Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการบังคับโทษปรับคดียาเสพติด

คู่มือการบังคับโทษปรับคดียาเสพติด

Published by chutamat.ap, 2021-09-14 06:33:24

Description: คู่มือการบังคับโทษปรับคดียาเสพติด

Search

Read the Text Version

คู่มอื การปฏบิ ตั งิ านบงั คบั โทษปรบั คดียาเสพตดิ ตำมพระรำชบัญญตั วิ ธิ ีพจิ ำรณำคดียำเสพติด พ.ศ. 2550 และกฎหมำย ระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง (แก้ไขเพ่มิ เติมครัง้ ที่ 4) จดั ทำโดย นำงจติ ประสำน พยุงสุวรรณ ผูอ้ ำนวยกำรส่วนบังคบั โทษปรับ สำนักตรวจสอบทรัพย์สินคดยี ำเสพติด สำนักงำน ป.ป.ส.

คมู่ ือ การปฏบิ ตั งิ านบงั คบั โทษปรบั คดยี าเสพตดิ ตำมพระรำชบัญญตั ิวธิ พี จิ ำรณำคดยี ำเสพตดิ พ.ศ. 2550 และกฎหมำย ระเบียบทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (แก้ไขเพิม่ เตมิ ครงั้ ท่ี 4) บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 กระบวนกำรบังคับโทษปรบั บทที่ 3 กฎหมำย ระเบียบ และคำส่ังทเ่ี กย่ี วขอ้ ง บทที่ 4 ภำคผนวก

กติ ติกรรมประกาศ คู่มือการบังคับโทษปรับคดียาเสพติด ตามพระราชบัญญัติวิธี พิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ.2550 (แก้ไขเพ่ิมเติมคร้ังท่ี 4) ผอ.สตส. พจิ ารณาให้มีการจัดทาองค์ความรู้ในเร่ืองการบังคับโทษปรับคดียาเสพติด โดยได้มอบหมายให้ นางจติ ประสาน พยงุ สวุ รรณ ผูอ้ านวยการสว่ นบังคับ โทษปรับสานักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด สานักงาน ป.ป.ส. เปน็ ผแู้ ทนของ สตส. ในการจัดทาองคค์ วามรู้ สง่ เสรมิ งานทางด้านวิชาการ เผยแพร่ความรู้ในการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสานักงาน ป.ป.ส.ได้ใชป้ ระโยชน์ ท้ังนี้ คู่มือการปฏิบัติงานบังคับโทษปรับคดียาเสพติดจะสาเร็จ ลงไม่ได้ หากไม่ได้รับความช่วยเหลือและการให้คาแนะนาในเร่ืองการ ออกแบบและจัดรปู เลม่ แบบอนิ โฟกราฟฟิค เพื่อให้รูปเล่มมีความทันสมัย และนา่ ตดิ ตาม เปน็ การเปิดโลกทศั น์ในการทาผลงานองค์ความรู้ (KM) ใหม้ ี ความหลากหลายรูปแบบมากข้ึนจากนางสาวจุฑามาศ จันทร์งาม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ นายรัฐภูสิทธิ ขันติกิจจานุรักษ์ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน และนายชานนท์ ม่ังค่ัง เจ้าหน้าท่ี วิเคราะหน์ โยบายและแผน ซ่ึงเป็นเจ้าหน้าทีจ่ ากศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สานักงาน ป.ป.ส. เพื่อให้คู่มือการบังคับโทษปรับคดียาเสพติดเล่มนี้ มีความสมบรู ณ์ยิ่งขน้ึ

คานา PREFACE “กำรบังคับโทษปรับคดียำเสพติด” ตามพระราชบัญญัติวิธี พิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550 นับแต่วันท่ีกฎหมายมีผลใช้บังคับ (วันท่ี 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2551) เป็นต้นมา ได้มีการพัฒนาความร่วมมือ และหารือร่วมกันเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติงานบังคับโทษปรับระหว่าง หน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งอยเู่ นือง ๆ โดยลา่ สดุ เม่ือวันท่ี 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ผู้บริหารของสำนักงำน ป.ป.ส. กับกรมบังคับคดี ได้ร่วม ลงนามข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในกำรบังคับโทษปรับคดียำเสพติด (MOU) ทั้งน้ี เพื่อลดขั้นตอนการปฎิบัติให้กระชับเกิดความคล่องตัว และมีแนวทำงปฏบิ ัติในทศิ ทำงเดียวกัน เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ ทำงรำชกำรและตรงตามเจตนำรมณ์ของกฎหมำย ผู้จัดทา จึงได้มีการปรับปรุง แก้ไข และเพ่ิมเติมเนื้อหาใน “คู่มือกำรบังคับโทษปรับคดียำเสพติด” ให้สอดรับกับข้อตกลง ว่าด้วยความร่วมมือในการบังคับโทษปรับคดียาเสพติด (MOU) ดังกล่าว เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ปฎบิ ตั ิงาน ผู้จัดทา 11 พฤศจิกายน 2563 แก้ไขเพ่ิมเติม ครั้งที่ 4

สารบญั CONTENTS บทนา หนา้ เร่ือง 2 ความเป็นมา 6 วัตถุประสงค์ 6 ขอบเขต 7 หน้าท่ีความรับผิดชอบ ของสานกั งาน ป.ป.ส. 10 คาจากดั ความ 12 โครงสร้างและหนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบ กระบวนการบงั คับโทษปรบั หนา้ เรอ่ื ง 20 การรบั หมาย 27 การสบื ทรัพย์ 31 การพิจารณาผลการสืบทรัพย์ 32 การตั้งเรื่องยึดอายัดทรพั ย์สิน 42 การขายทอดตลาดทรัพย์สิน 46 การตรวจสอบบัญชีแสดงรายการรับ - จา่ ยเงนิ ในคดี 48 การรายงานศาลและอยั การ 49 ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ านของสานักงาน ปปส. ภาค 1 - 9/กทม. กฎหมาย ระเบยี บ และคาส่งั ที่เกีย่ วขอ้ ง หนา้ เร่ือง 56 กฏหมายทีเ่ ก่ยี วข้อง 56 ระเบียบ คาสั่งท่ีเกีย่ วขอ้ ง 57 แนวปฏบิ ตั ิ หนงั สือตอบขอ้ หารอื ภาคผนวก หน้า เร่ือง 62 ตัวอยา่ งหนังสือและแบบฟอร์มตา่ ง ๆ

บทท่ี 1 บทนำ บทนา 1

ใน ข ณะที่ การ บั ง คั บ โ ทษป รั บ ใ น ค ดี ยาเสพติดยังไม่มีกฎหมายรองรับเป็น การเฉพาะ ทาให้การบังคับโทษปรับ มีประสิทธผิ ลน้อยมาก ประเทศไทย มีการตรา แม้ว่าคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ กฎ หม า ยเ ก่ี ยว กับ ก าร ก ระ ท า วันท่ี 8 กันยายน 2541 เก่ียวกับการ ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดท่ีมีการ บั ง คั บ โ ท ษ ป รั บ โ ด ย ใ ห้ ส า นั ก ง า น กาหนดโทษสูงสุดถึงประหารชีวิต ตารวจแห่งชาติและสานักงานอัยการ และโทษในระดับรองลงมา คือโทษ สูงสุ ดให้ ความร่ วมมื อในการท า จาคุก ริบ ทรัพ ย์สิน แล ะปรั บ ความเห็นในสานวนว่าเห็นควรให้มีการ ตามลาดับ แต่ในช่วงท่ีผ่านมาโทษ ปรับอย่างสูงตามท่ีกฎหมายกาหนดไว้ ในคว ามผิ ดตามกฎ หมายเก่ี ยวกั บ นอกเหนือจากจาคุกและให้พนักงาน ยาเสพติดท่ีศาลมีคาพิพากษา คือ อัยการบรรยายในคาฟ้องขอให้ศาล โทษจาคุกและปรับ ซึ่งโทษจาคุก พิพากษาลงโทษปรบั จาเลยในคดียาเสพ มีการบังคับโทษท่ีเห็นได้ชัดเจน ติดรายสาคัญด้วยแต่การบงั คบั โทษปรบั ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ร า ช ทั ณ ฑ์ ก็ยังไม่มีการดาเนินการท่ีชัดเจนและ พ.ศ. 2479 (ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม) เ ป็ น รู ป ธ ร ร ม ต า ม เ จ ต น า ร ม ณ์ ข อ ง จนถึงกับทาให้นักโทษในความผิด กฎหมาย เกี่ยวกับยาเสพติด มีมากที่สุดใน เรือนจา บทนา 2

เนื่ องจากอนุ สั ญญาสหประชาชาติ ประเทศไทย ในฐานะท่เี ป็นภาคี ว่าด้วยการต่อต้านการลั กลอบ ของอนุสัญญาดังกล่าว ตระหนักถึง ค้ า ย า เ ส พ ติ ด แ ล ะ วั ต ถุ ที่ อ อ ก ฤ ท ธิ์ ความสาคัญของปัญหาจึงได้บัญญัติ ต่อจิ ตและประสาท ค.ศ.1988 กฎหมายภายในรองรับในพระราชบัญญัติ กUกnกitกed Nation Convention Against ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 แก้ไข Illicit Traffic on Narcotic Drugsand เพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 5) พ.ศ.2545 มาตรา Psychotropic Substances, 1988) 100/1 วรรคหนง่ึ ว่า ซ่ึงเป็นมาตรการสากลบญั ญตั ใิ น หลกั การวา่ ความผดิ ตามพระราชบญั ญัติน้ี ทีม่ ีโทษจาคกุ และปรบั “การลกั ลอบค้ายาเสพตดิ ให้ศาลลงโทษจาคกุ สรา้ งผลกาไรและความรา่ รวยมหาศาล และปรับด้วยเสมอ โดยคานงึ ถงึ ซ่งึ ทาใหอ้ งคก์ ารอาชญากรรมขา้ มชาติ การลงโทษในทางทรัพยส์ ิน สามารถแทรกซึม สร้างความเสือ่ มเสีย เพ่อื ปอ้ งปรามการกระทาความผิด และบัน่ ทอนโครงสรา้ งของรฐั บาล เกีย่ วกบั ยาเสพติดใหโ้ ทษ ธุรกจิ การค้าและการเงิน อนั ชอบดว้ ยกฎหมาย บทนา 3 รวมท้ังสงั คมในทุกระดบั ชั้น จงึ มุ่งมน่ั ทจ่ี ะตัดผลตอบแทนอันเกิด จากอาชญากรรมของผ้ดู าเนนิ การ ลกั ลอบคา้ ยาเสพติด เพ่อื ขจัดแรงจงู ใจสาคัญ ”ของการกระทาเชน่ ว่านัน้

ซึง่ ความผิดเก่ยี วกบั การจาหน่ายและครอบครองเพื่อจาหน่าย ฐานผลิต นาเข้า ส่งออก นอกจากนั้น เพ่ือให้เป็นไปตามหลักการดังกล่าว จึงได้มีการ ปรับปรุงแก้ไขอัตราโทษโดยการเพ่ิมโทษปรับในความผิดเก่ียวกับยาเสพติด ให้โทษสูงสุดถึง 5,000,000 บาท จงึ ได้มีการ ปรบั ปรงุ มาตรการทางกฎหมาย โดยการตราไว้ในพระราชบญั ญตั วิ ธิ พี ิจารณาคดยี าเสพติด พ.ศ.2550 ในหมวด 5 วา่ ด้วยการบงั คบั โทษปรบั มาตรา 21 ว่า ในกรณีท่ีศำลมีคำพิพำกษำให้ลงโทษ ปรับ ให้พนักงำนอัยกำรร้องขอให้ศำลออกหมำย บังคับคดี เพ่ือแต่งตั้งเจ้ำพนักงำนบังคับคดีของ กรมบังคับคดีดำเนินกำรยึดหรืออำยัดทรัพย์สินของ ผ้ตู อ้ งโทษแทนคำ่ ปรับได้ กำรบังคับคดีตำมวรรคหน่ึง ให้นำประมวล กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่งมำใช้บังคับโดย อนุโลม โดยให้สำนักงำนคณะกรรมกำรป้องกันและ ปรำบปรำมยำเสพติดมีอำนำจตรวจสอบทรัพย์สิน และใหถ้ ือวำ่ เป็นเจ้ำหน้ีตำมคำพพิ ำกษำ บทบัญญัติมำตรำน้ี ไม่กระทบต่อกำรท่ีศำล มีคำสั่งขังผู้ต้องโทษแทนค่ำปรับตำมประมวล กฎหมำยอำญำ บทนา 4

อย่ำงไรกต็ ำมเน่ืองจากการดาเนินงานบังคับโทษปรับในคดียาเสพติด เป็นเร่ืองใหม่ที่มีกระบวนการดาเนินงานหลายข้ันตอนมีความยุ่งยากซับซ้อน และยังไม่เคยมีการจัดทาแนวทางในการปฎิบัติงาน ในเรื่องนี้เป็นการเฉพาะ มาก่อน ประกอบกับในการปฎิบัติงานจะต้องเก่ียวข้องกับหลายฝ่าย อาทิ ศาล อยั การ เจา้ พนักงานบังคบั คดี และเจา้ หน้าท่ีของหนว่ ยงานอื่นทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เช่น สถาบันการเงิน กรมที่ดิน ฯลฯ การจะทาให้การดาเนินงาน เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ สมควรมีการประมวลองค์ความรู้เกี่ยวกับการดาเนินงาน บังคับโทษปรับคดียาเสพติด เป็นคู่มือปฏิบัติงานเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน บงั คับโทษปรับใหม้ ีความชัดเจนและสามารถนาไปสู่การปฎบิ ัติงานได้อย่างเปน็ รปู ธรรม บทนา 5

2.1 เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติงานสาหรับเจ้าหน้าท่ีสานักงาน ป.ป.ส. ในการ ดาเนนิ การบังคบั โทษปรบั เป็นมาตรฐานเดยี วกัน 2.2 เพือ่ เผยแพร่องค์ความรู้เก่ียวกับการดาเนินงานบังคับโทษปรับคดียาเสพติด แก่เจา้ หน้าทที่ ่เี กี่ยวข้อง ทั้งในส่วนกลางและสว่ นภมู ภิ าค 2.3 เพ่ือให้การดาเนินงานบังคับโทษปรับเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธผิ ลตามเจตนารมณข์ องกฎหมาย คู่มือการบังคับโทษปรับตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550 ที่จัดทาขึ้นน้ี เป็นการจัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางการปฎิบัติงาน แก่เจา้ หนา้ ที่ ป.ป.ส. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ในการบังคับโทษปรับในคดียาเสพติด ให้เป็นไปตามคาพิพากษาและหมายบังคับคดีของศาล เริ่มตั้งแต่สานักงาน ป.ป.ส. รับหมายบังคับคดีจากศาล โดยมีข้ันตอน กระบวนการ และรายละเอียด การปฏบิ ตั งิ าน ตั้งแต่ 1 การรบั หมายบังคบั คดี 5 การดแู ลการขายทอดตลาดทรัพย์ 2 การสืบทรพั ย์ 6 การตรวจสอบ/รบั รองบัญชรี บั จ่าย 3 การพจิ ารณาผลการสืบทรัพย์ 7 การรายงานศาล ซึ่งจะมีหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องกับ 4 การตั้งเร่ืองและนาเจ้าพนักงาน บงั คบั คดีไปยดึ ทรัพย์ การบังคับโทษปรับน้ีด้วย อาทิ สานักงาน อยั การสูงสุด กรมบังคับคดี ศาล พนักงาน สอบสวน เป็นตน้ บทนา 6

ตำมมำตรำ 21 แหง่ พระรำชบัญญตั วิ ิธพี ิจำรณำ คดยี ำเสพติด พ.ศ.2550 บญั ญัติวำ่ ในกรณีทศ่ี าลมีคาพพิ ากษาให้ลงโทษปรับให้พนกั งานอัยการขอใหศ้ าลออก หมายบังคบั คดเี พื่อแตง่ ตัง้ เจา้ พนักงานบังคับคดีของกรมบังคับคดีดาเนินการ ยึดหรอื อายัดทรัพย์สินของผู้ตอ้ งโทษแทนคา่ ปรับได้ การบงั คับคดีตามวรรคหน่ึงให้นาประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพ่งมา ใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลมโดยใหส้ านกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปราม ยาเสพติดมีอานาจตรวจสอบทรพั ย์สนิ และใหถ้ ือวา่ เปน็ เจ้าหนี้ตามคาพิพากษา บทบญั ญัตมิ าตราน้ีไมก่ ระทบต่อการทศ่ี าลจะมีคาส่ังขังผ้ตู ้องโทษแทนคา่ ปรับ ตามประมวลกฎหมายอาญา จงึ ไดม้ ีการกาหนดกรอบทิศทางในการดาเนนิ งานบังคับโทษปรบั ที่ชัดเจน นาไปสู่การบงั คับโทษปรับอยา่ งมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย บทนา 7

สานักงาน ป.ป.ส. ในฐานะเจ้าหนี้ ตามคาพิพากษามีอานาจและหน้าท่ี ตามที่บัญญัติไว้ใน ป.วิ.พ. ภาคบังคับคดี (ต้ังแต่มาตรา 271 - 367) มีอานาจ หนา้ ท่ดี งั ตอ่ ไปนี้ 1 ดาเนนิ การตามหมายบังคบั คดี 2 พิสูจนท์ ราบและสืบทรพั ย์ ของจาเลย 3 เตรียมเอกสารที่จาเป็นในการ 6 เตรียมยานพาหนะไปรับ - ส่ง ตัง้ เรื่องยึดหรืออายดั ทรัพยส์ ิน เจ้าพนักงานบังคับคดีและเพื่อ ขนยา้ ยทรพั ย์สิน 4 ยื่ น ค า ร้ อ ง ข อ ใ ห้ ศ า ล อ อ ก หมายเรียกจาเลยหรือบุคคล 7 ตรวจสอบราคาประเมินของ ใกล้ชิดท่ีเช่ือว่าอยู่ในฐานะท่ี เจ้าพนักงานบังคับคดีว่าประเมิน จะให้ถ้อยคาอันเป็นประโยชน์ ราคาทรัพยไ์ ด้ใกล้เคียงกับความ มาไต่สวนหาทรัพย์สินท่ีจะต้อง เปน็ จรงิ หรือไม่ บังคับคดี (ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 277) 8 หากเห็นว่าเจ้าพนักงานบังคับ คดีไม่ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน 5 ยื่นคาร้องต่อเจ้าพนักงาน ใ ห้ ภ า ย ใ น ร ะ ย ะ เ ว ล า อั น ค ว ร บังคับคดี ขอให้ยึดหรืออายัด เจ้าหน้ีตามคาพิพากษาอาจยื่น ทรพั ย์ตามที่ระบุไว้ คาร้องขอต่อศาลให้มีคาส่ังให้ เจา้ พนักงานบังคับคดดี าเนินการ บทนา 8

9 ต้องนายึดหรืออายัดทรัพย์สินของจาเลยไม่เกินหน้ี (ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 300) 10 มอี านาจย่ืนคาร้องขอเฉล่ียทรัพย์ เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดียึดหรืออายัด ทรัพยไ์ ว้ในคดอี ่ืนแลว้ (ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา 326, 329) 11 ขอให้เจ้าพนกั งานบังคับคดีงดการบงั คับคดี ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 322 12 ขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีถอนการบังคับคดี ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 327 13 มีอานาจร้องขอให้ศาลมีคาส่ังเพิกถอนหรือแก้ไขหมายบังคับคดี หรือคาสั่ง ของศาลในช้นั บงั คบั คดี หรือเจา้ พนักงานบังคับคดีดาเนินการบังคับคดีฝ่าฝืน ตอ่ กฎหมาย (ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา 29, 295) 14 มีอานาจขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์รวมกันหรือแยก ขาย รวมทง้ั มีอานาจรอ้ งคดั คา้ นการขายทอดตลาดทรัพย์ตอ่ ศาล (ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 331 - 335) 15 ในการขายทอดตลาดทรัพย์หากเห็นวา่ ราคาท่ีเสนอยงั ต่าอยู่ มสี ทิ ธิ คัดคา้ นได้ (ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา 331) 16 เจา้ หนต้ี ามคาพพิ ากษา มหี น้าทตี่ อ้ งไปดูแลการขายทอดตลาดทรัพย์ หากไมไ่ ป จะไมม่ ีสิทธิคัดค้านราคาขายของเจ้าพนักงานบังคบั คดี (ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา 331) บทนา 9

5.1 หมายถึง หมายที่ออกโดยศาล เพ่ือให้มีการบังคับคดีตามคาพิพากษา หรือคาส่ังของศาล 5.2 หมายถึง การสืบเสาะแสวงหาข้อเท็จจริง และการรวบรวมพยานหลักฐาน เกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้ต้องโทษปรับ เช่น บัญชีเงินฝากธนาคาร โฉนดท่ีดิน เอกสารหรือตราสารท่ีแสดงกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ทรัพยส์ นิ ฯลฯ เพอื่ นามาใชป้ ระโยชน์ในการดาเนนิ การบังคับคดี 5.3 หมายถึง บุคคลซึ่งมีมูลหน้ีเหนือบุคคลอีกคนหน่ึงซ่ึงถูก เรียกว่า “ลูกหน้ี” และได้ใช้สิทธิฟ้องคดีต่อศาลเพื่อขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือ คาสั่งให้ลูกหนี้ปฏิบัติตามคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาล เพ่ือให้เจ้าหน้ี ได้รับชาระหนี้นนั้ 5.4 หมายถึง การนาเอกสารหลักฐานท่ีเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้ต้องโทษปรับ ในคดียาเสพติดที่ได้มาจากการสืบทรัพย์ไปยื่นต่อเจ้าพนักงานบังคับคดี เพอ่ื ดาเนนิ การบังคับคดีตามกฎหมายตอ่ ไป บทนา 10

5.5 หมายถึง คาแถลงด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ ซ่ึงคู่ความฝ่ายหนึ่งกระทา หรือย่ืนต่อศาล ด้วยมุ่งหมายท่ีจะเสนอความเห็นต่อศาลในข้อความใน ประเด็นท่ีได้ยกข้ึนอ้างในคู่ความหรือในปัญหาข้อใดท่ีศาลพึงจะมีคาสั่ง หรือคาพิพากษา ซ่ึงในข้อเหล่าน้ีคู่ความฝ่ายน้ันเพียงแต่แสดง หรือ กล่าวทบทวนหรือยืนยันหรืออธิบายข้อความแห่งคาพยานหลักฐาน และปัญหาขอ้ กฎหมายและข้อเท็จจริงทั้งปวง คาแถลงการณ์อาจรสมอ ยใู่ นคาคูค่ วาม 5.6 หมายถึง หนังสือท่ีออกโดยผู้มีอานาจหรือผู้ท่ีประสงค์จะใช้อานาจ ของตนในการมอบหมายหรือสั่งการให้บุคคลที่ได้รับมอบหมายหรือ ได้รับคาสั่งกระทาการอย่างใดๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ ผมู้ อบหมายนน้ั 5.7 หมายถึง เจา้ พนักงานในสังกดั กรมบงั คบั คดี หรอื พ นั ก ง า น อื่ น ผู้ มี อานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ใช้อยู่ในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการ ที่บัญญัติไว้ในภาคบังคับคดี แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ แพ่ง เพื่อคุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างการพิจารณา หรือเพ่ือ บังคับตามคาพิพากษาหรือคาส่ังศาล และให้หมายความรวมถึงบุคคล ท่ไี ด้รับมอบหมายจากเจา้ พนกั งานบังคับคดปี ฏิบตั กิ ารแทน บทนา 11

6.1 สานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ ในฐานะเป็นเจ้าหนต้ี ามคาพพิ ากษา ตามมาตรา 21 แห่งพระราชบญั ญัติ “วิธพี จิ ารณาคดยี าเสพติด พ.ศ.2550 เลขำธิกำร ป.ป.ส. ซง่ึ เป็นผมู้ อบหมำยให้ ผูอ้ ำนวยกำรสำนักตรวจสอบทรัพยส์ นิ คดยี ำเสพตดิ หรอื ผู้อำนวยกำรสำนกั งำน ปปส.ภำค 1 - 9/กทม. ”ดำเนินกำรยดึ /อำยัดทรพั ยส์ ินของจำเลยในคดียำเสพติดแทน ตามคาสั่งสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด ที่ 343/2562 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2562 6.2 ส่วนบังคับโทษปรับ (บป.) อยู่ภายใต้การกากับดูแลของ ผู้อานวยการสานักตรวจสอบทรพั ยส์ ินคดยี าเสพติด (สตส.) ประกอบด้วย 2 กลุ่มงาน ดงั นี้ 1. กลมุ่ อานวยการและประสานการตรวจสอบ (ตส.) 2. กลมุ่ งานบงั คบั โทษปรับ (บป.) บทนา 12

มีหนำ้ ที่  ตรวจสอบหมำยบังคับคดี ▪ รายงานผลการบงั คับโทษปรบั  ตรวจสอบขอ้ มลู ▪ ทะเบยี นราษฎร์ ทร.14 ให้อัยการทราบ ศาลทราบ ▪ สถาบันการเงนิ หรอื โดยการแสดงบญั ชรี ับจา่ ยของ ธนาคาร เจา้ พนักงานบังคบั คดี ▪ บันทกึ จบั กมุ NCR, 6-14  งำนงบประมำณ ▪ ตรวจสอบสถานะของจาเลย  งำนบริหำรจดั กำรทว่ั ไป จากกรมราชทณั ฑ์  งำนสถิตบิ ังคับโทษปรบั ▪ ตรวจสอบสถานะบคุ คล ลม้ ละลาย ▪ ตรวจสอบทะเบียนขนส่ง ▪ ตรวจสอบกรรมสทิ ธิท์ ดี่ ิน คอนโดมิเนียม หรอื หอ้ งชดุ พ้ืนท่ีรบั ผิดชอบของ ตส. ▪ ต้งั เรือ่ งยึดหรอื อายดั • ศาลอาญาธนบรุ ี ทรัพย์สินโดยนาเจ้าพนกั งาน • ศาลอาญากรงุ เทพใต้ บงั คบั คดีดาเนินการยดึ หรือ • ศาลจังหวัดตลงิ่ ชนั อายัดทรพั ยส์ ิน ▪ ดแู ลการขายทอดตลาด ทรัพยส์ ิน ▪ ตรวจสอบรายการบัญชีรบั จ่ายเงินท่ีเจ้าพนักงานบงั คบั คดีสง่ มาให้ตรวจสอบ บทนา 13

มหี น้ำที่  ตรวจสอบหมำยบงั คบั คดี  ตรวจสอบข้อมลู ▪ ทะเบียนราษฎร์ ทร.14 ▪ สถาบนั การเงิน หรอื ธนาคาร ▪ บนั ทึกจบั กุม NCR, 6-14 ▪ ตรวจสอบสถานะของจาเลย จากกรมราชทัณฑ์ ▪ ตรวจสอบสถานะบุคคล ลม้ ละลาย ▪ ตรวจสอบทะเบยี นขนสง่ ▪ ตรวจสอบกรรมสิทธทิ์ ี่ดนิ คอนโดมเิ นยี ม หรือ หอ้ งชดุ ▪ ต้งั เรื่องยึดหรืออายัดทรพั ย์สนิ โดยนาเจา้ พนักงานบงั คบั คดี ดาเนนิ การยึดหรืออายัด ทรัพย์สิน ▪ ดูแลการขายทอดตลาด พืน้ ทร่ี ับผดิ ชอบของ บป. ทรัพยส์ ิน • ศาลอาญาภาค 1, 2, 3, 9, 10 ▪ ตรวจสอบรายการบญั ชรี ับ • ศาลอาญาแผนกคดอี าญา จ่ายเงินทีเ่ จา้ พนกั งานบังคบั คดี ทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ สง่ มาใหต้ รวจสอบ บทนา 14

บทสรปุ .... บทนา 15

บทสรปุ .... บทนา 16

บทท่ี 2 กระบวนกำร บงั คบั โทษปรบั กระบวนการบงั คับโทษปรบั 17

1 พ.ร.บ.วธิ ีพิจำรณำคดียำเสพตดิ พ.ศ. 2550 (มาตรา 21) 2 ประมวลกฎหมำยอำญำ (มาตรา 28 29 29/1 30 และ 99) 3 ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง (มาตรา 271 – 367) 4 คำส่ังกระทรวงยตุ ิธรรมท่ี 227/2551 ลงวนั ที่ 23 ก.ค. 2551 (เร่อื ง การปฏิบัตใิ นการบังคับโทษปรบั คดยี าเสพตดิ ตาม พ.ร.บ. วิธพี ิจารณาคดียาเสพตดิ 2550) 5 คำส่ัง สำนกั งำน ป.ป.ส. ที่ 44/2552 ลงวันท่ี 13 ก.พ. 2552 (เรอื่ ง การจดั ตั้งกล่มุ บงั คับโทษปรับ) กระบวนการบังคบั โทษปรบั 18

ขน้ั ตอนท่ี 1 1 การรับหมาย 2 ข้ันตอนที่ 2 การสืบทรพั ย์ (ไม่พบ กาขรั้นพตจิ อารนณทาี่ 3ผล ทรพั ยส์ ิน) การสบื ทรพั ย์ 3 (พบทรัพยส์ นิ ) ขัน้ ตอนท่ี 4 4 การตงั้ เรอ่ื งยึดอายดั ข้ันตอนท่ี 5 ทรพั ยส์ นิ การขายทอด ตลาดทรพั ย์ 5 6 การขต้ันรวตจอสนอทบี่ แ6ละการ รับรองบญั ชีรบั จา่ ย กาขร้ันราตยองนาทน่ีศ7าล 7 และอยั การ กระบวนการบงั คับโทษปรบั 19

ขั้นตอนที่ 1 การรับหมายบังคับคดี เป็นข้ันตอนแรกของการบังคับโทษปรับ มีข้ันตอนดาเนินการ 3 ข้ันตอน คือ การตรวจสอบข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล ในระบบ และให้เจา้ หนา้ ที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายภารกิจดาเนนิ การต่อไป 1 ตรวจสอบข้อมูล เป็นการดาเนนิ การหลังจากไดร้ บั หมาย บังคับคดีจากอัยการแล้ว 2 จัดเก็บข้อมูลในระบบ เมือ่ ได้รับข้อมลู จากผลการตรวจสอบ ในเบ้ืองต้นแล้ว ให้นาขอ้ มลู มาลงใน ระบบขอ้ มูลบังคบั โทษปรบั 3 กำรส่งขอ้ มูลให้เจ้ำหน้ำที่ การส่งข้อมูลให้เจา้ หนา้ ท่ใี นพืน้ ท่ี ดาเนินการต่อไป กระบวนการบงั คับโทษปรับ 20

ขัน้ ตอนท่ี 1 1 ตรวจสอบข้อมูล เป็นการดาเนินการหลังจากได้รับหมายบังคับคดีจากศาลแล้ว มีการ ดาเนนิ การดงั น้ี 1.1 ตรวจสอบควำมซ้ำซอ้ น 1.4 ตรวจสอบว่ำศำลออกหมำย เกย่ี วกบั บคุ คลกับข้อมูลคดี บงั คับคดแี ล้วหรือยัง โดยการเข้าเว็ปไซด์ของกรม ในระบบข้อมูลตรวจสอบ บังคับคดี (http//www.legal.go.th) ทรัพย์สนิ (ASS) หาเลขเก็บสานวนคดีจากช่ือศาล 1.2 ตรวจสอบควำมถูกต้องกับ และหมายเลขคดีดา/หมายเลขคดี ข้อมูลทะเบียนประวัติคดี แดง เน่อื งจากศาลในส่วนกลางจะ ยำเสพตดิ ของผตู้ ้องโทษปรับ จัดส่งหมายบังคับคดีไปยังกรม บังคับคดีโดยตรง ยกเว้น ศาล ในระบบทะเบียนคดี อาญาที่จัดส่งมาให้ สานักงาน ยาเสพติด (NCR) ป.ป.ส. โดยตรง 1.3 ค้นหำเลขประจำตัว ประชำชน, ชื่อ-นำมสกลุ เพอื่ ให้ถูกต้องกบั ข้อมูล ทะเบยี นราษฎร์ (ทร 14) กระบวนการบังคับโทษปรบั 21

ขั้นตอนท่ี 1 1.5 กรณยี ังไม่มหี มำยบังคบั คดี กรณียงั ไม่มีหมายบงั คบั คดจี ะตอ้ งมีหนังสือแจ้งให้พนักงานอัยการเจ้าของ สานวนคดีย่นื คำร้องขอตอ่ ศำลออกหมำยบังคบั คดีต่อไปจะต้องลงนัดติดตำม ผลคดีจากพนกั งานอยั การทกุ 15 วนั ทำกำร 1.6 ตรวจสอบควำมถูกตอ้ งของหมำยบังคับคดี เม่อื ไดร้ ับหมายบงั คบั คดีจากอัยการแลว้ ใหต้ รวจสอบว่า 1. ศาลใดเปน็ ผอู้ อกหมายบังคับคดี 4. เลขที่คดดี า 2. ผมู้ อี านาจนาเจ้าพนักงานบังคบั คดี 5. เลขคดแี ดง ไปยดึ อายดั ทรพั ย์ คอื “สานักงาน 6. ผมู้ ีอานาจยดึ อายดั ทรพั ย์ ป.ป.ส. ในฐานะเจา้ หนต้ี ามคา 7. ผนู้ าเจา้ พนกั งานบงั คบั คดี พิพากษา” ไปยึดทรพั ย์ 3. ชือ่ ตัว - ช่อื สกุลของจาเลย หมายเหตุ : หากข้อมลู ดังกลา่ วไมถ่ ูกต้องจะได้ดาเนินการประสานศาลเพื่อแก้ไข กระบวนการบังคบั โทษปรบั 22

ขน้ั ตอนท่ี 1 1.7 ในกรณีที่มีจำเลยหลำยคน และ หมำยบังคับคดีไม่ระบุช่ือตัว-ชื่อ สกลุ ของจำเลยใหค้ รบถว้ น หากเปน็ การยากที่จะแยก ว่าจาเลยแต่ละคน ต้องโทษปรับ เป็นจานวนเท่าใด จะต้องมีหนังสือ ขอสาเนาคาพิพากษาของศาล มาแนบกบั หมายบังคับคดที ุกครงั้ 1.8 ตรวจสอบสถำนะตัวบุคคลของจำเลยใหแ้ นช่ ดั กรณีตรวจสอบจากเอกสารแล้ว ไม่สามารถ ระบสุ ถานะของจาเลยได้แนช่ ัด ให้ประสานไปยังเจ้าหน้าที่ห้องเก็บ สานวนคดีแดงของศาล หรือประสานไปยัง เจ้าหน้าท่ีราชทัณฑ์ เพ่ือขอทราบข้อมูล เพิม่ เตมิ ดงั น้ี 1 กรณีจาเลยเป็นบคุ คลต่างดา้ ว ไม่ปรากฎสัญชาติ 2 ตรวจสอบสถานะบุคคลของจาเลย จากระบบขอ้ มลู บคุ คลล้มละลาย 3 ตรวจสอบว่าจาเลยเคยต้องโทษ ปรบั ในคดยี าเสพติดมาก่อนหรอื ไม่ ? กระบวนการบังคบั โทษปรบั 23

ข้นั ตอนที่ 1 1 เชน่ ชาวลาว พม่า กะเหรย่ี ง หรอื ชาวไนจเี รยี เป็นตน้ 1 ใหต้ รวจสอบสถานะของบคุ คล จากเอกสารในเบอ้ื งตน้ อาทิ หลกั ฐานจากหนังสอื เดนิ ทาง เปน็ ต้น หำกไม่พบหลักฐำน 2 กำรยืนยันสถำนะตวั บคุ คล เนอื่ งจาก จาเลยไมม่ ภี มู ลิ าเนาเป็นหลักแหลง่ และไมม่ ที รพั ย์สนิ ที่จะดาเนนิ การ บงั คบั โทษปรบั ได้ ให้รายงานผูบ้ งั คับบญั ชาตามลาดบั ช้นั ทราบ 3 เพ่ือมีคาสั่งใหย้ ตุ กิ ารตรวจสอบทรัพยส์ นิ ของจาเลยและรายงานผลการตรวจสอบคดี ดังกลา่ วให้ศาลทราบ เพ่ือพิจารณาดาเนินการตามกฎหมายต่อไป กระบวนการบงั คบั โทษปรบั 24

ขัน้ ตอนที่ 1 2 www.led.go.th ตรวจสอบสถานะบุคคลของ จาเลยจากระบบข้อมูลบุคคลล้มละลาย ของกรมบังคับคดี โดยเข้าไปสืบค้น ในเว็ปไซด์ www.led.go.th หากพบว่า จำเลยตกเป็นบคุ คลล้มละลำย 3 ใ ห้ ต ร ว จ ส อ บ ว่ า จ า เ ล ย เ ค ย ต้องโทษปรับในคดียาเสพติดมาก่อน หรือไม่ หากเคยต้องโทษปรับในคดีก่อน และมีทรัพย์สินเหลือคืนแก่จาเลย ให้ เจ้าหน้าที่ผู้ท่ีได้รับมอบหมายดาเนินการ ยึดอายดั ทรพั ย์ของจาเลยต่อไป กระบวนการบงั คับโทษปรับ 25

ข้นั ตอนท่ี 1 2 จดั เก็บขอ้ มูลในระบบ ระบบข้อมลู บงั คับโทษปรบั เมือ่ ได้รบั ผลการตรวจสอบในเบ้อื งตน้ แล้ว ให้นามาลงระบบข้อมูลบังคับโทษปรับ ในระบบ ASS และนาหมายเลขบัตรประจาตัว ประชาชน/ที่อยู่ไปบันทึกในระบบข้อมูลคดี บังคับโทษปรับและนาข้อมูลส่งไปตรวจสอบ บัญชเี งนิ ฝากท่สี ถาบนั การเงินทุกแห่ง 3 กำรสง่ ข้อมูลใหเ้ จำ้ หน้ำที่ เม่ือบันทึกข้อมูลบังคับโทษ ปรั บในระบบจั ดเก็ บข้ อมู ลแล้ ว ให้ เจ้ าห น้ า ท่ี ผู้ ไ ด้ รั บม อบ หม า ย ที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบในพ้ืนท่ีต่าง ๆ ดาเนนิ การต่อไป กระบวนการบงั คบั โทษปรับ 26

ขั้นตอนท่ี 2 ก า ร สื บ ท รั พ ย์ เ ป็ น ก า ร แ ส ว ง ห า ข้ อ มู ล เ ก่ี ย ว กั บ ท รั พ ย์ สิ น ข อ ง ผู้ต้องโทษปรับจากหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น สถาบัน การเงิน กรมท่ีดิน กรมการขนส่งทางบก กระทรวงพาณิชย์ พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ จับกุม หรือพนักงานสอบสวน สานักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด และอื่น ๆ โดยสรปุ มกี ารดาเนนิ การสาคญั 3 ขน้ั ตอน ดงั นี้ 1 ตรวจสอบทรพั ย์สนิ โดยการมีหนังสือสอบถามไปยังหน่วยงาน ต่าง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง แล้วจดั ส่งข้อมูลให้ สตส. (บป.) 2 ประสำนขอทรำบขอ้ มูลเพิ่มเตมิ โดยการมีหนังสือสอบถามไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง แลว้ จดั สง่ ขอ้ มลู ให้ สตส. (บป.) 3 จัดทำรำยงำนผลกำรตรวจสอบ เป็นการสรุปข้อมูลท่ีได้จากการ ตรวจสอบทรพั ย์สินของจาเลยในเบื้องต้น กระบวนการบงั คับโทษปรบั 27

ขั้นตอนท่ี 2 1 ตรวจสอบทรพั ย์สนิ เริ่มจากเจ้าห น้าที่ผู้ท่ีได้รับมอบหมาย ตรวจสอบข้อมูลทรัพย์สินของผู้ต้องโทษปรับ โดยการมีหนังสือสอบถามไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น สถาบันการเงิน กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กระทรวงพาณิชย์ พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้จับกุม หรือพนักงาน สอบสวน สานกั ตรวจสอบทรพั ยส์ นิ คดยี าเสพตดิ และอนื่ ๆ เมือ่ หน่วยงานต่างๆ ตรวจสอบแล้วพบ หรือไม่พบทรัพย์สินของจาเลย แลว้ จัดสง่ ข้อมลู หรือพยานหลักฐานเบอื้ งตน้ มาให้ สตส. (บป.) ทราบ ได้แก่ ที่ดิน, ท่ีดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างรถยนต์, หุ้น, เคร่ืองจักรบางประเภท, ลิขสิทธ์ิ, สัตว์พาหนะบาง ประเภท เช่น ช้าง วัว ควาย ม้า สิทธิในทางแพ่ง ซ่ึง สามารถคานวณเปน็ จานวนเงินได้ เช่น การเป็นเจ้าหน้ี โดยให้บุคคลอื่นกู้ยืมเงิน, เงินสด, ทองรูปพรรณ, อัญมณี ฯลฯ เจ้ำหน้ำท่ีผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมำยจะพจิ ำรณำในขน้ั ตอนตอ่ ไป กระบวนการบงั คับโทษปรบั 28

ขน้ั ตอนที่ 2 2 ประสำนขอทรำบข้อมลู เพ่มิ เตมิ 2.1 ในกรณีตรวจสอบพบท่ีดิน หรือท่ีดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง หรือ อาคารชดุ ซึ่งมีชือ่ จาเลยเปน็ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ ประสานขอความร่วมมอื จากท่ดี นิ เขตฯ เจ้าหน้าท่ีผู้ได้รับมอบหมาย จะต้องประสานขอความร่วมมือจากท่ีดิน เขตฯ ดังกล่าว เพ่ือให้จัดเจ้าหน้าท่ีท่ีดินไปช้ีตาแหน่งท่ีต้ังที่ดินน้ัน และถ่ายภาพ ส่ิงปลูกสร้าง (หากมี) และมีหนังสือขอเอกสารเก่ียวกับการแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน ฯลฯ อาทิ สาเนาโฉนดที่ดิน สาเนากรรมสิทธ์ิห้องชุด สาเนาสัญญาซ้ือขาย สาเนาสญั ญาจานอง (เพิม่ เตมิ ) เพ่อื ใช้ประกอบการตง้ั เรื่องยึดทรัพย์ต่อไป กระบวนการบงั คับโทษปรบั 29

ข้ันตอนท่ี 2 2.2 กรณียานพาหนะ ใ น ก ร ณี ย า น พ า ห น ะ ป ร ะ ส า น กั บ ก ร ม การขนส่งทางบก หรือสานักงานขนส่งจังหวัด เพ่ื อข อทร า บข้ อ มูล ห รือ เ อก ส าร ต่ าง ๆ (เพิ่มเติม) เพ่ือใช้ประกอบการต้ังเร่ืองยึดทรัพย์ ตอ่ ไป 2.3 กรณธี นาคาร หรอื สถาบนั การเงนิ ในกรณีธนาคาร หรือสถาบันการเงิน เพ่ือตรวจสอบบัญชีเงินฝากธนาคาร ซ่ึง คาดว่าจาเลยได้ทาธุรกรรมกับธนาคาร หรอื สถาบันการเงินใดบา้ ง 3 จัดทำรำยงำนผลกำรตรวจสอบ เป็นการสรุปข้อมูลท่ีได้ จากการตรวจสอบทรัพย์สินของ จาเลยในเบ้ืองต้น เพ่ือจัดส่งให้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ป ป ส . ที่ ไ ด้ รั บ มอบหม ายใช้ ประก อบกา ร พิจารณายดึ ทรัพยต์ อ่ ไป กระบวนการบังคับโทษปรับ 30

ขัน้ ตอนท่ี 3 การพจิ ารณาผลการสบื ทรัพย์ เปน็ ขั้นตอนทต่ี ่อเนือ่ งจากการสืบทรัพยเ์ ม่ือสืบทรัพยแ์ ล้วปรากฎผล ดังน้ี  พบทรพั ย์ ไมพ่ บทรพั ย์ กรณีพบทรพั ย์ เมื่อได้ตรวจสอบข้อมูลคดีเบ้ืองต้น พบทรัพย์สิน ของจาเลย ให้เตรียมข้อมูลเก่ียวกับทรัพย์สินดังกล่าว เพ่อื ไปดาเนินการต้งั เร่อื งยดึ อายัดทรัพย์ท่ีกรมบังคับคดี หรือ สานักงานบังคับคดีจังหวัดต่อไป (ดูกระบวนกำร ต้ังเรือ่ งยึดอำยัดทรพั ยส์ นิ ) กรณีไม่พบทรัพย์ ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีผไู้ ด้รบั มอบหมายรายงานให้ผู้บังคับบัญชา ทราบ เพอื่ มหี นงั สือแจ้งให้ศาลทราบต่อไป กระบวนการบงั คับโทษปรับ 31

ขน้ั ตอนท่ี 4 กระบวนกำรตง้ั เรอ่ื ง และนำเจ้ำพนกั งำนบงั คับคดไี ปยดึ ทรพั ย์ ถือเป็นข้นั ตอนที่มคี วำมสำคญั มำก จะต้องจัดเตรยี มเอกสำรเก่ยี วกับ ทรพั ย์สนิ ประเภทต่ำง ๆ ดังน้ี กำรเตรียมเอกสำร เตรยี มเอกสารต้งั เรอื่ ง เตรียมเอกสารและจัดส่งเอกสาร ตามประเภททรพั ย์ โดยนัดหมาย ต้ังเรือ่ งอายดั ไปยัง เจ้าพนักงานบังคบั คดี ก่อนลว่ งหน้า 3 วนั ทาการ นาทรพั ยส์ ินไปสง่ มอบและ เจา้ พนักงานบังคบั คดีรบั เอกสาร เกบ็ รกั ษาท่สี ถานเก็บรกั ษาทรพั ย์ และดาเนนิ การอายดั ทรัพยส์ ิน เจา้ พนักงานบังคบั คดีแจ้งผลการ กรมบงั คบั คดี อายดั ให้สานักงาน ป.ป.ส. ทราบ เจ้าพนักงานบงั คบั คดี ดาเนินการต้ังเรอื่ งยึดทรพั ยส์ นิ ทางโทรสาร จัดทำรำยงำนเสนอ กระบวนการบงั คบั โทษปรบั 32

ขนั้ ตอนที่ 4 4.1 กำรเตรียมเอกสำร เตรียมเอกสารตง้ั เร่ืองตามประเภททรพั ยโ์ ดยนดั หมาย กอ่ นล่วงหนา้ 3 วนั ทาการมดี ังน้ี  หมายบงั คับคดีของศาล  คาส่ัง สานักงาน ป.ป.ส.ที่  หนงั สอื มอบอานาจยึดทรัพย์ 343/2562 ลงวนั ที่ 8 กรกฎาคม 2562 เรื่อง มอบอานาจให้ ใหร้ ะมัดระวังเกี่ยวกบั ข้าราชการปฏิบัติราชการแทน • การลงลายมือชื่อและสาเนา เลขาธิการ ป.ป.ส.ในฐานะ เจ้าหนี้ตามคาพิพากษา บัตรประจาตัวของผู้มอบ อานาจและผูร้ ับมอบอานาจ  คาแถลงขอยึดหรืออายัด • ส า เ น า บั ต ร ป ร ะ จ า ตั ว ขา้ ราชการผูม้ อบอานาจและ ทรัพย์ (แลว้ แต่กรณ)ี ผรู้ ับมอบอานาจ • รวมถึงการมอบอานาจช่วง  สาเนาการจดทะเบยี นสมรส จากหนังสือมอบอานาจฉบับ เดิมดว้ ย ในกรณีท่ีจาเลยมีคู่สมรส และ บุคคลมีชื่อถือกรรมสิทธิ์ร่วมใน  สาเนาทะเบยี นราษฎร์ ( ทร.14) ทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัด และ นายทะเบียนเขตต้องรับรอง ท่ีนายทะเบียนท้องถ่ินรับรอง สาเนาเอกสารไมเ่ กิน 1 เดือน ไมเ่ กนิ 1 เดอื น กระบวนการบังคบั โทษปรับ 33

ขัน้ ตอนท่ี 4 จัดเตรียมยานพาหนะ เพ่ือนา กรณีท่ีจาเลย หรือผู้มีส่วนได้ เจ้าพนักงานบังคับคดีไปยึด ณ ท่ีต้ัง เสียในทรัพย์สินท่ียึดหรืออายัดถึงแก่ ทรัพย์ และขนย้ายทรัพย์ไปเก็บรักษา ความตาย ไวท้ ีก่ รมบงั คบั คดี จะต้องแจ้งบัญชีเครือญาติ  กรณีที่จาเลยรับโทษอยู่ใน พร้อมสาเนาทะเบียนบ้านของผู้ถือ กรรมสิทธ์ิร่วม หรือผู้มีส่วนได้เสียทุก เรือนจา หรอื ทณั ฑสถาน คน และนายทะเบียนเขตต้องรับรอง สำเนำเอกสำรไม่เกิน 1 เดอื น ใ ห้ แ ถ ล ง น า ส่ ง ที่ ตั้ ง ข อ ง เรือนจา หรือ ทัณฑสถาน ซึ่งถือ ว่าเป็นภูมิลาเนาของจาเลยตาม กฎหมาย  กรณีท่ีจาเลยอยู่ระหว่าง ประกันตัว ใ ห้ แ จ้ ง ท่ี อ ยู่ ต า ม ส า เ น า ทะเบียนราษฎร์ (ทร.14) ซึ่งถือ ว่าเป็นภูมิลาเนาของจาเลย และ น า ย ท ะ เ บี ย น เ ข ต ต้ อ ง รั บ ร อ ง สำเนำเอกสำรไมเ่ กนิ 1 เดอื น กระบวนการบงั คับโทษปรับ 34

ขั้นตอนที่ 4 หมำยเหตุ (ฎ.2579/2551) การ กรณีอสังหำรมิ ทรพั ยป์ ระเภท ท า แ ผ น ที่ ก า ร ไ ป ท่ี ต้ั ง ท รั พ ย์ ที่ ยึ ด ท่ีดนิ /ที่ดินพร้อมสง่ิ ปลูกสร้ำง/ ผิดพลาดเป็นความรับผิดของเจ้าหน้ี ตามคาพิพากษาและเจ้าพนักงาน หอ้ งชดุ /อำคำรชดุ บังคับคดี จะโทษเจ้าพนักงานที่ดิน ไม่ได้  ให้เตรยี มเอกสารตามข้อ 4.1  สาเนาโฉนดทด่ี นิ สาเนา น.ส.3 สาเนา น.ส.3 ก. สาเนาหนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิ  ราคาประเมินที่ดิน, ห้องชุด, ห้ อ ง ชุ ด แ ล ะ เ อ ก ส า ร ที่ เก่ียวข้องอื่นๆ (ถ้ามี) ท่ีเจ้า อาคารชุดท่ีนายทะเบียนรับรองไม่ พนักงานที่ดินรับรองไม่เกิน 1 เกนิ 1 เดือน เดอื น  ต้องให้เจ้าพนักงานท่ีดินวัด  สาเนาหนังสือสัญญาจานอง สาเนาสัญญาให้ สาเนาสัญญา พน้ื ทหี่ นา้ กวา้ งยาวของท่ดี ินดว้ ย ซอ้ื ขาย (หำกมี) เ พ่ื อ ใ ช้ ใ น ก า ร ค า น ว ณ พ้ืนที่เป็นตารางเมตร ในกรณีท่ีมีสิ่ง ปลูกสร้างต้องคานวณความกว้าง  ภาพถ่ายท่ีดินว่างเปล่า กรณี ความยาว ความสูงระหว่างช่วงช้ัน ที่ดินมีส่ิงปลูกสร้าง ให้ส่ง ของอาคารด้วย เพ่ือใช้เป็นข้อมูลใน ภาพถา่ ยส่งิ ปลกู สรา้ งด้วย การคานวณราคาประเมิน สภาพของ สิ่งปลูกสร้างปลูกมานานเพียงใดเพ่ือ  แ ผ น ท่ี ก า ร ไ ป ที่ ต้ั ง ที่ ดิ น ใช้คานวณส่วนลดค่าเสื่อมราคาของ โดยสงั เขป ส่ิงปลกู สร้าง กระบวนการบงั คับโทษปรบั 35

ข้นั ตอนท่ี 4 กรณีทรัพย์สนิ ประเภท กรณที รัพย์สินประเภทรถยนต์ เครื่องจกั ร หรือรถจกั รยำนยนต์  เตรยี มเอกสารตามข้อ 4.1 รถยนตส์ าหเรนือารคถู่มจือักกรายราจนดยทนะตเ์ บหียรนือ รถประเภทต่างๆ  ใหเ้ ตรยี มเอกสารตามขอ้ 4.1 ตามที่กรมการขนส่ง ทางบกในเขตกรุงเทพมหานคร  สาเนาทะเบียนเครือ่ งจกั รกล ท่ี หรือขนส่งจังหวัด กาหนด ที่นาย นายทะเบียนรับรองไม่เกิน 1 ทะเบียนขนส่งรับรองไม่เกิน 1 เดอื น เดอื น  จั ด ห า พ า ห น ะ ไ ป รั บ เ จ้ า  จัดหาพาหนะไปรับเจ้าพนักงาน พ นั ก ง า น บั ง คั บ ค ดี ด า เ นิ น ก า ร ยึ ด ห รื อ อ า ยั ด บังคับคดี ดาเนินการยึดหรืออายัด ท รั พ ย์ แ ล ะ เ พ่ื อ ข น ย้ า ย ทรัพย์ และเพื่อขนย้ายทรัพย์สินท่ี ทรพั ยส์ นิ ทีย่ ดึ ไปเก็บรักษาไว้ ยึด ไปเก็บรักษาไว้ ณ สถานท่ีเก็บ ณ สถานที่เก็บรักษาทรัพย์ รักษาทรพั ยข์ องกรมบังคับคดี ของกรมบงั คับคดี กระบวนการบงั คบั โทษปรับ 36

ข้ันตอนที่ 4 กรณที รพั ยส์ ินประเภทห้นุ ขอ้ สังเกต  ใหเ้ ตรยี มเอกสารตามขอ้ 4.1 การยึดหรืออายัดหุ้น ใน  ให้ส่งใบหุ้น หรือหนังสือ ปั จ จุ บั น แ ย ก พิ จ า ร ณ า ไ ด้ 2 ประเภท ดงั นี้ รับรองการเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท หรือสาเนาคารับรองของบริษัท หนุ้ ที่มีเอกสำรสิทธิ์ ห รื อ หุ้ น ที่ มี ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น กั บ  ในกรณีท่ีปรากฏว่าจาเลยมี ตลาดหลักทรัพย์ เป็นหุ้นที่เจ้าหน้ี ตามคาพพิ ากษาจะต้องนาหลักฐาน ช่ือเป็นผถู้ ือหุ้นในบริษัทมหาชนใดๆ การจดทะเบียนสิทธิ์ไปแสดงต่อ ให้ส่งสาเนาการจดทะเบียนหุ้น ใน เจ้าพนักงานบังคับคดี ก่อนนายึด ตลาดหลักทรัพย์ ที่นายทะเบียน หรืออายัดเพื่อเจ้าพนักงานบังคับ ตลาดหลักทรัพย์รับรองสำเนำไม่ คดี จ ะ ไ ด้ แ จ้ ง อา ยั ด ไ ป ยั ง น า ย เกนิ 1 เดือน ทะเ บียน หุ้น แล ะดา เนิน กา ร ประกาศขายทอดตลาดตอ่ ไป หุ้นไรเ้ อกสำรสทิ ธ์ิ เปน็ หุ้นทที่ าการซ้ือขายบนกระดาน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยซึ่งเป็นหุ้นท่ีเจ้าพนักงานบังคับ คดีจะต้องไปทาการยึดในขณะท่ีทา การซื้อขายกัน ณ ที่ทาการของ ตลาดหลักทรัพย์ทันที เน่ืองจาก เป็นหุ้นที่มีการเปลี่ยนผู้ถือหุ้นกัน เร็วมาก กระบวนการบังคับโทษปรบั 37

ข้ันตอนที่ 4 กรณพี ันธบัตรรฐั บำล กรณีทีท่ รพั ย์สินประเภทบรษิ ทั หรือห้ำงหนุ้ ส่วนจำกดั หรอื  ใหเ้ ตรียมเอกสารตามขอ้ 4.1  เจ้าหนี้ตามคาพิพากษาจะต้อง บรษิ ทั มหำชน แสดงหลักฐานเกี่ยวกับพันธบัตร  ให้เตรยี มเอกสารตามขอ้ 4.1 ดังกล่าว ต่อเจ้าพนักงานบังคับคดี  สาเนาการจดทะเบียนนิติ เพ่ือเจา้ พนักงานบงั คับคดีจะไดแ้ จ้งให้ ส ถ า บั น ก า ร เ งิ น ท่ี อ อ ก พั น ธ บั ต ร บุคคล ที่นายทะเบียนพาณิชย์รับรอง ดังกล่าวงดกระทาการทางธุระกรรม สาเนาไม่เกนิ 1 เดอื น ในกรณีทจี่ าเลย กับพันธบัตรน้ัน เพื่อจัดส่งพันธบัตร จดทะเบียนประกอบธุรกิจในลักษณะ ใหแ้ กเ่ จา้ พนกั งานบงั คบั คดตี ่อไป ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล บริษัทจากัด หรอื บรษิ ทั มหาชน เปน็ ต้น กรณีทรัพย์สินประเภท อำวธุ ปนื  ใหเ้ ตรยี มเอกสารตามขอ้ 4.1  สาเนาทะเบียนอาวุธปืน ท่นี าย ทะเบียนฯรับรองไม่เกิน 1 เดอื น กระบวนการบังคบั โทษปรบั 38

บท ่ีท 2 กระบวนการบังคับโทษปรับ ขนั้ ตอนท่ี 4 4.2 นำทรัพยส์ นิ ไปสง่ มอบแกเ่ จำ้ พนักงำนบงั คับคดเี พ่ือยดึ ทรัพย์สนิ เจ้ า ห น้ า ที่ผู้ ที่ ไ ด้ รั บม อ บ ห ม า ย มีหนังสือแจ้งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ ว่าจะไปต้ังเร่ืองยึดทรัพย์และ นาทรัพย์สินไป ส่งมอบก่อนล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วันทาการ เว้นแต่กรณีเร่งด่วนให้แจ้งล่วงหน้า 1 วัน ทาการ เ จ้ า ห น้ า ที่ ผู้ ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย มีหนังสือแจ้งให้พนักงานสอบสวนผู้เก็บ รักษาทรัพย์สินทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วันทาการ เพ่ือเตรียมส่งมอบทรัพย์สิน ให้แก่เจ้าพนักงานบังคับคดี และจะต้อง นัดหมายเจ้าพนักงานบังคับคดีล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 3 วันทาการ เว้นแต่กรณี เรง่ ด่วนให้แจง้ ล่วงหน้า 1 วนั ทาการ กระบวนการบังคบั โทษปรบั 39

บท ่ีท 2 กระบวนการบังคับโทษปรับ ขน้ั ตอนที่ 4 4.2 นำทรัพย์สนิ ไปส่งมอบแก่เจ้ำพนกั งำนบังคบั คดีเพื่อยดึ ทรัพยส์ ิน (ตอ่ ) เจ้ำหน้ำทผี่ ทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมำย เจำ้ พนักงำนบงั คบั คดี ให้เจ้าหน้าท่ีผู้ได้รับมอบหมายจัดเตรียมสถานท่ีเก็บรักษาไว้ล่วงหน้า โดยการเช่าอาคาร หรือสถานที่ท่ีเหมาะสมในการเก็บรักษา โดยให้นา ใ บ เ ส ร็ จ รั บ เ งิ น ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ใ น ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า ท รั พ ย์ สิ น ดั ง ก ล่ า ว น า ส่ ง แ ก่ เจ้าพนักงานบังคบั คดเี พอ่ื หกั จากเงินทข่ี ายทอดตลาดทรพั ยส์ ินได้ต่อไป กระบวนการบังคับโทษปรับ 40

บท ่ีท 2 กระบวนการบังคับโทษปรับ ขน้ั ขตัน้ อตนอทน่ี 4ที่ 4 4.3 กำรทำรำยงำนกำรปฎิบตั งิ ำน เจ้ำหนำ้ ท่ีผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมำย ผูบ้ งั คับบญั ชำ เม่อื เจ้าหนา้ ทผ่ี ไู้ ด้รบั มอบหมาย ดาเนินการต้ังเร่ืองยึดอายัดทรัพย์สินของ จาเลยเสรจ็ แล้ว ให้ทารายงานผลการปฏิบัติงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้น เพื่อทราบและมคี าส่งั ตามท่เี ห็นควร กรณีกำรอำยัดเงนิ ฝำกใน เมือ่ เจ้าพนกั งานบังคับคดไี ดร้ ับเอกสารแลว้ จะ ดาเนินการอายัดทรพั ยส์ นิ ทรพั ย์สินให้ โดย บัญชีธนำคำร ออกหนังสอื แจง้ การอายดั สิทธิเรียกรอ้ งไปยัง หน่วยงาน หรือสถาบันการเงนิ ตามท่ีระบไุ ว้ใน  ให้เตรียมเอกสารตามขอ้ คาแถลง  เอกสารการออนไลน์ของ เจ้าพนกั งานบงั คับคดีจะแจง้ ผลการอายัด ธนาคารท่ีระบบุ ัญชเี งิน พรอ้ มทัง้ ส่งหลกั ฐานการอายัดใหส้ านกั งาน ฝากของจาเลย ป.ป.ส.ทราบทางโทรสารตอ่ ไป  จัดสง่ เอกสารต้งั เร่อื ง อายัดไปยงั เจา้ พนกั งาน กระบวนการบงั คบั โทษปรบั 41 บังคบั คดี โดยทาง ไปรษณยี ์ดว่ น (EMS)

ขัน้ ตอนที่ 5 การขายทอดตลาดทรัพยส์ นิ เม่ือเจ้าหน้าท่ีผู้ได้รับมอบหมาย ดาเนินการตั้งเร่ืองยึดอายัด ทรัพย์สินต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีกรมบังคับคดี หรือสานักงานบังคับคดี จังหวัด เจ้าพนักงานบังคับคดีจะดาเนินการขายทอดตลาดทรัพย์สิน ดังกล่าว เพ่ือนาเงินมาชาระค่าปรับให้ศาลต่อไป สาระสาคัญเก่ียวกับการ ขายทอดตลาดทรพั ยข์ องเจ้าพนักงานบงั คบั คดี มีดังน้ี กำรเตรียมเอกสำร รบั เรอื่ งประกำศ ขำยทอดตลำดทรพั ย์ ศกึ ษำขอ้ มูลเกย่ี วกับ กำรขำยฯ มอบหมำย/มอบอำนำจ นำเจำ้ พนกั งำนบังคบั คดไี ปขำยทอดตลำดทรัพยส์ ิน ในกรณีทีเ่ ก็บทรพั ยส์ ินนอกกรมบงั คบั คดี กระบวนการบงั คับโทษปรับ 42

ข้ันตอนท่ี 5 การขายทอดตลาดทรัพย์สนิ (ต่อ) 1 เจา้ พนกั งานบงั คบั คดี 1 แจง้ การยึดทรพั ยใ์ หผ้ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในดี เจา้ พนักงานบังคบั คดี ทราบโดยชอบดว้ ยกฎหมาย รายงานศาลขออนญุ าต ขายทอดตลาดทรพั ยน์ น้ั 2 ศาลมคี าสัง่ อนุญาตให้ 3 ขายทอดตลาดทรพั ย์ เจา้ พนักงานบงั คับคดีจะประกาศ 4 ขายทอดตลาดทรพั ย์เป็นจานวน 4 ครั้ง ตามวัน - เวลาท่ีกาหนด เจา้ พนักงานบงั คับคดจี ะส่งประกาศขาย ทอดตลาดทรพั ยไ์ ปยงั ภมู ลิ าเนาของผมู้ สี ว่ น 5 ได้เสียในคดีทราบโดยชอบด้วยกฎหมาย เจ้าหน้าทผี่ ทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย 6 ไดร้ ับประกาศขายทอดตลาดทรพั ย์แลว้ ให้รายงานผู้บงั คับบญั ชาทราบ เพอื่ พิจารณาดาเนนิ การในขนั้ ตอนตอ่ ไป กระบวนการบังคบั โทษปรับ 43

ขั้นตอนท่ี 5 การขายทอดตลาดทรัพย์สิน (ตอ่ ) 2 3 ผู้อานวยการสานักตรวจสอบทรัพย์สิน คดียาเสพติดหรือผู้อานวยการสานักงาน ปปส.ภาค 1 - 9/ กทม. ท่ีได้รับมอบอานาจจากเลขาธิการ ป.ป.ส. หรือ ข้าราชการ ผู้รับมอบอานาจช่วง ให้กระทาการตามอานาจ ห น้ า ที่ ที่ ก า ห น ด ไ ว้ ใ น ห นั ง สื อ ม อ บ อ า น า จ ยึ ด ท รั พ ย์ โดยเคร่งครดั 4 กรณีท่ีเป็นกำรขำยทอดตลำดทรัพย์สินท่ีเก็บรักษำไว้นอกกรมบังคับ คดีกำหนด เจ้าหน้าที่ผู้ท่ีได้รับมอบหมาย ในฐานะเจ้าหนี้ตามคาพิพากษา มีหน้าที่ต้องไปนาเจ้าพนักงานบังคับคดีไปทาการขายทอดตลาดทรัพย์ ณ สถานท่ี เก็บรักษาทรัพย์น้ันหากเจ้าหน้ีตามคาพิพากษาไม่ไปดาเนินการดังกล่าวข้างต้น เจ้าพนักงานบังคับคดีจะงดการขายทอดตลาดทรัพย์ในคร้ังนั้นทันที และ จะขายทอดตลาดทรพั ย์ดังกลา่ วในครงั้ ต่อไป กระบวนการบงั คบั โทษปรับ 44

ขนั้ ตอนท่ี 5 การขายทอดตลาดทรพั ย์สิน (ต่อ) กรณที ีเ่ ป็นอสงั หำริมทรัพยเ์ จำ้ พนักงำนบงั คบั คดีจะทำกำรขำยทอดตลำด ทรัพย์ดงั กลำ่ วไปตำมวนั -เวลำทกี่ ำหนด แม้เจ้าหน้ีตามคาพิพากษาไม่มาในวันขายก็ไม่เป็นเหตุงดการขาย ทอดตลาด เพียงแต่เจ้าหนี้ตามคาพิพากษาหมดสิทธ์ิที่จะคัดค้านราคา หาก เจ้าพนักงานบังคับคดีนับสามเคาะไม้ขายไปในราคาท่ีเห็นสมควร ซ่ึงอาจเป็นราคา ทตี่ า่ กว่าราคาประเมนิ ทำบันทึกรำยงำนผลกำรไปดูแล กำรขำยทอดตลำดทรพั ยด์ งั กล่ำว ใหผ้ ้บู ังคับบัญชำตำมลำดบั ช้นั ทรำบ กระบวนการบังคับโทษปรับ 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook