ความเชื่อทางศาสนา เชื้อชาติ และภูมิหลัง ทางเศรษฐกิจ สังคม แม้ว่าวิธีการพัฒนามีหลากหลาย แต่ที่สาคัญคือนักพัฒนาจะต้องมีความรัก ความห่วงใย ความรับผิดชอบ และการเคารพในเพ่ือนมนุษย์ จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเกี่ยวข้องกับมนุษยชาติ และเป็นเร่ือง ของจิตใจ” ใช่หรือไม่ถา้ จะกล่าวว่า “ศาสตรพ์ ระราชา...ศาสตร์เพ่อื การพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน” เม่ือ 28 ตุลาคม 2559 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวในรายการ “ศาสตร์ พระราชาสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน” ในการพัฒนาเศรษฐกิจสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 รวมทั้งการพัฒนาประเทศเพื่อ ก้าวเข้าสู่สังคมโลกท้ังในระดับภูมิภาค และ ในระดับโลก เพ่ือน้อมนาพระราชดารัสขององค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ที่ให้ “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” ของการพัฒนา มาเป็นแนวทางในการ ดาเนินงาน เพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งในพื้นที่ ประชาชนมีส่วนร่วม และได้ประโยชน์จากการพัฒนาอย่าง แท้จรงิ ให้มีความ อยู่ดี กนิ ดี รัฐบาล ฯพณฯ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้เช่ือมโยง “ศาสตร์พระราชา”ในเร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (SEP - Sufficiency Economy Philosophy) กับเป้าหมายการพัฒนาท่ี ยั่งยืน (SDGs - Sustainable Development Goals) ประสบความสาเร็จ ในการสร้างความตระหนักและการ ยอมรับในเวทีระหว่างประเทศในระดับหนึ่ง ยกตัวอย่าง ได้แก่ (1) ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง เพ่ือ แกป้ ญั หาการขาดน้ากนิ และนา้ ใช้, การขาดทีด่ ินทากิน ซึ่งมกี ารสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งงา่ ย (2) ธนาคาร อาหารเปน็ กิจกรรมจากกองทุนอาหารกลางวนั แบบย่ังยนื ให้เด็กนกั เรยี นทุกคนนาไปลงทนุ เพือ่ ประกอบอาชีพ ทาการเกษตรและปศุสัตว์ขนาดเล็ก (3) โรงเรียนพระดาบส จัดให้มีการสอนวิชาชีพ หลักสูตร 1 ปี มุ่งให้ สามารถนาไปประกอบอาชีพได้จริง เสริมด้วยทักษะชีวิต ให้สามารถดารงตน ได้อย่างเหมาะสม (4) กังหันชัย พัฒนา เป็นการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้า ลดกล่ิน น้าไม่เน่าเสีย เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้าได้ (5) บริษัท

๙ ประชารฐั รกั สามัคคี จากดั ดาเนนิ การตามรปู แบบ “วสิ าหกจิ เพ่อื สังคม” บนกลไก “ประชารฐั ”ทไี่ ม่มุ่งเน้นผล กาไรจากการประกอบการ เปน็ ต้น กล่าวโดยสรปุ ได้วา่ “ศาสตร์แห่งพระราชา” ก็คือ หลักคิด หลักวิชา และหลักปฏิบัติ ที่วางรากฐานอยู่ บน “ความพอเพียง”1 ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง นน่ั เอง ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรชั ญาช้ถี ึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ต้งั แต่ ระดับครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถงึ ระดับรฐั ทงั้ ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพอ่ื ให้กา้ วทันต่อโลกยคุ โลกาภวิ ัตน์ ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจาเปน็ ที่จะต้องมีระบบภูมิค้มุ กันในตวั ทด่ี ีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายในภายนอก ทัง้ น้ี จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่าง ยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดยี วกนั จะต้อง เสรมิ สร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นกั ทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหม้ ี สานกึ ในคุณธรรม ความซ่ือสัตยส์ จุ ริต และใหม้ ีความรอบรู้ทเี่ หมาะสม ดาเนนิ ชวี ิตด้วยความอดทน ความเพยี ร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือใหส้ มดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ ง ขวาง ทง้ั ดา้ นวตั ถุ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จงึ ประกอบด้วยคณุ สมบัติ ดังน้ี ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ี่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผ้อู ืน่ เช่น การผลติ และการบรโิ ภคที่อยใู่ นระดับพอประมาณ https://pantip.com/topic/30294546 http://www.chaipat.or.th/site_content/34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html

๑๐ ๒. ความมเี หตุผล หมายถงึ การตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั ระดบั ความพอเพียงนน้ั จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมเี หตผุ ล โดย พจิ ารณาจากเหตปุ ัจจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขึน้ จากการกระทานนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ ๓. ภูมิคุ้มกนั หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ งๆ ที่จะเกิดขึน้ โดย คานึงถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดขน้ึ ในอนาคต โดยมี เงอ่ื นไข ของการตัดสนิ ใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อย่ใู นระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้ ๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ ก่ยี วกบั วชิ าการตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวข้องรอบดา้ น ความรอบคอบท่จี ะนา ความรเู้ หลา่ น้นั มาพิจารณาให้เชอ่ื มโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏบิ ตั ิ ๒. เง่อื นไขคุณธรรม ท่ีจะตอ้ งเสริมสรา้ ง ประกอบด้วย มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซือ่ สัตย์สจุ ริตและมี ความอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต พระรำชดำรสั ท่ีเก่ยี วกับเศรษฐกิจพอเพียง “...เศรษฐศาสตร์เปน็ วิชาของเศรษฐกจิ การทีต่ อ้ งใชร้ ถไถต้องไปซ้ือ เราต้องใชต้ ้องหาเงินมาสาหรบั ซ้ือนา้ มัน สาหรับรถไถ เวลารถไถเก่าเราตอ้ งย่งิ ซ่อมแซม แต่เวลาใช้นนั้ เรากต็ อ้ งป้อนน้ามันใหเ้ ปน็ อาหาร เสรจ็ แลว้ มัน คายควัน ควนั เราสูดเขา้ ไปแล้วก็ปวดหัว ส่วนควายเวลาเราใชเ้ ราก็ต้องป้อนอาหาร ตอ้ งใหห้ ญา้ ใหอ้ าหารมันกนิ แตว่ ่ามนั คายออกมา ที่มันคายออกมากเ็ ป็นปุ๋ย แลว้ ก็ใชไ้ ด้สาหรับให้ที่ดินของเราไม่เสีย...”พระราชดารัส เน่อื ง ในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวัญ ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ “...เราไม่เปน็ ประเทศรา่ รวย เรามีพอสมควร พออยู่ได้ แต่ไมเ่ ปน็ ประเทศท่ีกา้ วหนา้ อยา่ งมาก เราไม่ อยากจะเปน็ ประเทศก้าวหน้าอย่างมาก เพราะถ้าเราเปน็ ประเทศกา้ วหนา้ อย่างมากก็จะมีแตถ่ อยกลบั ประเทศ เหล่านน้ั ทเี่ ปน็ ประเทศอุตสาหกรรมก้าวหนา้ จะมแี ต่ถอยหลงั และถอยหลงั อย่างน่ากลวั แตถ่ า้ เรามีการบริหาร แบบเรยี กว่าแบบคนจน แบบที่ไมต่ ดิ กบั ตารามากเกินไป ทาอย่างมีสามัคคีนแ่ี หละคือเมตตากนั จะอยู่ได้ ตลอดไป...”พระราชดารัส เนอื่ งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ “...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดี ที่เขาเรยี กว่าเล็งผลเลศิ กเ็ หน็ ว่าประเทศไทย เรานี่ ก้าวหนา้ ดี การเงนิ การอตุ สาหกรรมการคา้ ดี มกี าไร อีกทางหนงึ่ ก็ตอ้ งบอกว่าเรากาลังเสื่อมลงไปส่วนใหญ่ ทฤษฎีวา่ ถ้ามเี งินเทา่ นน้ั ๆ มีการก้เู ท่าน้นั ๆ หมายความวา่ เศรษฐกจิ กา้ วหน้า แลว้ ก็ประเทศกเ็ จริญมหี วงั ว่าจะ เป็นมหาอานาจ ขอโทษเลยต้องเตือนเขาวา่ จริงตัวเลขดี แต่ว่าถ้าเราไม่ระมัดระวงั ในความตอ้ งการพืน้ ฐานของ ประชาชนนัน้ ไม่มีทาง...”พระราชดารัส เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ “...เดยี๋ วนี้ประเทศไทยกย็ ังอยู่ดีพอสมควร ใช้คาว่า พอสมควร เพราะเดย๋ี วมคี นเห็นว่ามีคนจน คน เดอื ดรอ้ น จานวนมากพอสมควร แต่ใชค้ าว่า พอสมควรน้ี หมายความวา่ ตามอตั ตภาพ...” พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ “...ที่เป็นห่วงนนั้ เพราะแม้ในเวลา ๒ ปี ที่เป็นปีกาญจนาภเิ ษกก็ได้เห็นสิ่งท่ีทาใหเ้ ห็นได้ว่า ประชาชน ยังมคี วามเดือดร้อนมาก และมีส่งิ ทคี่ วรจะแกไ้ ขและดาเนินการต่อไปทุกด้าน มีภยั จากธรรมชาตกิ ระหนา่ ภยั ธรรมชาตินเี้ ราคงสามารถทจ่ี ะบรรเทาได้หรอื แก้ไขได้ เพยี งแตว่ ่าต้องใช้เวลาพอใช้ มภี ยั ที่มาจากจิตใจของคน ซงึ่ ก็แก้ไขได้เหมือนกนั แต่วา่ ยากกวา่ ภยั ธรรมชาติ ธรรมชาตนิ ั้นเป็นสง่ิ นอกกายเรา แต่นิสัยใจคอของคนเป็นส่ิง ที่อย่ขู ้างใน อนั นี้ก็เป็นข้อหนง่ึ ท่ีอยากให้จัดการให้มีความเรยี บรอ้ ย แต่ก็ไมห่ มดหวัง...” พระราชดารสั เน่อื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วันที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙

๑๑ “...การจะเปน็ เสือนน้ั ไม่สาคัญ สาคญั อย่ทู ี่เรามเี ศรษฐกิจแบบพอมพี อกนิ แบบพอมีพอกินนั้น หมายความวา่ อุ้มชูตวั เองได้ ให้มพี อเพยี งกับตนเอง ความพอเพยี งน้ีไมไ่ ดห้ มายความวา่ ทุกครอบครวั จะต้อง ผลติ อาหารของตวั เอง จะตอ้ งทอผา้ ใส่เอง อย่างน้นั มันเกนิ ไป แต่วา่ ในหมูบ่ ้านหรอื ในอาเภอ จะต้องมคี วาม พอเพยี งพอสมควร บางส่งิ บางอย่างผลิตไดม้ ากกวา่ ความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในท่ีไม่หา่ งไกลเท่าไร ไมต่ ้อง เสียคา่ ขนส่งมากนัก...”พระราชดารสั เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วันที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙. “...เมอื่ ปี ๒๕๑๗ วันนน้ั ได้พดู ถงึ วา่ เราควรปฏิบัตใิ หพ้ อมีพอกิน พอมีพอกินนี้กแ็ ปลวา่ เศรษฐกิจ พอเพยี งนน่ั เอง ถา้ แตล่ ะคนมีพอมีพอกิน ก็ใชไ้ ด้ ย่งิ ถา้ ท้งั ประเทศพอมพี อกนิ กย็ ง่ิ ดี และประเทศไทยเวลานนั้ ก็ เรม่ิ จะเปน็ ไมพ่ อมีพอกนิ บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย...”พระราชดารสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระ ชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลัย วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ “...พอเพยี ง มีความหมายกวา้ งขวางยิง่ กว่านี้อกี คือคาว่าพอ ก็พอเพียงน้ีก็พอแคน่ ้นั เอง คนเราถ้าพอ ในความต้องการก็มีความโลภน้อย เมอื่ มคี วามโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอน่ื น้อย ถา้ ประเทศใดมีความคดิ อันนี้ มี ความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความวา่ พอประมาณ ซ่ือตรง ไมโ่ ลภอยา่ งมาก คนเรากอ็ ยู่เป็นสุข พอเพียงน้ีอาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรหู ราก็ได้ แตว่ า่ ต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอ่ืน...” พระราชดารัส เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ “...ไฟดับถ้ามีความจาเป็น หากมเี ศรษฐกิจพอเพยี งแบบไม่เตม็ ที่ เรามีเครอื่ งป่ันไฟก็ใชป้ น่ั ไฟ หรอื ถ้า ขัน้ โบราณกวา่ มืดก็จุดเทยี น คือมีทางท่จี ะแกป้ ัญหาเสมอ ฉะนั้นเศรษฐกจิ พอเพียงก็มีเป็นขัน้ ๆ แตจ่ ะบอกว่า เศรษฐกิจพอเพยี งน้ี ให้พอเพียงเฉพาะตวั เองร้อยเปอรเ์ ซ็นต์นเี่ ปน็ สิ่งทาไมไ่ ด้ จะตอ้ งมกี ารแลกเปลี่ยน ต้องมี การชว่ ยกนั ถ้ามีการช่วยกัน แลกเปล่ยี นกัน ก็ไม่ใช่พอเพยี งแล้ว แต่ว่าพอเพยี งในทฤษฎีในหลวงนี้ คอื ให้ สามารถท่ีจะดาเนินงานได้...”พระราชดารสั เนือ่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ “...โครงการต่างๆ หรือเศรษฐกิจทีใ่ หญ่ ต้องมีความสอดคล้องกนั ดีทไี่ มใ่ ช่เหมือนทฤษฎใี หม่ ทีใ่ ช้ทีด่ ิน เพียง ๑๕ ไร่ และสามารถท่จี ะปลูกข้าวพอกิน กจิ การนีใ้ หญก่ ว่า แตก่ เ็ ปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งเหมือนกัน คนไม่ เขา้ ใจวา่ กิจการใหญๆ่ เหมือนสรา้ งเขื่อนปา่ สักกเ็ ป็นเศรษฐกิจพอเพยี งเหมือนกนั เขานึกว่าเป็นเศรษฐกจิ สมยั ใหม่ เปน็ เศรษฐกิจท่หี า่ งไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง แต่ท่จี รงิ แล้ว เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...” พระราชดารสั เนอื่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลยั วันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ “...ฉันพดู เศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ทาอะไรใหเ้ หมาะสมกบั ฐานะของตัวเอง คอื ทาจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ขน้ึ ไปเปน็ สองหม่ืน สามหมนื่ บาท คนชอบเอาคาพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะ เทอะ เศรษฐกิจพอเพยี ง คือทาเปน็ Self-Sufficiency มนั ไม่ใชค่ วามหมายไมใ่ ช่แบบทฉ่ี ันคิด ที่ฉนั คิดคือเป็น Self-Sufficiency of Economy เชน่ ถา้ เขาตอ้ งการดูทวี ี กค็ วรให้เขามีดู ไม่ใชไ่ ปจากัดเขาไม่ให้ซ้อื ทีวีดู เขา ต้องการดูเพื่อความสนุกสนาน ในหม่บู า้ นไกลๆ ทฉ่ี นั ไป เขามที วี ดี ูแต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มไี ฟฟ้า แต่ถ้า Sufficiency น้ัน มที ีวเี ขาฟุ่มเฟอื ย เปรยี บเสมือนคนไม่มีสตางคไ์ ปตัดสทู ใส่ และยังใส่เนคไทเวอรซ์ าเช่ อนั นกี้ ็ เกินไป...” พระตาหนักเป่ียมสุข วงั ไกลกังวล ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔ ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพยี ง มุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผบู้ ริโภค พยายามเริ่มตน้ ผลติ หรือบรโิ ภคภายใต้ขอบเขต ขอ้ จากัดของรายได้ หรือทรัพยากรที่มีอยูไ่ ปก่อน ซึง่ ก็คอื หลักในการลดการพึ่งพา เพ่ิมขีดความสามารถในการ ควบคมุ การผลติ ไดด้ ว้ ยตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจากการไมส่ ามารถควบคุมระบบตลาดได้อย่างมี

๑๒ ประสิทธิภาพ เศรษฐกิจพอเพียงมิใช่หมายความถึง การกระเบยี ดกระเสยี นจนเกนิ สมควร หากแต่อาจฟมุ่ เฟือย ได้เป็นครง้ั คราวตามอตั ภาพ แต่คนส่วนใหญ่ของประเทศ มกั ใช้จ่ายเกนิ ตัว เกินฐานะที่หามาได้ เศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนาไปสู่เป้าหมายของการสรา้ งความม่ันคงในทางเศรษฐกจิ ได้ เช่น โดย พ้ืนฐานแล้ว ประเทศไทยเปน็ ประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจงึ ควรเน้นทเี่ ศรษฐกจิ การเกษตร เน้น ความมั่นคงทางอาหาร เปน็ การสร้างความมัน่ คงใหเ้ ป็นระบบเศรษฐกิจในระดับหนงึ่ จึงเปน็ ระบบเศรษฐกจิ ท่ี ชว่ ยลดความเสีย่ ง หรือความไมม่ น่ั คงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้ เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถประยุกตใ์ ช้ได้ในทุกระดบั ทกุ สาขา ทกุ ภาคของเศรษฐกจิ ไม่จาเปน็ จะตอ้ งจากัด เฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาคอสงั หารมิ ทรัพย์ และการค้าการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ โดยมีหลักการทีค่ ล้ายคลงึ กนั คือ เนน้ การเลือกปฏิบตั ิอย่างพอประมาณ มเี หตุมผี ล และสรา้ ง ภมู ิคุ้มกันให้แกต่ นเองและสังคม กำรดำเนินชีวิตตำมแนวพระรำชดำรพิ อเพียง พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทรงเข้าใจถึงสภาพสงั คมไทย ดังนั้น เมอ่ื ไดพ้ ระราชทานแนว พระราชดาริ หรือพระบรมราโชวาทในด้านต่างๆ จะทรงคานงึ ถึงวิถีชวี ติ สภาพสังคมของประชาชนด้วย เพือ่ ไมใ่ ห้เกิดความขดั แยง้ ทางความคิด ท่ีอาจนาไปสู่ความขดั แย้งในทางปฏบิ ัติได้ แนวพระราชดารใิ นการดาเนินชีวติ แบบพอเพียง ๑. ยดึ ความประหยดั ตดั ทอนค่าใชจ้ า่ ยในทุกดา้ น ลดละความฟุ่มเฟือยในการใช้ชวี ิต ๒. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถกู ต้อง ซื่อสัตยส์ จุ รติ ๓. ละเลิกการแกง่ แยง่ ผลประโยชน์และแข่งขันกนั ในทางการคา้ แบบต่อสู้กนั อย่างรนุ แรง ๔. ไมห่ ยดุ นงิ่ ท่ีจะหาทางใหช้ ีวติ หลดุ พ้นจากความทุกขย์ าก ดว้ ยการขวนขวายใฝ่หาความรู้ใหม้ ีรายได้เพิ่มพนู ขึ้น จนถึงข้นั พอเพยี งเปน็ เปา้ หมายสาคญั ๕. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลดละสง่ิ ช่ัว ประพฤติตนตามหลักศาสนา http://www.kasetorganic.com เกษตรทฤษฎีใหม่ การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นทฤษฎีทถี่ ูกคดิ คน้ ข้ึนโดยใชแ้ นวคดิ แหง่ การใชท้ รัพยากรธรรมชาตแิ ละ การบริหารงานในการทาการเกษตร ที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว ภูมพิ ลอดุลยเดช มหาราช รัชกาลที่ 9

๑๓ แหง่ ราชวงศจ์ กั รี ของประเทศไทย ได้ทรงพระราชทานแก่พสกนกิ รชาวไทย เพ่ือแกไ้ ขปญั หาการเกษตร เพ่ือให้ เกษตรกรได้มีชีวิตอยูโ่ ดยหลุดพน้ บว่ งแห่งความยากจน เปน็ การสร้างแหล่งน้าขนาดเล็กบนผิวดินในพนื้ ทีก่ ารเกษตรของเกษตรกรโดยแบง่ ที่ดินสาหรบั ใชข้ ดุ เป็น สระเก็บนา้ ใหส้ ามารถใช้ทาการเกษตรไดต้ ลอดปีและสามารถ เลยี้ งปลาไปพร้อมๆกันนอกจากนีบ้ ริเวณขอบ สระยังสามารถใช้ปลกู พืชผกั สวนครวั ได้อีกด้วย โดยหลกั การคือ การแบ่งพนื้ ที่การเกษตรออกเปน็ 4 สว่ น สว่ นแรกนั้น ใหข้ ดุ สระกกั เก็บน้าจานวน 30% ของพื้นทท่ี ัง้ หมด เน่ืองจากการเกษตร จาเป็นต้องใช้น้า สว่ นทีส่ อง ให้ปลูกขา้ ว จานวน 30% ของพื้นที่ เพราะครอบครัวต้องกนิ ต้องใช้ สาหรับเป็นแหล่งอาหารหลกั ส่วนท่สี าม ใหป้ ลกู ไม้ผลไม้ยนื ต้น เกบ็ ดอกผลไว้ กนิ ไว้ขาย เสริมสร้างรายได้ส่วนหนึ่งอกี ทาง และส่วนทส่ี ่ี เป็นพืน้ ท่สี าหรบั ใช้สรา้ งสิง่ ปลกู สร้างเชน่ ท่อี ยู่อาศัย โรงเรอื นเลยี้ งสตั ว์ ฉาง จานวน 10% ของพนื้ ท่ี จานวนสดั สว่ นของพื้นท่ีนที้ ้งั หมดสามารถปรบั เพิม่ หรือลด ขนึ้ อย่กู ับความเหมาะสมของสภาพพนื้ ท่ีแตล่ ะแหง่ ได้ตามสะดวก ตวั อย่างคอื มที น่ี าอยูท่ ่ี 4 ไร่ จะแบ่งออกเป็น 4 สว่ น อาจจะได้ประมาณส่วนละ 1 ไร่ แต่ใหพ้ ิจารณาถึงความจาเป็นและสิง่ แวดล้อมในพื้นท่ีดว้ ย หากพ้ืนท่ี โดยรอบแห้งแล้วกันดาร ให้เผ่ือเนอ้ื ทขี่ องการปลูกตน้ ไม้ยนื ต้นและสระเก็บน้ามากหน่อย เนอ่ื งจากน้าเป็น สิ่งจาเป็น และหากมแี ต่น้าแต่ผนื ดินไมช่ ุม่ ชนื้ เพราะขาดต้นไม้ใหร้ ่มเงา นา้ กจ็ ะขาดแคลน การแบง่ พน้ื ทดี่ งั ตวั อย่างมีดงั น้ี พ้นื ที่สว่ นท่ี 1 จานวน 1.2 ไร่ ขดุ สระกักเก็บน้าจานวน 2 สระ สามารถกกั เก็บนา้ ได้มาก เพียงพอต่อการนานา้ มาใชใ้ นการทาการเกษตรได้ท้งั ปีแต่การผนั น้ามาใชน้ น้ั หากพื้นทก่ี วา้ งใหญ่ เช่นมีเนื้อท่ี ประมาณ 12-13 ไร่ การขุดสระโดยใชพ้ ืน้ ทถี่ ึง 3-4 ไร่น้ันยงั คงต้องใช้เครื่องจักรกลในการสบู น้ามาใช้ ทาให้ สูญเสยี พลังงานเชอื้ เพลิงจานวนมาก โดยเฉพาะในช่วงฤดแู ลง้ ถ้าสามารถลดการใชพ้ ลงั งานลงได้ หรือหา พลังงานเช้ือเพลงิ อ่นื ทดแทน หรอื มีการวางแผนการใช้น้า เชน่ หากพ้ืนที่มรี ะดับท่ีตา่ งกนั มาก สามารถวางทอ่ นาน้าออกมาใชโ้ ดยไมต่ ้องใช้เคร่ืองสูบน้าและนา้ มนั เป็นการจัดการทาให้ต้นทุนการเกษตรลดลงไดใ้ นระยะยาว สาหรบั พืน้ ที่เลก็ ๆ ประมาณ 1-2 ไร่ สามารถทาเปน็ ท้องร่องได้โดยกะให้กว้างพอประมาณไม่ให้แคบเกินไป เพราะเนื้อท่ีแคบน้าจะขาดแคลน พนื้ ท่ีส่วนที่ 2 ใช้พื้นท่ี 1 ไร่ ใชป้ ลกู ข้าว การปลกู ขา้ วด้วยพนื้ ที่ 1 ไรค่ วรใช้ วิธีการดานา หรือ การปลูกข้าวตน้ เดียว เพราะจะใหผ้ ลผลิตดี ปรมิ าณมากกว่าการปลกู ขา้ วแบบหว่านปกติ เนื่องจากการปกั ข้าวลงดินเองจะทาให้ข้าวมผี ลผลิตดี การเตรยี มดิน และปักดาโดยใชข้ ้าวจ้าวหอมมะลิ 105 ทาการกาจดั วัชพืชในนาข้าว โดยการถอน และไถกลบ เริ่มแรกอาจมีการปลกู พชื ตระกลู ถั่วกอ่ นเนื่องจากถว่ั เป็นพืชทีต่ อ้ งการน้าน้อย เจริญเติบโตเร็ว หลังเก็บเกีย่ วสามารถไถกลบและซังพชื จะเปน็ ปุย๋ ช้ันดีใหน้ าขา้ ว พ้นื ทส่ี ่วนท่ี 3 มที ้งั หมด 1.5 ไร่ ปลูกพชื แบบผสมผสาน โดยสามารถปลูกมะมว่ งพันธ์ุโชคอนันต์ ปลูกกลว้ ย นา้ ว้า ปลูกพืชผกั ปลกู ไม้ใชส้ อย เช่น ตน้ สกั ตน้ ไผ่รวก ไผ่ตง หรอื ต้นหวาย โดยทง้ั น้ีพ้ืนทกี่ ารปลูกอาจใช้พน้ื ที่ ทง้ั หมดทเ่ี หลือโดยพน้ื ท่สี าหรับปลกู สรา้ งบ้านเรอื นกส็ ามารถปลูกคร่อมพนื้ ท่ีส่วนท่ี 3 ได้เช่นเดียวกัน พน้ื ทสี่ ่วน ท่ี 4 น้ีมีพน้ื ท่เี หลือประมาณ 3 งาน สามารถใช้เป็นพ้นื ท่สี าหรับสรา้ งที่อยู่อาศัยและคอกสัตว์เล็กๆ ใต้ถุนเรือน หรือผสมผสานในการปลกู บ้านเรอื นยกสูงบนสระน้า ให้ใต้ถนุ เป็นคอกเลีย้ งเป็ดไก่ หมู ติดกับสระน้า โดยในน้าก็ มกี ารเลยี้ งปลาดุกปลานลิ ผสมกัน เปน็ แนวทางการเกษตรแบบพึ่งพาอาศยั เกษตรทฤษฎใี หม่ สาหรับเกษตรกร ท่มี พี น้ื ทีม่ าก เกษตรทฤษฎใี หม่ คอื แนวทางท่ยี ่ังยนื โดยที่แตเ่ ดิมจะเหมาะกบั เกษตรกรท่ีมีพ้ืนที่ทางการเกษตร ค่อนข้างมากพอสมควร แตส่ าหรับเกษตรกรท่ีมมี ีพน้ื ที่ไม่มากนกั กส็ ามารถท่จี ะทาไดโ้ ดยการลดหลนั่ ของพ้นื ที่ ทากินในแบบผสมผสานพ่ึงพาอาศยั Copyright © http://www.kasetorganic.com

๑๔ ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบตั ิงำนตำมแผนกำรดำเนินงำน (Do) 2.1ศกึ ษา คน้ ควา้ รวบรวบเครือข่ายและส่อื “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่” 2.1.1 สื่อเอกสาร 2.1.2 สื่ออิเลคทรอนิคส์ 2.1.3 เครอื ข่ายเอกชน ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ,แปลงไรน่ า-สวนผสม,แปลงผกั อินทรีย์ ฯลฯ 2.1.4 เครือข่ายภาครฐั เช่น หนว่ ยงานเทศบาล,แปลงสาธิตเกษตรฯ,หมบู่ ้าน ฯลฯ เครือขำ่ ยแหลง่ เรียนรดู้ ้ำนปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ในตำบลท่ำผำ ๑. ภูมปิ ญั ญำท้องถ่ินซ่ึงจดั เปน็ ทรัพยำกรบุคคลทส่ี ำคัญ ที่ ชื่อ - สกุล อำยุ บ้ำนเลขที่ โทรศัพท์ ลกั ษณะเด่น 1 นำยนสิ นั ต์ งว่ นสำอำงค์ 45 หมู่ ๓ ตำบลทำ่ ผำ ๐๘๑-๘๔๘๕๒๘๔ กานัน/ผนู้ าชุมชน 2 นำยทรงยศ อรัญยกำนนท์ 55 นายกเทศมนตร/ี ผนู้ าชมุ ชน 3 น.ส.นงนุช เสลำหอม 44 ๑๙/๘ ๐๘๑-๕๗๐๗๗๗๐ ปธ.แหลง่ เรียนร้ฯู /ผ้นู า หมทู่ ่ี ๑๑ ตำบล ชมุ ชน/ผนู้ าเกษตรกร ท่ำผำ พอเพียง 4 นำยสมบตั ิ โพธิ์ช่นื 44 หมู่ ๕ ตำบลทำ่ ผำ ผู้นาเกษตรกร,ช่างเครื่อง 5 นำยประสงค์ ทองมลู เสียง,อุปกรณ์การเกษตร 6 นำยสุทน แสนตันเจรญิ 45 ๘๐/๑ หมู่ ๕ ๐๘๑-๗๒๘๘๘๑๖ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ /ผนู้ า ตำบลทำ่ ผำ เกษตรกร,สมาชิก ศส.ปชต., อุปกรณ์การเกษตร 47 ๔๐๘/๑๒๓ หมทู่ ่ี ๐๘๑-๙๔๕๖๙๒๕ วิทยากร/ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ๔ ด้านนวตั กรรมและปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตำบลปำกแรต 7 อทุ ยั ฟำร์ม หมทู่ ี่ ๕ เพาะพันธุป์ ลาเศรษฐกจิ 8 นำงสกุ ัญธญำ สกุ ใส ตำบลทำ่ ผำ แบบครบวงจร/ผลติ อาหาร ปลา 46 บ้ำนเลขท่ี ๐๘๙-๙๑๐๓๘๕๙ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ /ดา้ น ๗๐/๑ หม่ทู ี่ ๗ นวดแผนไทย,ดแู ลผ้ปู ว่ ยตดิ ตำบลทำ่ ผำ เตยี ง,หญงิ หลงั คลอด ฯลฯ ๙. นายสมโภชน์ วระสิงห์ ๔๔ ๗๔/๑๒๗ หมทู่ ่ี ๐๖๕-๖๐๖๕๘๖๘ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ /ช่าง ๑๐. นายไพโรจน์ วนั นยิ ม ๔ ตาบลท่าผา ๐๘๖-๗๕๗๓๓๖๓ ประดษิ ฐห์ ่นุ เหลก็ จากเศษ เหลก็ ๓๘ ๒ หมทู่ ี่ ๕ ตาบลท่าผา ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ /ชา่ งซ่อม รถบรรทุก

๑๕ ๑๑. นายอานนท์ วงั ป่า ๓๔ ๓๐/๑ หมู่ท่ี ๕ ๐๘๕-๘๓๐๙๔๘๙ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น/ช่างเดนิ ตาบลท่าผา สายไฟและเคร่ืองเสียง รถยนต์ ๑๒. น.ส.มณีกาญจน์ บญุ ส่ง ๓๒ ๘/๑ หมทู่ ี่ ๑๕ ๐๙๐-๑๕๖๙๕๐๔ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ /ผ้นู า ตาบลทา่ ผา เกษตรกรรุ่นใหม/่ เกษตร อินทรยี ์ ๑๓ นางกิ่งแกว้ จนั ทรสกุ รี ๕๒ ๒๗/๓ หมทู่ ี่ ๒ ๐๘๕-๒๖๕๘๖๕๙ ภูมิปัญญาท้องถ่นิ /ผู้นา ตาบลท่าผา เกษตรกร/เกษตรอินทรีย์ ๑๔. นางปราณี พาซ่อื ๕๗ ๓๕ หมู่ที่ ๑๙ ๐๘๕-๔๐๓๑๔๙๓ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน/ประธาน ตาบลทา่ ผา วิสาหกิจชมุ ชน,เจ้าของ ผลติ ภัณฑ์น้าพริกสระโกฯ ๑๕. นางประยงค์ ทองโชติ ๕๔ ๓๓ หม่ทู ่ี ๑๕ ๐๘๑-๑๙๖๒๗๙๘ ภมู ิปัญญาท้องถิน่ /ผู้นา ตาบลทา่ ผา ชุมชน/ประธานวสิ าหกิจ ชุมชน,ผลิตภัณฑป์ ลาขา้ วคว่ั บา้ นยางหกั ๑๖. นายอดลุ ย์ เภาศรี ๖๘ ๖๑/๑๑ หม่ทู ่ี ๑ ๐๘๑-๒๕๙๔๓๙๒ ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น/ประธาน ตาบลท่าผา วิสาหกจิ ชมุ ชน,ผลติ ภณั ฑ์ขา้ ปลอดสารพษิ ,ข้าวอนิ ทรีย์ ๑๗. นายสุรพล บุญยรัตไพศาล ๔๑ หมู่ ๘ ตาบลทา่ ผา ๐๘๑-๑๙๘๒๗๐๕ เจ้าหนา้ ทพ่ี ัฒนาสงั คม ชุมชน เทศบาลเมอื งทา่ ผา ศนู ย์เรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบลทา่ ผา เปิดเม่ือวนั ที่ 13 มถิ นุ าย 2559 โดยมี นายนสิ ันต์ ง่วนสาอางค์ กานันตาบลท่าผา เป็นประธาน และรบั การนเิ ทศจาก ผู้อานวยการ สานักงาน กศน.

๑๖ จงั หวัดราชบุรี พร้อมคณะ เมื่อวันท่ี 30 เมษายน 2564 ภาพจดุ สาธิตการจดั การน้า โดยใชว้ ิธกี ารเพมิ่ แรงดันน้า ด้วยอากาศ (Air way) และดัดแปลงอุปกรณ์ป่ันน้าจาก วสั ดุ เหลอื ใช้ โดยภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ภาพจดุ เรียนรูใ้ นศูนย์ ฯ เรื่องการปลกู พืช (กลว้ ยพนั ธต์ า่ งๆ) ในพื้นที่ดนิ เส่อื มโทรม (ดินปนหนิ ,ปูน,วัสดุก่อสร้าง ฯลฯ) โดยใชว้ ิธีการขุดหลมุ ขนาด 50 x 50 x 50 แล้วรองกน้ หลมุ ดว้ ยวัสดปุ รับปรุงดิน (วสั ดุอินทรีย์ จาก ทอ้ งถน่ิ ) ดูแล บารุงรักษาโดยวิธผี สมผสาน ทัง้ อินทรียแ์ ละเคมี

๑๗ ภาพมุมเรยี นรู้ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงภายในศนู ย์ ฯ

๑๘ ๒. เครือข่ำยแหลง่ เรยี นรูด้ ้ำนปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจำตำบลทำ่ ผำ ๑. ชอื่ ภมู ิปญั ญำ สวนหลังบ้ำน ขอ้ มูลพืน้ ฐำน รำยบคุ คล เจ้ำของภมู ิปญั ญำท้องถน่ิ /บคุ คลคลังปญั ญำ ชื่อ นำงสำวนงนุช นำมสกุล เสลำหอม วนั เดอื นปีเกิด 2๘ ตุลำคม ๒๕๑๗ ทีอ่ ยู่ปจั จุบัน (ทีส่ ำมำรถติดต่อได้) บา้ นเลขที่ ๑๙/๘ หมู่ท่ี ๑๑ ตาบลทา่ ผา อาเภอบา้ นโปง่ จังหวดั ราชบรุ ี รหัสไปรษณีย์ ๗๐๑๑๐ โทรศัพท์ ๐๘๑-๕๗๐๗๗๗๐ Line ID ๐๘๑- ๕๗๐๗๗๗๐ Facebook นงนุช เสลำหอม เพจ สวนหลังบ้ำน พกิ ัดทำงภมู ิศำสตร์ คำ่ X : 13.8704777 ค่ำ Y: 99.8530591 ควำมเป็นมำของภูมิปัญญำ นางสาวนงนุช เสลาหอม เป็นผู้ใหญบ่ ้าน บ้านหว้ ยขวาง หมู่ ๑๑ ตาบลท่าผา อาเภอ บ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี จบการศึกษาระดับปริญญาโท เคยทางานในบริษัทเอกชนในเมืองหลวง ด้วยความท่ี เปน็ บตุ รคนเดียวจึงมภี าระหนา้ ที่ต้องเลี้ยงดบู ิดา มารดา จนวันหนึ่งได้มีโอกาสกลับบ้านมาทาธุรกิจส่วนตัว (รับ ซอ้ื -ขาย รีไซเคลิ วัสดุเหลือใช)้ ประกอบกับมีพ้นื ทีว่ ่างที่เหลือจากการทาโรงรับซ้ือ-ขาย วสั ดเุ หลอื ใช้ ในบริเวณ สวนหลังบ้าน ประมาณ ๗ ไร่ จึงปรับเปลี่ยนพ้ืนท่ีให้เป็นแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวทางหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้และเครือข่ายต่างๆ แล้วจึงลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการทางาน อาทิเช่น การใช้วัสดุเหลือใช้จากร้านรับซื้อวัสดุฯ ของตนเอง มา ประกอบเปน็ โครงสร้างตา่ งๆ ในสวน เชน่ โครงเหลก็ สะพานข้ามบอ่ ปลา ทางเดินชมทุ่งนา รว้ั สงั กะสี เป็นต้น จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญำท้องถิ่น เป็นผู้นาชมุ ชนทเี่ ข้มแขง็ ขยัน อดทน ใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน และมีความกระตอื รือร้นใน การพฒั นาแหล่งเรียนรู้ ชมุ ชน อย่เู สมอ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่มาปรบั ใชใ้ นการสรา้ งแหลง่ เรียนรสู้ วนหลงั บ้าน สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพ ให้กับลกู บ้านในชุมชนได้เปน็ อย่างดี อกี ทัง้ ยังสามารถถา่ ยทอดองค์ความร้ทู ั้งในเร่ืองปรัชญาของเศรษฐกจิ

๑๙ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ เรื่องการบริหารจัดการขยะในชมุ ชน หลักการประชาธิปไตยในชมุ ชน ไดเ้ ป็น อย่างดีอกี ด้วย วตั ถดุ บิ ท่ีใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑท์ ่เี กิดจำกภูมปิ ญั ญำ ซึ่งพ้นื ที่อ่ืนไม่มี - เศษเหล็ก สังกะสี ไม้ จากแหลง่ รับซ้อื ของเก่า (ทาโครงสร้างต่างๆ เชน่ สะพาน ทางเดิน รัว้ ฯลฯ) - ท่ดี นิ มรดก จานวน ๗ ไร่ รำยละเอียดของภูมปิ ญั ญำท้องถิน่ - จากการทมุ่ เททางานอย่างหนักเปน็ ระยะเวลาต่อเนื่องมากว่า 3 ปี บัดนีแ้ หล่งเรียนรสู้ วนหลงั บ้านของ ผใู้ หญน่ งนชุ เสลาหอม และพ่ีนอ้ งชุมชนบา้ นห้วยขวาง พร้อมแลว้ ในการเป็นแหลง่ ศึกษาดูงาน การถา่ ยทอด เทคนคิ การทาเกษตรทฤษฎใี หม่ การสรา้ งงานสร้างอาชีพ ฯลฯ ให้กบั นักเรยี น นกั ศึกษาประชาชนทัว่ ไปหรือ หนว่ ยงาน ทีส่ นใจสามารถตดิ ตอ่ จองคิวเขา้ เที่ยวชมและศึกษาดงู านไดท้ กุ เวลา รูปแบบและลกั ษณะกำรถำ่ ยทอด กำรประชำสัมพนั ธ์ เผยแพร่ภูมิปัญญำท้องถ่ิน ยังไม่เคยมีการเผยแพร/่ ใชเ้ ฉพาะบุคคล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน มกี ารเผยแพร่ผา่ นสื่อมวลชนและสื่ออน่ื อย่างแพร่หลาย มีการดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวนมากกวา่ ๑๐ ครั้ง จานวนมากกว่า ๒๐๐ คน มีการนาไปใช้ อื่นๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภูมิปัญญำท้องถนิ่ กำรพัฒนำตอ่ ยอดภูมปิ ัญญำให้เปน็ นวัตกรรม คุณค่ำ (มลู ค่ำ) และ ควำม ภำคภูมใิ จ ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ /นวัตกรรมทีค่ ิดคน้ ขึ้นมาใหม่ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ด้ังเดมิ ได้รบั การถา่ ยทอด ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ท่ีได้พฒั นาและต่อยอด กำรพัฒนำต่อยอดคือ การทาแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงต้อง ใชค้ วามรูค้ วามสามารถท่ถี ูกต้อง อกี ทงั้ ต้องมีความศรัทธาและเช่ือมนั่ ในศาสตร์ของพระราชาอย่างแทจ้ รงิ ว่าจะ สามารถนาไปใช้ในการดาเนินชีวติ การทามาหากนิ และนาพาครอบครวั ชมุ ชน ไปสูค่ วามมั่นคงทางอาหารและ เศรษฐกิจของครอบครัวอย่างแท้จริง รวมท้ังต้องมีความต้ังใจจริง ทาจริง ไม่ท้อถอยง่ายๆต้องใช้ความรู้มา วางแผนและคานวณงานทุกข้ันตอน ฯลฯ การทาในแต่ละข้ันตอน จะต้องมีความละเอียด รอบคอบ ประหยัด และใช้ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างคมุ้ ค่ามากท่ีสุด การนาทรัพยากรท่ีมีอยู่มาใชใ้ หม่ก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ผู้ใหญ่ นงนุช เสลาหอม นามาใช้อย่างได้ผล เช่น การนาเหล็ก ไม้ จากร้านรับซื้อของเก่า(หน้าบ้าน)มาใช้ทาสะพาน ทางเดิน การนาสังกะสีเก่า มาใช้ทารั้ว เป็นต้น นอกจากน้ีผู้ใหญ่นงนุชยังขยายองค์ความรู้สู่ชุมชนผ่าน กลุ่มเป้าหมายต่างๆ เช่น ความรู้เรื่องการบริหารจัดการขยะผ่านกลุ่มเยาวชนต้นกล้า ความรู้ด้านการทาเกษตร ทฤษฎใี หมผ่ า่ นกลุ่มผู้สนใจเรยี น อาทิ กล่มุ ผ้เู รยี น กศน. การรวมกล่มุ เรียนรู้ของผู้เรยี นการศึกษาต่อเนื่อง กศน. ตาบลท่าผา กลุ่มเรียนรู้จากพ้ืนที่ต่างๆท้ังในและนอกชุมชน ฯลฯและทางกลุ่มชุมชนบ้านห้วยขวางก็มีการ รวมกลุ่มกันจัดต้ังเป็นวิสาหกิจชุมชนบ้านห้วยขวาง ผลิตและจาหน่ายอาหารปลอดภัยหลายๆอย่าง เช่น ผัก ปลอดสารพษิ ปลานิลแดดเดียว กล้วยแปรรปู ไขเ่ คม็ สมนุ ไพร น้าสมุนไพร ฯลฯ ซึง่ เป็นผลดตี อ่ ชมุ ชนเป็นอย่าง

๒๐ มาก เพราะการรวมกลุ่มจะทาให้มีกาลังการผลิตท่ีต่อเนื่อง สามารถสร้างพลังในการต่อรองกับผู้บริโภคเพ่ือให้ เกดิ ความสมดุลทางตลาด อีกทงั้ ยังเปน็ การสนบั สนุนให้ชุมชน สงั คมเกิดการรวมกลุม่ กันทาวิสาหกิจชุมชนไดอ้ ีก รปู ภำพเจำ้ ของภมู ปิ ญั ญำ ผู้ใหญน่ งนชุ กบั ซุม้ บวบและกะหลา่ ปลี ปลาท่ีเลย้ี งในบอ่

๒๑ รูปภำพภมู ปิ ัญญำ สะพานทางเดนิ ชมทุ่ง กจิ กรรมเรียนรกู้ ารดานาของเด็กๆ ประติมากรรมฝาผนงั ผนงั สวยๆของเด็กๆ สไลเดอรโ์ คลน ไฮไลท์ของเดก็ ๆ ทางเดินชมทงุ่ นา ปลายทางคือรา้ นคา้ ชมุ ชน สถานท่จี ัดอบรมสาหรับหนว่ ยงานต่างๆ สะพานขา้ มบ่อปลา จุดชมววิ ในสวนทส่ี วยมากๆ จุดน่งั พกั ในซมุ้ พอเพยี ง

๒๒ ภำคผนวก ภำพกำรจดั กจิ กรรมภำยในศนู ยฯ์ และกำรจัดกจิ กรรมรว่ มกบั เครือขำ่ ย กจิ กรรมเรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ในรูปแบบต่างๆใหก้ ับกลมุ่ เป้าหมายในพื้นทตี่ าบล ทา่ ผา ในรอบ 6 เดือน ท่ีผ่านมา ของ กศน.ตาบลทา่ ผา โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการ พึ่งพาตนเอง โดยการใชท้ นุ ท่ีมีในชมุ ชน เช่น วทิ ยากร วัตถุดิบ ฯลฯ ลดการนาเขา้ ของวัตถุดิบนอกชุมชนให้มาก ทส่ี ดุ การพฒั นาศกั ยภาพของบุคคล กลุม่ อาชพี ต่างๆ

๒๓

๒๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook