สงครามโลกคร้งั ที่ 1 World War I จดั ทำโดย นางสาวปนดั ดา นาคสขุ ปล่งั รหัสนักศึกษา 6210121228012 สาขาวิขาสังคมศกึ ษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู เสนอ อาจารย์วรรณพร บญุ ญาสถิตย์ รายงานนี้เปน็ ส่วนหนง่ึ ของวชิ าประวัติศาสตร์สากล รหสั วิชา (1642314) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
คำนำ สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นความขัดแย้งระดับโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1914 ถึงปี 1918 ระหว่างฝ่าย มหาอำนาจไตรภาคี (พันธมิตร) (Triple Entente) ซึ่งประกอบไปด้วย จักรวรรดิรัสเชีย ฝรั่งเศส จักรวรรดิบริ เทนราชอาณาจักรอิตาลี สหรัฐอเมริกา และพันธมิตร กับฝ่ายที่ถูกเรียกว่ามหาอำนาจกลาง หรือไตรพันธมิตร (Triple Alliance) ประกอบไปด้วย ออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิเยอรมนี จักรวรรดิออตโตมัน ราชอาณาจักร บัลแกเรีย ซึ่งไม่เคยปรากฏสงครามขนาดใหญ่ที่มีทหารหรือสมรภูมิเกี่ยวข้องมากขนาดนี้มาก่อนสงครามโลก ครั้งที่ 1 เป็นที่รู้จักกันว่า \"สงครามครั้งยิ่งใหญ่\" (Great War)หรือ \"สงครามเพื่อยุติสงครามทั้งมวล\" (War to End All Wars) พบว่ามีทหารกว่า 70 ล้านคนมีส่วนร่วมในการรบ ผลจากสงครามทำให้มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บ และสูญหาย รวมกันไมต่ ำ่ กวา่ 40 ลา้ นคน รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นสำหรับให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจทั่วไป เพื่อใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์สากล ในเรอื่ งสงครามโลกครั้งที่ 1 ภายในเล่มรายงานมเี นื้อหาข้อมลู เก่ียวกบั สาเหตขุ องสงคราม การเขา้ ร่วมสงคราม ของประเทศตา่ ง ๆ บทสรปุ ของสงคราม รวมถงึ ภายหลงั การส้นิ สุดสงครามวา่ เปน็ อย่างไร รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์สากล ข้าพเจ้าได้ข้อมูลจากการค้นหาหนังสือจาก ห้องสมดุ จากผรู้ ู้ และขา้ พเจ้าขอขอบคุณผทู้ ่ีให้ข้อมลู ท้ังหมดแก่ข้าพเจา้ พร้อมด้วยความรว่ มมือจากอาจารย์ท่ี ได้แนะนำทำรายงานฉบับนี้ด้วย หวังวา่ รายงานน้ีจะเป็นประโยชน์และแนวทางการแก่ผู้ที่สนใจอยู่บ้างไม่มากก็ น้อย และถา้ รายงานฉบับนี้มีความผิดพลาดประการใด ข้าพเจ้าขออภยั ไว้ ณ ทน่ี ้ีด้วย ปนัดดา นาคสขุ ปล่ัง ผู้จัดทำ ก
สารบัญ หนา้ คำนำ ก สารบญั ข สภาพยโุ รปก่อนสงครามโลกคร้งั ที่1 1 สาเหตขุ องสงคราม 3 7 - ชนวนสงคราม 9 ลำดับเหตกุ ารณ์ของสงครามโลกครง้ั ที่ 1 10 12 - ค.ศ. 1914 15 - ค.ศ. 1915 17 - ค.ศ. 1916 20 - ค.ศ. 1917 22 - ค.ศ. 1918 25 ผลของสงครามโลกคร้งั ที่ 1 27 ผลกระทบของสงคราม 29 บทสรปุ สงครามโลกครงั้ ท่ี 1 บรรณานุกรม ข
1
สภาพยโุ รปกอ่ นสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 สภาพยุโรปก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ก่อนที่สงครมโลกครั้งที่ 1 จะเกิดขึ้น ปรากฎว่าสถานการณ์ระหว่าง ประเทศตึงเครียดขึ้นทุกที จนกระทั่งประเทศต่าง ๆ เกิดความหวามกลัวว่าจะได้รับอันตรายจากภัยสงคราม ดังนั้น แต่ละประเทศจึงต้องตระเตรียมกำลังรบของตนและต่างสนบั สนุนใหป้ ระชาชนนิยมการทหาร สำหรับเยอรมนีนั้นก็ ได้เพิ่มงบประมาณการทหารเป็นการใหญ่ โดยกองทัพได้รับทหารประจำการ เพิ่มขึ้น 2 แสนคน ส่วนกองทัพเรือ รัฐบาลเยอรมันไดป้ รับปรุง จนกระทง่ั เยอรมนีไดเ้ ป็นมหาอำนาจทางเรือเป็นทส่ี องรองจากอังกฤษ นายพลเยอรมนีท่ี มีชื่อเสียงคือ นายพลลูเดนดอร์ฟ (Erich Friedrich Wilhelm Ludendorff ค.ศ. 1865-1937) ได้บันทึกความเห็น ของเขาไวว้ า่ ในกรณสี งครามท่ีเกิดขึ้นอังกฤษจะเขา้ ขา้ งฝรั่งเศสกับรสุ เซยี สว่ นอิตาลใี นฐานะที่เปน็ ประเทศพันธมิตร กับเยอรมันคงจะช่วยตรึงกองทัพฝรั่งเศสทางด้านภูเขาแอลป์ไว้ส่วนกองทัพรุสเซีย คงจะมีกำลังเข้มแข็งขึ้นทุกที สำหรับเยอรมนีจะต้องทำศึก 2 ด้านคอื รกุ ดา้ นหนึ่งและต้ังรับอีกด้านหนง่ึ กองทัพเยอรมนีจะต้องทำการรุกฝรั่งเศส โดยต้องละเมิดความเป็นกลางของเบลเยียม และจะต้องเผชิญกับการต่อต้านของกองทัพอังกฤษ และนอกจ ากน้ี กองทัพยอรมนีจะต้องตั้งรับค้านรุสเซียด้วย บันทึกของนายพลลูเดนดอร์ฟนี้ตรงกับบันทึกของ เค้า นด์ ชลิฟเฟ่น' (Count Alfred von Schlieffen ค.ศ. 1838- 1913) ประธานคณะเสนาธิการทหารของเยอรมนีช่วงปี 1891-1805 ที่เรียกว่า Schlieffen Plan ส่วนตุรกีมีความสนิทสนมกับเยอรมนีขึ้นทุกที ถึงขนาดท่ีนายพลยอรมนีคนหนึ่งชื่อลิ แมน ฟอน แซนเคอร์ส (Liman von Sanders) ได้รับแตง่ ตั้งใหเ้ ปน็ นายพลแห่งกองทัพบกของตุรกีในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1913 ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้เยอรมนีได้ควบคุมกองทัพบกของตุรกี เวนออสเรยี -ฮังการีไดเ้ ตรียมกองทพั ของ ตนเช่นเดียวกัน คือ องค์รัชทายาทคือ อาร์ชดยุคฟรานซ์เฟอร์ดินานด์ (Archduke Franz Ferdinand, ค.ศ. 1883- 1914) ก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นจเรทหารบกทั่วไปพระองค์ทรงมพี ระดำริสอดคล้องกับความคดิ ของเสนาธิการทหารบก ชื่อจอมพลคอนราด ฟอน ฮอลท์-เซนคอร์ฟ (Conrad von Holtzendorf) ที่ว่าออสเตรียจะต้องปราบเซอร์เบียให้ ราบคาบ ส่วนประเทศที่วามเขา้ ใจฉนั มิตร Triple Entente ก็ไดต้ ระเตรียมกองทัพของตนเชน่ เดียวกัน อังกฤษได้ชุม กองทัพเรือไว้รอบเกาะอังกฤษ ฝรั่งเศสใช้กฎหมายเกณฑ์ทหารให้ชายฉกรรจ์รับราชการทหารให้ชายฉกรรจ์รับ ราชการทหาร 3 ปี แทน 2 ปี รุสเซียไดต้ ระเตรียมการทหารของตนเช่นเดียวกัน ในระหว่างนั้นเหตุการณ์ดูสงบเงียบ ไม่มีใครคาดฝันวา่ ส่งครามจะเกิดขึ้น แต่ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 101 อารัชคยุค ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ และชายา ถูกลอบปลงพระชนม์ท่เี มืองซาราเจโว (Sarajevo) ซง่ึ เป็นนครหลวงของบอสเนยี เขา้ จนได้ การรวมกลุ่มของยุโรปกอ่ นสงครามโลกคร้งั ที่ 1 2
3
สาเหตุของสงคราม ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์จนก่อให้เกิดการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในศตวรรษท่ี18 มหาอำนาจต่าง ๆ ในตะวันตกจึงออกล่าอาณานิคมเพื่อกระจายสินค้าและแสดงแสนยานุภาพทางทหาร จึงก่อให้เกิดความขัดแย้งขึ้นใน ยุโรปหลายฝ่าย 1. ผลสืบเนื่องมาจากสงครามฟรังโก-ปรัสเซีย(The Franco – Prussian War)ที่เกิดขึ้นในระหว่างปี (ค.ศ. 1870-1871) ซึง่ ฝรง่ั เศสเป็นฝ่ายแพ้มผี ลทำให้เกิดการรวมประเทศเยอรมนีฝรั่งเศสต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม 5 พันล้านฟรังก์ ตอ้ งยกแคว้นอัลซัล-ลอเรน(Alsace Larraine) ใหก้ ับเยอรมนีและฝร่ังเศสต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยว 23 ปี จึงสร้างความโกรธแคน้ ใหก้ บั ฝรงั่ เศส, ฝรั่งเศสต้องการแก้แคน้ เยอรมนี 2. ปัญหาคาบสมุทรบอลข่าน (Balkan) สาเหตุของปัญหาเกิดจากการแข่งขันอิทธิพลระหว่างจักรวรรดิ ออสเตรีย – ฮังการี กับจักรวรรดิรัสเซีย โดยรัสเซียต้องการใช้คาบสมุทรบอลข่านเป็นทางออกสู่ทะเลทางใต้ของตน และต้องการเป็นผู้นำของชนชาติสลาฟ (Slav) ในคาบสมุทรบอลข่านอันมีเชื้อสายเดียวกับรัสเซีย แทนออสเตรีย – ฮงั การี(การแข่งขันระหว่างออสเตรียกับรัสเซียเพ่ือชงิ ความเปน็ ใหญเ่ หนือคาบสมุทรบอลขา่ น) 4
3. ปัญหาลัทธิชาตินิยม ก่อให้เกิดการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจ คือ ชาตินิยมเยอรมนีให้การสนับสนุนออสเตรีย – ฮังการี กับชาตินิยมสลาฟที่รัสเซีย เป็นผู้นำโดยรัสเซียสนับสนุนชนชาติสลาฟในจักรวรรดิตุรกี เพื่อตนจะได้เข้าไป แทนที่และสลาฟเองก็ต้องการเป็นเอกราช การแข่งขันและการสนับสนุนของ มหาอำนาจเกิดความรู้สึกชาตินิยม(Nationalism) พลังแห่งการรักชาติหรือความ ภูมิใจในชาติตนเอง ทำให้เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมือง โดยเฉพาะในคาบสมุทร บอลข่าน - ขบวนการขยายอิทธิพลสลาฟ(Pan Slavism) ชาวสลาฟตอ้ งการแยกตัว ออกจากการปกครองตุรกี - ประชาชนในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาไม่ต้องการอยู่ใต้อ านาจการ ปกครองของออสเตรยี -ฮงั การี 4. เกิดลัทธิจักรวรรดนิ ิยมใหม่ (New Emperialism) อันเนื่องมาจากการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมทำให้เกิดการแสวงหาอาณานิคมภายนอกเพื่อหาแหล่งวัตุดิบ และระบายสินค้า เป็นแหล่งยทุ ธศาสตร์ทางการทหาร ทำให้เกิดการบาดหมางกนั ระหว่างประเทศคู่แข่งกันการแข่งขันแสวงหาอาณานิคม อันเป็นผลมาจากการ ปฏิวัติอุตสาหกรรม ประเทศมหาอำนาจต้องการแสวงหาตลาดสำหรับระบาย สินค้า และแหล่งวัตถุดิบ ป้อนโรงงานอุตสาหกรรม จงึก่อให้เกิดความขัดแย้ง ในทางประโยชนเ์ ช่น - การแข่งขนั ทางเศรษฐกิจ ที่สำญคอื การแขง่ ขันระหว่างองั กฤษกับเยอรมนั - การทะเลาะเบาะแว้งเรื่องอาณานิคม ปลายคริต์ศตวรรษที่ 19 ยุโรปต่างแข่งขันช่วงชิงอาณานิคมเพื่อจักรวรรดิ ของ ตนซงึ่ กอ่ ใหเ้ กิดความแตกร้าวระหว่างชาติขึ้น เชน่ - อังกฤษกบั เยอรมนั เร่อื งแอฟริกาตะวนั ออกและแอฟริกาตะวนั ตกเฉยี งใต้ - องั กฤษกบั ฝรั่งเศส เรือ่ งลุ่มแม่นำ้ ไนล์ - องั กฤษกบั รสั เซยี เรือ่ งเปอร์เซยี และอฟั กานสิ ถาน - เยอรมนั กบั ฝรัง่ เศส เรือ่ งโมรอ็ กโกและแอฟรกิ าตะวนั ตก 5
5. การแขง่ ขนั ทางด้านแสนยานุภาพ เป็นผลมาจากความขัดแย้งระหวา่ งประเทศอันมีสาเหตุมาจาก การเมือง และเศรษฐกิจรวมทั้งการแข่งขันทางด้านอาณานิคม ทำให้ประเทศต่าง ๆ ส่งเสริมการสร้างกำลัง ทหาร และกองทัพที่มีประสิทธิภาพความขดั แย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธทั้งบางบกและทางทะเล โดยตา่ งประเทศตอ้ งการพยายามสรา้ งอาวธุ ใหท้ ดั เทยี มชาตศิ ัตรู อันมาเนือ่ งจากความระแวง สงสยั หวาดกลวั ซึ่งกันและกัน เช่น เยอรมนีแข่งขัดกันด้านอาวุธทางทะเล เยอรมนีแข่งขันกันขยายก าลังพลทางบกกับ ฝร่ังเศส 6. การแบ่งกลุ่มของฝายมหาอำนาจก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 มหาอำนาจในยุโรปแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ไตรภาคี (Triple Alliance) ซึ่งประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี อิตาลีออตโตมานเติร์ก ส่วนอีกกลุ่มหนึ่ง คือ กลุ่มข้อตกลงไตรภาคี หรือ กลุ่มสัมพันธมิตร(Triple Entente) ประกอบด้วยอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ซึ่งแต่ละกลุ่มต่างมีผลประโยชน์และข้อตกลงในการให้ความช่วยเหลือร่วมกันก่อนเกิด สงคราม เกิดการแบ่งกลุ่มประเทศออกเป็น 2 กลุ่ม สมาชิกของแต่ละกลุ่มจะต้องช่วยเหลือกันในยามที่เกิด วิกฤตกิ ารณ์ระหว่างประเทศ 6
ชนวนระเบดิ ของสงคราม ความไม่พอใจของประเทศเซอร์เบีย (Serbia) ที่ประเทศออสเตรีย – ฮังการี ผนวกดินแดนบอสเนีย – เฮอร์เชโกวีนา (Bosnia – Herzegovena) ซึ่งมีประชาชนเป็นชาวสลาฟ (Slavs)เช่นเดียวกับเซอร์เบีย และ เซอร์เบียต้องการผนวกดินแดนดังกล่าวเจ้ากับเซอร์เบียเพื่อเป็นการเอาใจประชาชนที่อาศัยอยู่ในบอสเนีย – เฮอร์เชโกวีนา อาร์ชดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ดินาน (Archduke Francis Ferdinand) มกุฎราชกุมารแห่งอาณาจักร ออสเตรีย-ฮังการี จึงเสด็จไปเยือนซาราเจโว (Sarajevo) ซี่งเป็นเมืองหลวงของบอสเนีย – เฮอร์เชโกวีนา ใน วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 แต่พระองศ์ถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักศึกษาชาวเซิร์บ ชื่อ กาวริโล ปรินซิป (Gavrilo Princip) ทำให้ออสเตรีย - ฮังการีตัดสินใจยื่นคำขาดต่อเซอร์เบียให้ปฏิบัติตามข้อเรียกร้องใน 24 ช่วั โมง แตเ่ ซอร์เบยี ไมอ่ าจรับได้ ดังนัน้ จึงทำให้ฝ่ายสนับสนนุ ทั้งสองข้างถกู เขา้ มาทำสงครามต่อกัน สงครามโลกคร้ังที่ 1 (World War I) เริ่มเปิดฉาก ขึ้นเมื่อ ออสเตรีย-ฮังการี(AustriaHungary) ประกาศสงครามกับ เซอร์เบีย (Serbia) ภายหลงั จาก ฟรานซ์เฟอร์ดินานด์(Franz Ferdinand, Archduke of Austria) อาร์คดยุกแห่งออสเตรีย และพระชายาถูกลอบปลงประชนม์โดยชาวเซิร์บ หัวรนุ แรงเม่อื วันท่ี 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 ที่เมืองซาราเจโว (วิกฤติกรรมณ์ซาราเจโว) ใน ฝูงชนบนท้องถนนในช่วงหลังเหตกุ ารณจ์ ลาจลตอ่ ตา้ นชาว แคว้นบอสเนีย ผู้ลอบสังหารเป็นชาวเซอร์เบีย เซิร์บในเมืองซาราเยโว, 29 มินายน ค.ศ. 1914 (เป็นกลมุ่ เช้อื สายสลาฟเช่นเดยี วกับรัสเซีย) ทำให้ ออสเตรียถือเป็นสาเหตุในการประกาศสงครามกับเซอร์เบีย ความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับเยอรมนีภาย หลังจากอาร์คดยุกแห่งออสเตรียถูกลอบปลงประชนม์ ประเทศต่าง ๆ ที่เป็นอริกันต่างกล่าวหาซึ่งกันและ กัน ในท่ีสุดจงึ ประกาศสงครามต่อกนั เปน็ ลกู โซ่ กลายเปน็ สงครามใหญ่ - รัสเซียซ่งึ ถอื วา่ เปน็ ผนู้ ำของชาวสลาฟจงึ สั่งระดมผลเพื่อชว่ ยเซอร์เบยี โดยมฝี รัง่ เศสสนบั สนุน - เยอรมนีซง่ึ เป็นพันธมติ รของออสเตรยี – ฮงั การจี ึงประกาศสงครามกบั รสั เซียและฝร่งั เศส - เยอรมนียกกองทัพเข้าตฝี รั่งเศสผ่านเบลเยย่ี ม ซ่งึ เป็นประเทศท่ีเปน็ กลางและได้รบั การคุ้มครองจาก กล่มุ ประเทสมหาอำนาจ โดยมีองั กฤษเปน็ ผ้นู ำ 7
- อังกฤษจึงประกาศสงครามกับเยอรมนีในฐานะละเมิดความเป็นเอกราชและความเป็นกลางของเบล เยี่ยมในปีค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่สงครามโลกครั้งที่1 เกิดขึ้น ซึ่งขณะนั้นมหาอำนาจยุโรปถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝ่ายคือ ฝ่ายไตรพันธมติร / พันธมิตร / สมั พนั ธมิตร ฝา่ ยไตรภาคี/ มหาอำนาจกลาง องั กฤษ เยอรมนั นี ฝรัง่ เศส ออสเตรีย-ฮังการี รสั เซีย *** (ถอนตวั ออกกก่อนท่ีสงครามโลกคร้ังที่ 1 ออตโตมานเตริ ก์ (ตรุ กี) จะสิ้นสดุ ) บลั แกเรีย อิตาลี (เข้ามาร่วม ค.ศ. 1915) อเมริกา (เขา้ มาร่วม ค.ศ. 1917) จีน ญ่ีปุ่น เซอรเ์ บยี ไทย ... ขา่ วการลอบปลงพระชนม์ขณะขบั รถผ่านถนน ของซาราเจโร 8
9
1 สงิ หาคม 1914 3 สงิ หาคม 1914 เมื่ออาร์คดยุคฟรานซิส เฟอร์ดินัลด์ (Archduke เยอรมันประกาศสงครามกับฝรั่งเศสเนื่องจาก Francis Ferdinand)มงกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการีและ ฝรั่งเศสท้าทายโดยยื่นข้อเสนอว่าจะส่งกองกำลังไป พระชายาถูกลอบปลงพระชนม์ที่เมืองซาราเจโวในเซอร์เบียเม่ือ ช่วยเหลือรัสเซีย ทำให้เยอรมันยกพลไปโจมตีฝรั่งเศส ได้รับแรงสนับสนุนจากเยอรมนี จึงยื่นข้อเรียกร้องที่เซอร์เบียไม่ ทันที ซึ่งใช้เส้นทางของเบลเยียมที่ประกาศตัวเป็นกลาง อาจยอมรับได้ ออสเตรียฮังการีจึงประกาศสงครามและเริ่มบุก กลยุทธการต่อสู้ของเยอรมัน คือ รวดเร็ว สั้น ดุเดือด รัสเซียได้เข้าสนับสนุนเซอร์เบยี และระดมพลเตรียมต่อสู้เยอรมนี และคล่องตวั จงึ ทำให้สามารถเอาชนะฝรั่งเศสท่ีไม่ทันได้ จงึ ได้เรยี กรอ้ งมใิ หร้ สั เซียและฝรงั่ เศสเข้ามาแทรกแซง ครง้ั ทัง้ สอง ตั้งตัวได้ ส่วนอังกฤษยื่นคำขาดกับเยอรมันเรื่องการ มหาอำนาจไม่ปฏบิ ัตติ ามเยอรมนีจึงประกาศสงครามกบั รสั เซียใน เดินทัพผ่านเข้าไปในดินแดนของเบลเยียมตาม “สัญญา วนั ท่ี 1 สิงหาคม 1914 ค้ำประกนั ความเปน็ กลาง” แตถ่ ูกเยอรมนั ปฏิเสธ 10
4 สงิ หาคม 1914 การปะทะทเี่ ทนเนนเบริ ์ก (Battle of tannenberg) อังกฤษประกาศสงครามกับเยอรมัน ทำให้ เทนเนนเบิร์กเป็นหมบู่ ้านเล็ก ๆ แห่งหนึง่ ในปรัสเซียที่เปน็ แนว ประเทศอาณานิคมของอังกฤษในขณะนั้นต้องเข้าร่วม รบฝั่งตะวันออกกองพลของเยอรมันภายใต้การบัญชาการของจอมพล สงครามโดยปริยาย ได้แก่ แคนาดา ออสเตรเลีย ฮนิ เดนเบิรก์ (Paul von Hindenburg) และนายพลลูเดนดอฟฟ์ (Erich นิวซีแลนด์ อินเดีย และแอฟริกาใต้ ส่วนสหรัฐอเมริกา von Ludendorff) ได้เข้าประจัญกับรัสเซีย การปะทะครั้งนี้เป็นการ ประกาศตวั เป็นกลาง ปะทะครั้งแรกของสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งใช้เวลาประมาณ 5 วัน ผลสุดท้าย กองทัพรัสเซียถูกตีแตกพ่ายปราชัยให้กับเยอรมัน คน รัสเซียนถูกจับตัวกว่า 125,000 คนและเสียชีวิตเป็นจำนวนมากทั้งยัง ถูกขับไล่ออกจากปรัสเซียตะวันออกอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ชัยชนะอัน งดงามของเยอรมันครั้งนี้ทำให้จอมพลฮินเดนเบิร์กและนายพลลู เดนดอฟฟ์ กลายเปน็ วรี บุรษุ ของประชาชนท่ัวทงั้ เยอรมัน 11
19 มกราคม 1915 31 มกราคม 1915 เยอรมันดัดแปลงเรือเหาะ(Zeppelins) เพื่อใช้ใน เยอรมันนำก๊าซพิษประมาณ 18,000 กระบอก การบรรทุกระเบิดทิ้งทางอากาศทำลายคู่ศัตรู โดยเริ่มต้น มาปล่อยในแนวรบฝั่งตะวันออก เพื่อโจมตีกองกำลังของ โจมตีเป้าหมายแรกคืออังกฤษ แต่เนื่องจากเรือเหาะมี รัสเซียทอ่ี ยูท่ างตะวันตกกรงุ วอร์ซอว์ ประเทศโปแลนด์ แต่ ขนาดใหญ่ อ้วนท้วมและมีการป้องกันตัวเองต่ำ ทำให้ ก็ส่งผลกระทบเล็กน้อยต่อกองทัพรสั เซยี เนือ่ งจากก๊าซพิษ กลายเป็นเป้านิ่งการตอบโต้กลับคืนทางอากาศของ ไมส่ ามารถระเหยได้ในอุณหภมู ิท่เี ยน็ จดั เครอื่ งบนิ รบองั กฤษ 12
18 กมุ ภาพนั ธ์ 1915 การสู้รบด้วยเรือ U-Boat เรือ U-Boat หรือ Undersea Boat เป็นเรือดำน้ำที่เยอรมันใช้เป็นอาวุธประจำกองเรือเพื่อสู้รบทางทะเลกับ ประเทศคู่สงคราม เนื่องจากถูกอังกฤษกักเขตฝั่งทะเลของเยอรมัน ใช้มาตราการเรียกเก็บค่าผ่านดา่ นทางทะเล และกีด กันการนำเข้าสินค้าต่าง ๆ เพ่อื จดั การกับเรือสัญชาติเยอรมนั ใหห้ มดไปจากทะเลหลวง เร่ิมตน้ โจมตเี รือพาณิชย์ท่ีแล่นอยู่ บนน่านน้ำของอังกฤษ อย่างไรก็ตามปฏิบัติการของเยอรมันที่เป็นไปอย่างฉาบฉวยและไม่จำกัดส่งผลให้สหรัฐอเมริกาที่ ประกาศตัวเปน็ กลางโกรธแคน้ อยา่ งมาก เนือ่ งจากมพี ลเรือนชาวอเมริกันเสียชีวติ ในเหตกุ ารณ์คร้งั นีด้ ว้ ย 13
22 เมษายน – 25 พฤษภาคม 1915การปะทะคร้งั ทสี่ องทเ่ี มืองอีพรอ (Second Battle of Ypres) เมืองอีพรอ ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศเบลเยียม เป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์สำคัญในสงครามโลกครั้งที่ 1 เพราะเยอรมันจะสามารถตัดเส้นทางการเดินทัพและการลำเลียงเสบียงอาหารของอังกฤษ อีกทั้งยังสามารถบุกเข้า โจมตฝี รง่ั เศสได้อย่างสะดวกรวดเรว็ ในการปะทะครงั้ ทส่ี องในเมืองอีพรอ เยอรมันใชก้ ๊าซพษิ คร้ังแรกในแนวรบฝัง่ ตะวันตกเพื่อโจมตฐี านที่ม่ันของ กองทัพฝรั่งเศสที่อย่รู อบ ๆ เมอื งอีพรอ โดยปลอ่ ยก๊าซพิษคลอรีนมากกว่า 5,000 กระบอก เกดิ เป็นควันคล้ายเมฆสี เขียวล่องลอยในอากาศเหนือที่ตั้งกองทัพของฝรั่งเศส-แอฟริกัน ทำให้ทหารที่อยู่ในบริเวณนี้ต้องถอยล่าออกไป เนื่องจากไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอาวุธเคมีชีวะนิวเคลียร์นี้ และความอันตรายของก๊าซพิษยังทำให้อังกฤษและแคนาดา ไม่สามารถเข้าไปในพื้นที่ดังกล่าวได้ จึงต้องถอนกำลังทหารออกจากแนวการป้องกันไปอยู่รอบ ๆ เมืองอีพรอแทน การปะทะคร้งั นี้ ทำให้ฝ่ายสัมพันธมติ รมผี ูเ้ สียชีวติ ทง้ั หมด 58,000 คน และฝา่ ยเยอรมันมีผูเ้ สียชีวติ 38,000 คน 1 พฤษภาคม 1915 เรือ U-Boat ของเยอรมัน ทิ้งระเบิดใสเ่ รือพาณิชยบ์ รรทุกนำ้ มนั สัญชาติอเมริกัน ชอ่ื Gulflight ทแี่ ลน่ อยู่ใน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ใกล้กับเกาะซิซิลี ประเทศอิตาลี การสู้รบด้วยเรือดำน้ำแบบไม่จำกัดขอบเขตในมหาสมุทร แอตแลนติกเกิดขึน้ จากการท่ีเยอรมนั ประกาศให้น่านน้ำบรเิ วณเกาะอังกฤษเป็นเขตการสูร้ บทางทะเลและประกาศ กร้าวอย่างชัดเจนวาจะจมเรือพาณิชย์ทกุ ลำที่ลำเลียงอาหารและอาวุธยุทโธปกรณ์ผา่ นเขา้ มาในเขตดังกล่าว ไม่เว้น แม่แตเ่ รอื ของประเทศทีเ่ ป็นกลาง 7 พฤษภาคม 1915 เรอื RMS Lusitania ถกู ยงิ ด้วยตอปโิ ดท่เี รอื U-Boat ปล่อยมา เน่ืองจากเรือพาณชิ ย์น้ีได้เขา้ มาในน่านน้ำที่ เยอรมันประกาศใหเ้ ป็นเขตสู้รบทางทะเล ทำให้เรือลูซิทาเนียอปั ปางลง ภายในเวลา 18 นาที หลังการระเบิดครัง้ ที่ สอง คร่าชวี ติ ผคู้ นบนเรือไปประมาณ 1,201 คน ซ่ึงเป็นชาวอเมรกิ ัน 128 คน สง่ ผลให้ชาวอเมริกันลุกขนึ้ มาประท้วง และประธานาธิบดีวูดโร วิลสนั ส่งคำประทว้ ง 4 ขอ้ ทางการทตู ไปยังเยอรมนั 14
1 กรกฎาคม –18 พฤศจกิ ายน 1916การปะทะทแ่ี มน่ ้ำซอมม์ ประเทศฝรง่ั เศส(Battle of the Somme) หนึ่งในแนวรบฝัง่ ตะวันตกทส่ี ำคัญคือสมรภูมริ บใกล้กับแม่น้ำซอมม์ โดยฝา่ ยสัมพนั ธมิตร(อังกฤษและฝรั่งเศส)สู้ รบกบั ฝา่ ยเยอรมัน ซึ่งถอื เปน็ การปะทะครั้งใหญ่ที่สุดในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 มกี ารใชร้ ถถังเปน็ คร้ังแรก และเป็น การเข้าร่วมสงครามครง้ั แรกของทหารอาสาชาวอังกฤษในนาม Kitchener's Army อังกฤษและฝรั่งเศสตอ้ งการจะใชส้ มรภูมิรบบริเวณแม่น้ำซอมม์ทำลายฐานทัพเยอรมันทีต่ ้ังอยูต่ ลอดแนวรบ เพื่อ ขจัดเยอรมันให้ออกจากฝรั่งเศส แต่ก็ต้องเปลี่ยนแผน เมื่อเยอรมันเข้าโจมตีฝรั่งเศสทางเมือง Verdun ทางภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื ของฝร่ังเศส กองทหารของฝร่ังเศสจึงถูกส่งไปรบท่ีนน่ั แทน แตอ่ งั กฤษก็ยังคงอยโู่ จมตีท่ีแม่น้ำซอมม์ เชน่ เดมิ เพอื่ ทำลายกองกำลงั เยอรมันให้ไขวเ้ ขว 15
ก่อนการสู้รบกันในบริเวณนี้จะเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ฝ่ายสัมพันธมิตรได้เริ่มกระหน่ำยิงและทิ้งระเบิดตาม แนวฝั่งกองทัพเยอรมัน เพราะเชื่อว่าจะเป็นยุทธวิธีที่ทำลายแนวรบฝ่ายเยอรมันได้ แต่อย่างไรก็ตาม ทหารเยอรมันก็ ลว่ งรู้ว่าจะมกี ารกระหนำ่ ยงิ จากฝ่ายสัมพนั ธมิตร จงึ ได้หลบอยู่ในทป่ี ลอดภัยและรอคอยจนส้ินสุดการยิง ยุทธวิธีของฝ่าย สัมพันธมิตรครัง้ นที้ ำลายป้อมปราการของเยอรมนั ได้เพียงเล็กเท่าน้ัน อีกท้ังยุทโธปกรณ์ของฝา่ ยสัมพนั ธมิตรยังทำงานได้ อยา่ งไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งทำให้ฝา่ ยสัมพันธมติ รปราชยั และอังกฤษต้องสูญเสียกองกำลังกว่า 18,000 คน ในวันเริ่มแรก การปะทะที่แม่น้ำซอมม์ แม้จะมีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ยังคงมุ่งหน้าโจมตีตามแนวรบต่อไป จน สามารถยึดดินแดนได้อีก 7 ไมล์ อย่างไรก็ตาม มีผู้ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตมากกว่า 623,000 คน จำนวนผู้เสียชีวิต ท้งั หมดท้งั สองฝ่ายรวมกนั ท้งั ส้ินมากกวา่ 1 ล้านคน 16
ปฏวิ ตั ิรสั เซยี สภาพสงั คม วฒั นธรรมและเศรษฐกจิ ของรัสเซียก่อนการปฏวิ ตั ิ เปน็ ไปโดยมีกษัตริย์หรอื ซาร์เป็นผู้มอี ำนาจสูงสุด ควบคุมกองทัพ เป็นเจ้าของที่ดิน และมีอำนาจกำหนดความเป็นไปของศาสนา ชีวิตของประชาชนและชนชั้นกรรมาชีพ ในชว่ งการเปน็ ประเทศอุตสาหกรรมกล็ ำบากยากแค้น ถูกกดขีส่ วสั ดกิ ารและเงินเดือนจากเจ้าของโรงงาน เหล่าชนชั้นขุน นางกค็ วบคมุ ดูแลประชาชนเยย่ี งทาสหรือสตั ว์ท้งั ทีม่ กี ฎหมายเก่ยี วกบั สิทธกิ ำหนดไว้ เหตุการณ์ “วันอาทิตย์เลือด” หรือ Bloody Sunday ตรงกับวันที่ 22 มกราคม 1905 เป็นเหตุการณ์สำคัญที่ นำไปสู่การปฏิวัติในครั้งนี้ ชนชั้นกรรมาชพี จำนวนมากเดนิ ขบวนไปทีพ่ ระราชวังของซาร์นโิ คลัสท่ี 2 ในกรุงเซนต์ปีเตอร์ สเบิร์กเพื่อยื่นข้อเรียกร้องเกี่ยวกับการได้รับสภาพการทำงาน (Working Conditions) ที่ดีขึ้นเพราะคิดว่าซาร์จะ ช่วยเหลือพวกเขา แต่หลังจากทหารของซาร์นิโคลัสที่ 2 สลายการชุมนุมด้วยการยิงใส่ประชาชนทำให้ความเชื่อถือและ ศรัทธาในตวั ซารล์ ดลงและแรงกระเพ่ือมของความต้องการปฏวิ ัตกิ ็แผ่ขยายไปทั่วประเทศ 17
การปฏิวัติ เริ่มต้นขึ้นจากความไม่พอใจที่สั่งสมมานานของประชาชน ทำให้มีการนัดหยุดงานเพ่ือ ประท้วงและชุมนุมทางการเมือง ซาร์นิโคลัสจึงสั่งให้ทหารในบัญชาการของพระองค์ปราบการจลาจลให้หมดสิ้น แต่ ทหารไมป่ ฏบิ ัตติ ามคำสง่ั และเร่ิมท่ีจะก่อกบฏร่วมกับประชาชน การปฏวิ ัติทำให้ซารต์ ้องสละราชสมบตั ิ และราชวงศ์โรมา นอฟที่ปกครองประเทศมา 303 ปีต้องสิ้นสุด รัฐบาลชั่วคราวถูกจัดตั้งขึ้นมา มีพรรคการเมือง 2 พรรค ได้แก่ พรรคโป โตรกราดโซเวียต (The Petrograd Soviet) ซึ่งเป็นตัวแทนจากชนชั้นกรรมาชีพและทหาร กับพรรครัฐบาลช่ัวคราว (The Provisional Government) ซึง่ เปน็ คณะบุคคลทเี่ คยเปน็ รฐั บาลของซาร์ เพียงแตใ่ นคร้ังนไี้ มม่ ซี ารเ์ ปน็ ผู้นำพรรค 18
สหรัฐอเมรกิ าเข้ารว่ มสงครามโลกครั้งที่ 1 2 เมษายน 1917 ประธานาธิบดีวูดโร วิลสัน กล่าวสุนทรพจน์ในที่ประชุมสภาคองเกรส (The U.S. Congress) ว่า “The world must be made safe for democracy” เพื่อประกาศเจตนารมณ์ที่จะสร้างความ มน่ั คงและจัดระเบยี บโลกใหม่และนำไปสกู่ ารปกป้องและพัฒนาประชาธปิ ไตย 6 เมษายน 1917 สหรัฐอเมริกาประกาศเขา้ สูส่ งครามโลกครั้งที่ 1 โดยรบกับฝา่ ยเยอรมนั ปฏวิ ตั ิเดอื นตลุ าคม, รัสเซยี การปฏิวัติเกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนตุลาคม (ตามปฏิทินจูเลียน) หรือในเดือนพฤศจิกายน (ตามปฏิทินเกรโก เรียน) นำโดย วลาดิเมีย เลนิน (Vladimir Lenin) ผู้นำพรรคบอลเชวิค (Bolsheviks) ที่ต้องการเปลี่ยนรัฐบาล ชั่วคราวเดิมเป็นรัฐบาลตามแนวคิดคอมมิวนิสต์ของคาร์ล มาร์กซ์ รัสเซียจึงกลายเป็นประเทศแรกในโลกที่ปกครอง แบบสังคมนยิ มคอมมวิ นิสต์ ชัยชนะในการปฏิวัติของพรรคบอลเชวิค นำไปสู่การสงบศึกชั่วคราวและลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพ เบรสต์-ลีโตเวส (Brest-Litovsk) กับเยอรมัน รัฐบาลใหม่ภายใต้การนำของวลาดิเมีย เลนิน ดำเนินการจัดการกับ อุตสาหกรรมของประเทศ และปรับย้ายภาคการเกษตรไปสู่การเป็นอุตสาหกรรม ยึดคืนที่ดินการเพาะปลูกจากชน ชัน้ ศกั ดนิ า แล้วแบ่งสรรใหป้ ระชาชน อกี ทงั้ ผหู้ ญงิ มีสิทธิเสมอภาคเทา่ เทียมกบั ผูช้ าย และไม่ยอมรับการมีศาสนา ปฏวิ ตั ิเดือนตลุ าคม, รสั เซีย 19
การรุกของเยอรมันในฤดใู บไมผ้ ลิ (German Spring Offensive) นายพลลูเดนดอฟฟ์ วางแผนการรุกในแนวรบตะวันตกซึ่งมีชื่อว่าแผนปฏิบตั ิการมิคาเอล (The Saint Michael Offensive) เพื่อแยกกองทัพของอังกฤษและฝรั่งเศสออกจากัน โดยกลยุทธในแผนปฏิบัติการดังกล่าว คือ จัดกองกำลัง ขนาดเล็ก พกอาวุธเล็ก หลอกล่อคู่ศัตรแู ลว้ ล้อมโจมตอี ย่างรวดเร็ว สามารถโจมตีกองทัพอังกฤษท่ีอเมนส์สามารถรุกเขา้ ไปได้ถึง 60 ไมล์ นอกจากนี้เยอรมันยังใช้วิธีการแทรกซึมตามแนวสนามเพลาะของฝ่ายสัมพันธมิตร กองทัพเยอรมันรุก เข้าไปใกล้กรงุ ปารสี มากข้ึนเท่าใด กท็ ำใหก้ ารเคล่ือนยา้ ยขนส่งปืนใหญ่และรถถังเป็นไปดว้ ยความยากลำบากมากข้ึนและ การรุกก็ต้องหยุดชะงักลง เป็นโอกาสของฝ่ายสัมพันธมิตร นำโดยสหรัฐอเมริกาที่เข้ามาผลัดเปลี่ยนกับทหารฝรั่งเศสใน การโจมตที หารเยอรมนั ใหแ้ ตกพา่ ย 20
11 พฤศจิกายน 1918การสิ้นสดุ สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 เมื่อชัยชนะตกเป็นของฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้เยอรมันต้องลงนามในสนธิสัญญาสงบศึกในฐานะผู้แพ้สงคราม การลงนามมีขึ้นในเวลา 5 นาฬิกา ที่ตู้รถไฟ สถานีรถไฟเมืองชองปาญ (Compienge) ประเทศฝรั่งเศส แต่การสู้รบตาม แนวรบฝ่ังตะวันตกยังคงมไี ปจนถึงเวลา 11 นาฬกิ าของวันเดียวกนั 21
22
ผลของสงครามโลกคร้งั ที่ 1 กลมุ่ ประเทศความตกลงไตรภาคี (Triple Alliance) แพ้สงคราม หลังจากทีฮ่ นิ ดินเบิร์กแตกก็ดูเหมือนจะถึงเวลาท่เี ยอรมันจะต้องยอมแพ้สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 เพราะไม่เพียงแต่ เกิดสัญญาณท่จี ะต้องยอมแพ้ในประเทศของตนเองเท่านนั้ ประเทศทเ่ี ป็นฝ่ายพันธมิตรของตนเองถงึ คราวที่จะต้องยอม แพ้เชน่ กนั โดยเริม่ จากประเทศแรกซง่ึ กค็ ือบลั แกเรยี ทีไ่ ด้ขอ้ ทำสนธสิ ัญญาสนั ติภาพข้นึ ทัง้ น้เี พราะบัลแกเรยี แพ้สงคราม ให้แก่กรีซและเซอรเ์ บยี ในขณะทดี่ า้ นออสเตรยี มีปญั หาภายในประเทศอย่างหนักจนใกล้จะเกิดการปฏิวตั ภิ ายในข้นึ อีก ทางออสเตรเลียเองก็ต้องพ่ายแพส้ งครามให้แก่อติ าลี ทำใหต้ ้องเสยี ดนิ แดนทอ่ี อสเตรยี เคยยึดครองจากอิตาลีมาได้ วนั ท่ี 3 พฤศจิกายน 1918 ออสเตรเลยี ไดข้ อ้ สรปุ และตอ่ มากษัตรยิ ์ของออสเตรยี ได้ประกาศสละราชสมบตั ิ ทางฝ่ายเยอรมนั เองเมื่อเห็นวา่ ไม่มีอะไรหลงเหลือท่จี ะเข้ามาทำสงครามจึงจำเปน็ ท่ีจะตอ้ งขอทำสัญญาสงบศึก ด้วยเช่นกัน ทัง้ น้ีหลงั จากทเ่ี ยอรมนั จะตอ้ งสูญเสียพนั ธมติ รของตนเองไปแลว้ พลเมอื งในประเทศก็เรมิ่ ท่จี ะอดอยากและ หิวโหย สภาพภายในประเทศเกิดความเสื่อมโทรมอย่างหนักพร้อมกับบรรดาทหารที่กำลังสูญเสียความเชื่อมั่นอย่าง หนัก สำคญั ย่ิงไปกว่าน้ันชาวเมอื งและสงั คมเยอรมนั กำลงั หวาดกลัวต่อฤดหู นาวที่กำลังจะมาเยอื น และเขา้ สู่สภาวะขาด แคลนอาหารในทสี่ ดุ จนทำใหเ้ กิดการจลาจลท่วั ทง้ั ประเทศและปญั หาวุ่นวายตามมามากมาย 23
การทำสนธิสญั ญาสงบศกึ เยอรมันเห็นว่าปัญหามากมายเริ่มก่อตัวขึ้นจนไม่สามารถต้านทานได้ จึงได้ตัดสินใจขอทำสนธิสัญญาสงบศึก ทำให้ตอน 05:00 น. ของเช้าตรู่ วันที่ 11 พฤศจิกายน 1918 การลงนามสนธิสัญญาสงบศึกได้เกิดขึ้นระหว่างฝ่าย พนั ธมิตรและเยอรมนั โดยไดม้ ีการลงนามในรถไฟโดยสารในป่ากองเปียญ โดยผูล้ งนามหลกั ของฝ่ายพันธมิตรนั้นนี้ด้วย ผู้บัญชาการสงู สุดฝ่ายพันธมิตร จอมพลเฟอร์ดนิ านด์ ฟอช และ มัทธิอสั เออรซ์ เบอรเ์ กอร์ ผู้แทนของเยอรมัน การสงบ ศึกดังกล่าวถือว่าเป็นข้อตกลงทางการทหารและแสดงให้เห็นว่าเป็นความพ่ายแพ้ย่างเด็ดขาดของประเทศเยอรมัน ในทันที และในสนธิสัญญาการสงบศกึ นนั้ เองได้มเี งอ่ื นไขซ่งึ ถือว่ารนุ แรงมาต่อเยอรมนั คอื - ใหส้ ิน้ สุดความเปน็ ปรปกั ษ์ทางทหารภายใน 6 ช่ัวโมงหลังจากลงนาม - ให้มีการเคลื่อนย้ายกองกำลังของเยอรมันทั้งหมดออกจากฝรั่งเศส เบลเยียม ลักเซมเบิร์กและอัลซาส และลอรเ์ รนทันที - ให้การเคลื่อนย้ายกองกำลังเยอรมันทั้งหมดออกจากดินแดนทางตะวันตกของและน้ำไรน์ บวกรัศมีของ สะพานอีก 30 กิโลเมตรจากทางขวาของแม่น้ำที่เมืองไมนซ์ โคเบลนซ์และโคโลญน์ พร้อมทั้งให้มีการยึดครองโดยกอง กำลังพนั ธมิตรและสหรฐั อเมรกิ าในภายหลัง - ใหถ้ อนกำลังเยอรมนั ท้งั หมดในแนวรบดา้ นตะวันออกไปยังดินแดนเยอรมัน - ปฏเิ สธสนธสิ ัญญาเบรสต์-ลีตอฟส์กบั รัสเซีย สนธสิ ญั ญาบคู าเรสต์กับโรมาเนีย - นอกจากนฝ้ี า่ ยพันธมิตรทำการกักกันกองเรือของเยอรมันและให้มีการสง่ มอบยุทธปัจจยั ใหก้ บั ฝ่ายพันธมิตร เป็นจำนวนมาก ต่อมาในเวลา 11 นาฬิกา วันเดียวกันนั้นเองการสงบศึกเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไป เสียงปืนใหญ่ที่ดังตอ่ เนื่องสงบ ลง พลเรือนทำการเฉลิมฉลองกันอย่างเต็มที่และรอยยิ้มก็เริ่มเบิกบานอีกครั้งบนใบหน้าของชนชาวยุโรปและชาวโลก จงึ ถอื ได้วา่ สงครามโลกครั้งท่ี 1 ไดป้ ิดฉากลงอย่างเป็นทางการ สนธิสญั ญาแวร์ซาย วดู โรว์ วลิ สัน อดตี ประธานาธบิ ดีสหรฐั อเมรกิ ากำลังยิม้ ในขณะทเ่ี ดนิ นำ 24 ขบวนของบรรดาผนู้ ำยุโรปท่ีเขา้ รว่ มเซน็ สนธสิ ัญญาแวร์ซาย
25
ผลกระทบของสงคราม 1. มีการจัดทำสนธิสัญญาสงบศึกเพื่อเป็นการลงโทษแก่ ประเทศผู้แพ้สงคราม โดยข้อกล่าวหาว่าเป็นฝ่ายผู้ก่อสงคราม ผล ของสัญญาเช่น ผู้แพ้ต้องเสียดินแดน เสียอาณานิคม เสียอำนาจ การปกครองตนเอง เสียอำนาจทางการค้า และต้องจ่ายค่า ปฏิกรรมสงครามจำนวนมหาศาล ซึ่งกลายมาเป็นสาเหตุและ ชนวนท่ีจะนำไปสู่การเกดิ ของสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน ค.ศ. 1939- 1945 2. เกิดประเทศเอกราชใหม่ๆเกิดประเทศขึ้นใหม่เช่น ยูโกสลาเวยี เชคโกสโลวาเกยี โปแลนด์ แลตเวีย ลิธวั เนีย 3. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองใน หลายประเทศ - แยกฮังการี ออกจาก ออสเตรีย - เยอรมนี ออสเตรีย และตุรกี เปลี่ยนแปลงการ ปกครองไปสูร่ ะบบสาธารณรฐั (ยกเลกิ ระบบกษัตรยิ )์ 4. สภาพเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก (ประเทศในยุโรปทั้งที่ เป็นฝ่ายผู้แพ้ (มหาอำนาจกลาง) และฝ่ายชนะ (พันธมิตร) รวมถึง ประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลกต่างได้รับผลกกระทบทางเศรษฐกิจซึ่งเป็น ผลมาจากสงคราม ระบบการเงินทว่ั โลกกระทบกระเทือน) 5. มีทหารเสียชีวิตไปประมาน 8 ล้านคน บาดเจ็บประ มาน 20 ลา้ นคน 6. ความพ่ายแพ้ของมหาอำนาจกลางและความหายนะ ของมนุษยชาติ ทำให้ประเทศต่างๆ มีแนวคิดร่วมมือกันระหว่าง ประเทศเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยมีการจัดตั้งองค์กรสันนิบาตชาติ (League Of Nations) เพ่ือแก้ไขวิกฤตกิ ารณ์ทางการเมืองระหว่าง ประเทศ 7. ความสูญเสียทางสังคมและทางจติ วทิ ยา 26
27
บทสรปุ ของสงครามโลกครัง้ ที่ 1 กวา่ สงครามจะจบลง ประเทศทเ่ี กยี่ วข้องกับความขดั แย้งกส็ ูญเสยี ทหารไปมากกวา่ 8.5 ล้านคน บาดเจ็บอีก กวา่ 21 ลา้ นคน มูลคา่ ความเสียหายท่เี กดิ ขน้ึ รวมเปน็ มูลค่ากว่า 186 พนั ล้านเหรยี ญสหรัฐ ผลจากสงครามโลกทำให้ เกดิ การลม่ สลายของจักรวรรดิออตโตมัน จักรวรรดิออสเตรีย - ฮงั การีก็แยกตัวกลายเป็นออสเตรีย ฮงั การี เชโกสโล วาเกยี และยโู กสลาเวีย สว่ นจกั รวรรดิรสั เซียก็เกดิ การปฏวิ ัติและแยกดนิ แดน กลายเปน็ เอสโตเนยี ฟนิ แลนด์ ลัตเวีย ลิทวั เนยี และโปแลนด์ในเวลาต่อมา รวม ๆ แล้วยโุ รปตะวันออกจึงมปี ระเทศเกดิ ใหม่กว่า 9 ประเทศ ส่วนจักรวรรดิเยอรมนีเองก็ต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามเป็นจำนวนเงินมหาศาล และยังสูญเสียอำนาจการ ปกครองเหนือดินแดนต่าง ๆ ที่เคยครอบครอง (เช่นแอฟริกา) ให้กับฝรั่งเศสและอังกฤษด้วย นอกจากนี้การเซ็น สัญญา (ที่ไม่ค่อยเป็นธรรม) หลายฉบับก็สร้างความไม่พอใจแก่ประเทศผู้แพ้สงคราม และกลายเป็นชนวนสู่ สงครามโลกครั้งท่ี 2 ในเวลาตอ่ มา 28
บรรณานกุ รม ปณั ฑช์ นติ ฬ์ บญุ ญารตั น์. (2557). สงครามโลกครั้งที่ 1 WW1 by MPS6-5 2014, คน้ หาเม่อื 16 ตุลาคม 2564 จาก Youtube: https://www.youtube.com/watch?v=1HRNW_8RW1I วรี ะชัย โชคมุกดา. (2556). หนังสือสงครามโลก 1,2 (ฉบับสมบรู ณ์) WORLD WAR I,II, กรงุ เทพฯ: ยปิ ซ.ี ค้นหาเมอื่ 16 ตลุ าคม 2564 สัญชยั สวุ ังบุตร และคณะ. (2554). ทรรปณะประวตั ิศาสตรย์ โุ รปในศตวรรษที่ 19, กรงุ เทพฯ: ศูนย์หนงั สือจฬุ า. ค้นหาเมื่อ 16ตุลาคม 2564 สุปราณี มขุ วิชติ . (2532). ประวตั ิศาสตรย์ ุโรป ต้งั แต่ปี ค.ศ. 1815-ปัจจุบนั . กรงุ เทพฯ:โอ เอส พริ้น ตงิ้ เฮา้ ส์. ค้นหาเมื่อ 16ตลุ าคม 2564 บา้ นจอมยทุ ธ. (2543). ไทยกับสงครามโลกคร้ังท่ี 1. จาก Baanjomyut: http://www.baanjomyut.com/library/world_war_1/03.html คน้ หาเมอ่ื 16ตุลาคม 2564 (ไมป่ รากฏนามผแู้ ตง่ ). (2559). สงครามโลกครง้ั ท่ีหนึง่ . จาก Wikipedia: https://th.wikipedia.org/wiki/สงครามโลกคร้งั ทห่ี นึ่ง. ค้นหาเมอื่ 16ตลุ าคม 2564 The History Place. (2009). World War I: Comprehensive Year-by-Year Timelines with Photos, Retrieved October 16,2021, from History Place:http://www.historyplace.com/worldhistory/firstworldwar/index.html 29
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: