Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งาน ป.บัณฑิต

งาน ป.บัณฑิต

Published by ปวีณา แสงวิเศษ, 2021-01-24 03:59:56

Description: งาน ป.บัณฑิต

Search

Read the Text Version

ความหมายของสตั วป์ ่ าสงวนและสตั วป์ ่ าคมุ ้ ครอง สถานภาพของสัตว์ปา่ ทหี่ ลายทา่ นคงเคยไดย้ นิ คือ คาํ วา่ \"สตั วป์ ่าสงวน\" กับ \"สัตวป์ า่ คมุ้ ครอง\" แลว้ ทราบไหมว่ามี ความหมายวา่ อะไร เหมือนหรือตา่ งกนั อยา่ งไร หลายครง้ั หลายหนทีเ่ ราไดย้ นิ ขา่ ว มกี ารจบั กมุ ผูล้ ักลอบขนย้ายหรอื นาํ สัตว์ปา่ เข้า-ออก ภายในประเทศ เพราะสตั ว์เหล่านีม้ ี กฎหมายคมุ้ ครองอยู่ คอื พระราชบัญญัติสงวนและคมุ้ ครองสัตว์ป่า มวี ัตถุประสงคเ์ พื่อกาํ หนดสถานภาพของสตั วป์ ่า ใชเ้ ปน็ แนวทางในการอนรุ กั ษ์ คุ้มครองถ่นิ ทอ่ี ยูอ่ าศยั ตามธรรมชาติ ค้มุ ครองสตั วป์ ่าทีใ่ กล้สูญพนั ธ์ุ ควบคุมการนาํ เขา้ สง่ ออก ส่งเสริม การขยายพนั ธสุ์ ัตวป์ ่าบางชนิดเพื่อชว่ ยเพมิ่ ประชากร อนรุ กั ษ์พนั ธ์ุ และลดการกดดันทีเ่ กิดจากการล่า โดยสามารถแยก สถานภาพออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภทดังนี้ สตั วป์ ่าสงวน เป็นสตั ว์ป่าหายากหรือกาํ ลงั จะสูญพันธ์ุ จงึ ห้ามล่าหรอื มไี ว้ในครอบครอง ทัง้ สัตว์ที่ยังมชี ีวิตหรือซากสตั ว์ เวน้ แต่ กระทาํ เพ่ือการศึกษาวจิ ัยทางวิชาการ หรือเพื่อกิจการสวนสาธารณะ โดยได้รับอนญุ าตจากอธบิ ดีกรมปา่ ไม้เป็นกรณพี ิเศษ โดย สตั ว์ท่ถี ูกจัดอยู่ในกลุ่มน้ีมี 15 ชนดิ ไดแ้ ก่ นกเจา้ ฟ้าหญิงสริ ินธร แรด กระซู่ กปู รี ควายปา่ ละองหรอื ละม่ัง สมัน เลยี งผา กวาง ผา นกแตว้ แล้วท้องดาํ นกกระเรียน แมวลายหนิ อ่อน สมเสรจ็ เก้งหม้อ และพะยูน. ส่วนสัตวป์ า่ ค้มุ ครอง หมายถึง สตั ว์ปา่ ตามท่กี ระทรวงกาํ หนดให้เปน็ สัตว์ปา่ คมุ้ ครอง และมีชอื่ อยูใ่ นบญั ชีแนบท้ายของ กฎกระทรวง ประกอบด้วยสตั วป์ า่ จําพวกสัตวเ์ ลย้ี งลกู ด้วยนม 201 ชนิด นก 952 ชนิด สัตวเ์ ล้ือยคลาน 91 ชนิด สัตว์สะเทินนํ้า สะเทนิ บก 12 ชนิด แมลง 20 ชนดิ ปลา 14 ชนิด และสัตวไ์ มม่ ีกระดกู สันหลังอ่ืน ๆ 12 ชนิด เชน่ กระทงิ กระรอกบนิ กวาง เก้ง ชะมด ชะนี ไก่ปา่ นกยูง นกแรง้ นกเงือก งสู งิ งเู หลือม ปูเจา้ ฟ้า เปน็ ตน้ ซ่งึ กฎหมายไม่อนญุ าตให้ลา่ หรอื มไี วใ้ นครอบครอง ซึ่งรวมถึงซากของสัตวเ์ หล่าน้ีดว้ ย เวน้ แตก่ ารกระทาํ โดยทางราชการ. สัตว์ป่ าสงวนของประเทศไทย ความหมายของสัตวป์ า่ สงวน สัตวป์ า่ สงวน หมายถึง สตั ว์ป่าท่ีหายาก กําหนดตามบัญชีทา้ ยพระราชบญั ญตั สิ งวนและคุ้มครองสตั วป์ ่า พ.ศ. 2503 จาํ นวน 9 ชนิด เปน็ สัตว์ปา่ เลีย้ งลกู ด้วยนมทั้งหมด ไดแ้ ก่ แรด กระซู่ กปู รี ควายป่า ละองหรอื ละมง่ั สมัน เนื้อทราย เลยี งผา และกวางผา สัตวป์ า่ สงวนเป็นสัตว์หายาก ใกล้จะสญู พนั ธ์ุ หรอื อาจจะสญู พันธุไ์ ปแล้ว จึงจําเปน็ ตอ้ งมบี ทบัญญตั เิ ข้มงวด กวดขนั เพ่อื ป้องกนั ไม่ให้เกดิ อนั ตรายแก่สตั วป์ า่ ทย่ี งั มีชีวติ อยหู่ รือซากสัตวป์ ่า ซ่งึ อาจจะตกไปอยยู่ งั ตา่ งประเทศดว้ ยการซ้ือขาย ตอ่ มาเมอ่ื สถานการณ์ของสตั ว์ปา่ ในประเทศไทยเปล่ยี นแปลงไป สัตว์ป่าหลายชนิดมแี นวโนม้ ถกู คุกคามเส่ยี งต่อการสญู พนั ธ์ุมาก ย่งิ ข้ึน ประกอบกับเพ่ือใหเ้ กิดความสอดคลอ้ งกบั ความร่วมมอื ระหว่างประเทศในการ ควบคุมดูแลการค้าหรือการลกั ลอบค้าสัตว์ ป่าในรปู แบบต่าง ๆ ตามอนสุ ญั ญาว่าดว้ ยการคา้ ระหว่างประเทศว่าดว้ ยชนดิ สตั ว์ปา่ และพืชปา่ หรือ CITES ซึง่ ประเทศไทยได้ ร่วมลงนามรบั รองอนุสญั ญาในปี พ.ศ. 2518 และไดใ้ ห้สัตยาบัน เม่อื วนั ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2526 นบั เป็นสมาชิกลําดับท่ี 80 จงึ ไดม้ ีการพิจารณาแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัตฉิ บบั เดิมและตราพระราชบญั ญตั สิ งวนและค้มุ ครองสตั วป์ ่า พ.ศ. 2535 ข้ึน ใหม่เมือ่ วันที่ 19 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2535 สตั ว์ป่าสงวนตามในพระราชบญั ญัตฉิ บบั ใหม่ หมายถงึ สัตวป์ า่ ท่ีหายากตามบัญชีทา้ ยพระราชบัญญัตฉิ บับนี้ และตามทก่ี ําหนดโดยตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา ทาํ ใหส้ ามารถเปล่ียนแปลงชนิดสตั วป์ า่ สงวนได้โดยสะดวกโดยออกเป็นพระราช กฤษฎกี าแกไ้ ขหรอื เพม่ิ เติมเท่านนั้ ไมต่ อ้ งถึงกับต้องแกไ้ ขพระราชบญั ญตั อิ ยา่ งของเดมิ ทง้ั นีไ้ ด้มีการเพ่มิ เติมชนิดสัตวป์ ่าที่มี

สภาพลอ่ แหลมต่อการสญู พนั ธอ์ุ ย่างย่ิง 7 ชนิด และตัดสัตว์ป่าทีไ่ มอ่ ย่ใู นสถานะใกล้จะสูญพันธ์ุ เนอื่ งจากการท่สี ามารถ เพาะเลี้ยงขยายพันธุไ์ ด้มาก 1 ชนดิ คือ เนื้อทราย ตอ่ มาในวนั ที่ 9 ตลุ าคม 2558 ทปี่ ระชมุ สงวนคุ้มครองสัตวป์ า่ มีมตเิ หน็ ชอบให้ เพิม่ สัตว์ 4 ชนดิ เป็นสตั ว์สงวน รวมสัตวป์ ่าสงวนมีทง้ั สนิ้ 19 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1. นกเจา้ ฟ้าหญงิ สริ นิ ธร (Pseudochelidon sirintarae) นกเจา้ ฟ้าหญงิ สริ นิ ธร หรอื นกนางแอน่ ตาพอง (องั กฤษ: White-eyed River-Martin , ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Pseudochelidon sirintarae หรอื Eurochelidon sirintarae) เป็น นกจับคอนหนง่ึ ในสองชนิดของสกุลนกนางแอ่นแมน่ า้ํ ในวงศ์นกนางแอ่น พบบรเิ วณบึงบอระเพด็ ในชว่ งฤดหู นาวเพยี งแหง่ เดียว ในโลก แตอ่ าจสูญพันธุ์ไปแลว้ ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2523 นกเจา้ ฟา้ หญิงสริ นิ ธรเป็นนกนางแอ่นขนาดกลาง มีสีดาํ ออกเขยี วเหลือบ ตะโพกขาว หางมีขนคกู่ ลางมแี กนย่นื ออกมาเปน็ เสน้ เรียวแผ่ตรงปลาย วงรอบตาสขี าวหนา ปากสีเหลอื งสดออกเขียว ทั้งสองเพศมลี ักษณะคลา้ ยกัน แตน่ กวัยออ่ นไม่ ขนหางค่กู ลางมแี กนยืน่ ออกมา สีขนออกสีนํา้ ตาลมากกว่านกโตเต็มวยั พฤติกรรมเปน็ ทที่ ราบน้อยมากรวมถงึ แหล่งผสมพนั ธุ์ วางไข่ คาดวา่ เหมอื นนกนางแอ่นชนดิ อื่นที่บนิ จับแมลงกินกลางอากาศ และเกาะคอนนอนตามพืชนํา้ ในฤดูหนาว 2. แรดชวา (Rhinoceros sondaicus) แรดชวา หรือ ระมาด หรือ แรดซนุ ดา (อังกฤษ: Javan Rhinoceros) เป็นสัตวเ์ ลีย้ งลูกด้วยนมขนาดใหญใ่ นอันดบั สัตว์กบี ค่ีในวงศ์แรด อยู่ในสกุลเดียวกันกับแรดอินเดยี เป็น หน่งึ ในหา้ ชนดิ ของแรดท่ียังเหลอื อยู่ ลาํ ตัวยาว 3.1–3.2 ม.สงู 1.4–1.7 ม.มขี นาดใกลเ้ คียงกับแรดดํา เหนือจมูกมีนอส้ัน ๆ หน่งึ นอมขี นาดเลก็ กวา่ แรดทุกชนิด จึงได้อกี ชือ่ วา่ แรดนอเดยี ว

แรดชวาเปน็ แรดเอเชยี ท่ีมีการกระจายพันธ์กุ ว้างทสี่ ดุ ต้ังแต่เกาะในอินโดนเี ซยี ตลอดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดยี และจนี ปจั จุบันแรดชวาถูกคุกคามจนอยใู่ นข้ันวกิ ฤติ มเี พยี งสองแหง่ เท่าน้ันทยี่ งั มปี ระชากรหลงเหลืออยใู่ นป่า ไมม่ ีแรด ชวาจดั แสดงในสวนสัตว์ แรดชวาอาจเป็นสัตว์เล้ียงลูกด้วยนมขนาดใหญท่ ่พี บไดย้ ากทส่ี ดุ ในโลก มปี ระชากรแรดนอ้ ยกวา่ 40-50 ตัวในอทุ ยานแหง่ ชาติอูจุงกูลนบนเกาะชวาในประเทศอนิ โดนีเซยี และประชากรจํานวนเล็กนอ้ ย (ประเมินเมอ่ื ปี พ.ศ. 2550) ไม่ เกิน 8 ตวั ในอุทยานแหง่ ชาตกิ า๊ ตเตยี นในประเทศเวียดนาม แต่ในปัจจุบันมีการยืนยนั ว่าสญู พนั ธไุ์ ปแลว้ การลดลงของแรดชวา เกิดจากการล่าเอานอซ่งึ เปน็ ส่ิงมีคา่ ในการแพทย์แผนจีนซง่ึ มีราคาถึง $30,000 ต่อกก.ในตลาดมดื การสูญเสียถิ่นอาศยั โดยเฉพาะผลของสงครามอยา่ งสงครามเวยี ดนาม มีสว่ นในการลดลงและขัดขวางการฟื้นฟขู องจาํ นวนประชากร แม้พน้ื ท่ี ถนิ่ อาศัยที่เหลือจะไดร้ ับการปกป้องแตแ่ รดชวายังคงเสีย่ งต่อการถูกล่า โรคภัยไข้เจบ็ และการสูญเสยี ความหลากหลายทาง พันธกุ รรมซึง่ จะนาํ ไปสู่การผสมพนั ธใ์ุ นสายเลือดเดียวกนั แรดชวามอี ายุประมาณ 30-45 ปใี นธรรมชาติ อาศยั อยู่ในปา่ ดนิ ช้นื ปา่ หญา้ ชนื้ แฉะ และลุ่มนํา้ ขนาดใหญ่ แรด ชวาเป็นสัตว์สันโดษมกั อยลู่ ําพังเพยี งตัวเดียว ยกเวน้ ชว่ งจบั คู่ผสมพนั ธุ์และเลี้ยงดลู ูกออ่ น บางครั้งจะรวมฝงู กันเมื่อลงแช่ปลัก โคลนหรือลงกนิ โป่ง มอี าหารหลักเปน็ ใบไมอ้ อ่ น ยอดไม้ ตาไม้ และผลไมส้ ุกทร่ี ่วงหล่นตามพ้ืนดิน นอกจากมนุษยแ์ ล้วแรดชวา ไมม่ ีศัตรูอืน่ อกี แรดชวาจะหลกี เลี่ยงมนษุ ย์แตจ่ ะโจมตีเมื่อร้สู กึ ถกู คุกคาม เป็นการยากท่นี กั วทิ ยาศาสตร์และนกั อนรุ กั ษ์จะศึกษา ในแรดชวาโดยตรงเพราะพบยากมากและเป็นอนั ตรายต่อสัตวใ์ กลส้ ูญพนั ธุ์ชนดิ จากการรบกวน นักวิจยั อาศัยเพียงกับดักกล้อง และตัวอยา่ งมลู เพื่อประเมินสขุ ภาพและพฤติกรรม ดังนนั้ จงึ มีการศึกษาในแรดชวานอ้ ยกวา่ ในแรดทุกชนดิ 3. กระซู่ (Dicerorhinus sumatrensis) กระซู่ , แรดสุมาตรา หรือ แรดขน (องั กฤษ: Sumatran Rhinoceros ; ช่อื วทิ ยาศาสตร:์ Dicerorhinus sumatrensis) เปน็ สัตว์เล้ียงลูกดว้ ยนมในอนั ดบั สตั ว์กีบคจ่ี ําพวก แรด กระซเู่ ปน็ แรดที่มขี นาดเล็กที่สดุ ในโลก และเป็นแรดเพียงชนดิ เดยี วที่อยูใ่ นสกลุ Dicerorhinus มลี ักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรดแอฟริกา โดยนอจะไม่ต้ังยาวขึน้ มาเหมอื นแรดชวา นอหนา้ ใหญก่ ว่านอหลงั โดยท่วั ไปยาว 15-25 ซม. ลาํ ตวั มขี น หยาบและยาวปกคลุม เมอ่ื โตเต็มท่ีสงู 120–145 ซม. จรดหวั ไหล่ ยาว 250 ซม. และมีนํา้ หนัก 500-800 กก. กระซู่อาศัยอยใู่ นปา่ ดิบชน้ื ปา่ พรุ และ ปา่ เมฆในประเทศอินเดยี ภฏู าน บงั กลาเทศ พม่า ลาว ไทย มาเลเซยี อนิ โดนีเซยี และจนี โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในมณฑลเสฉวน ปจั จบุ ัน กระซถู่ กู คกุ คามจนอยใู่ นข้ันวกิ ฤติ เหลอื สังคม ประชากรเพียงหกแหล่งในปา่ มีส่แี หลง่ ในสมุ าตรา หนง่ึ แหลง่ ในบอรเ์ นียวและอีกหนง่ึ แหล่งในมาเลเซยี ตะวันตก จํานวนกระซู่ใน ปจั จุบนั ยากทจ่ี ะประมาณการไดเ้ พราะเปน็ สตั วส์ ันโดษท่มี ีพิสยั กระจัดกระจายเป็นวงกว้าง แต่คาดว่าเหลอื อยู่ไมถ่ ึง 100 ตวั สาเหตอุ นั ดับแรกของการลดลงของจาํ นวนประชากรคือการลา่ เอานอซึง่ มีคา่ มากในการแพทย์แผนจนี ขายไดถ้ งึ 30,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อกโิ ลกรมั ในตลาดมดื นอกจากน้ียงั ถกู คกุ คามถิน่ อาศัยจากอุตสาหกรรมปา่ ไมแ้ ละเกษตรกรรม กระซเู่ ป็นสตั วส์ ันโดษมักอยู่เพียงลําพังตัวเดยี วยกเว้นชว่ งจบั คูผ่ สมพนั ธุแ์ ละเลีย้ งดูลกู ออ่ น กระซู่เปน็ แรดทเี่ ปล่ง เสียงรอ้ งมากที่สุดการสอ่ื สารของกระซยู่ ังรวมถึงการทาํ ร่องรอยดว้ ยเทา้ บดิ งอไมห้ นุ่มเป็นรูปแบบตา่ งๆ และการถา่ ยมลู และ ละอองเยีย่ ว มีการศกึ ษาในกระซ่มู ากกวา่ แรดชวาซึ่งเปน็ สตั วส์ นั โดษเหมือนกัน เพราะโปรแกรมที่นํากระซู่ 40 ตัวมาสู่กรงเลยี้ งท่ี

มีเป้าหมายเพอ่ื อนรุ กั ษ์สปชี สี น์ ีไ้ ว้ ในตอนแรกโปรแกรมน้ีถือวา่ ประสบความล้มเหลว มีกระซตู่ ายจํานวนมากและไม่มีการให้ กําเนิดลูกกระซ่เู ลยเกอื บ 20 ปี การสญู เสียกระซใู่ นโปรแกรมมากกว่าการสูญเสยี กระซูใ่ นปา่ เสยี อกี 4. กปู รี (Bos sauveli) กปู รี หรือ โคไพร (เขมร: ถดรูไดคพร แตอ่ า่ นวา่ ปรี แปลวา่ ปา่ ) มชี อื่ วทิ ยาศาสตรว์ า่ Bos sauveli เป็นสตั ว์จําพวกกระทิงและวัวปา่ เปน็ สตั วก์ ีบคู่ ตวั โต โคนขาใหญ่ ปลายหางเป็น พขู่ น ตัวผู้ มขี นสีดํา ขนาดความสงู 1.71 - 1.90 เมตร ขนาดลําตัว 2.10 - 2.22 เมตร นํ้าหนักตวั ประมาณ 700 - 900 กโิ ลกรัม เขาตัวผ้จู ะโค้งเป็นวงกว้าง แล้วตีวงโค้งไปขา้ งหน้า ปลายเขาแตกออกเปน็ พคู่ ลา้ ยเสน้ ไมก้ วาดแขง็ ขาท้งั 4 มถี ุง เท้าสขี าวเช่นเดยี วกบั กระทงิ (B. gaurus) ในตัวผ้ทู ่มี อี ายมุ าก จะมีเหนยี งใต้คอยาวห้อยลงมาจนเกือบจะถงึ ดิน เชอ่ื วา่ ใชใ้ นการ ระบายความรอ้ น ตัวเมยี มขี นสีเทา มีเขาตวี งแคบแลว้ ม้วนขึน้ ดา้ นบน ไมม่ พี ู่ท่ปี ลายเขา มีเขากลวงแบบ Horns ขนาดเทา่ กัน โคนเขาใหญ่ ปลายเขาแหลม ไมม่ ีการแตกก่งิ ยาวประมาณ 1 เมตร 5. ควายปา่ (Bubalus bubalis) ควายป่า (อังกฤษ: Wild water buffalo; มราฐี: ) เป็นสัตว์เลย้ี งลูกดว้ ยนมชนิดหนึง่ มชี ่ือวิทยาศาสตรว์ ่า Bubalus arnee

มลี ักษณะคลา้ ยควายบา้ น (B. bubalis) ทอี่ ยู่ในสกลุ เดยี วกนั แต่ควายป่าแตม่ ลี ําตัวขนาดลาํ ตวั ใหญก่ ว่า มีนิสัย วอ่ งไวและดุร้ายกว่าควายบ้านมาก สีลาํ ตัวโดยทว่ั ไปเป็นสเี ทาหรือสีน้าํ ตาลดํา ขาท้ัง 4 สขี าวแก่หรือสีเทาคลา้ ยใสถ่ งุ เทา้ สีขาว ด้านล่างของลาํ ตวั เป็นลายสขี าวรูปตัววี (V) ควายป่ามีเขาทงั้ 2 เพศ เขามีขนาดใหญ่กว่าควายบ้านมาก วงเขากางออกกวา้ งโค้ง ไปทางด้านหลงั ดา้ นตัดขวางเปน็ รปู สามเหลี่ยม ปลายเขาเรยี วแหลม ตวั โตเตม็ วัยมีความสงู ท่ีไหลเ่ กือบ 2 เมตร ความยาวหัวและลําตัว 2.40 เมตร - 2.80 เมตร ความยาวหาง 60 - 85 เซนตเิ มตร นํา้ หนักมากกว่า 1,000 กโิ ลกรัม มกี ารกระจายพันธ์ุจากประเทศเนปาลและอินเดีย ไปส้ินสดุ ทางด้านทศิ ตะวนั ออกท่ปี ระเทศเวยี ดนาม ใน ประเทศไทยปัจจบุ ัน เหลืออยบู่ รเิ วณเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตวป์ า่ หว้ ยขาแข้ง จังหวัดอทุ ยั ธานีเทา่ นั้น โดยจํานวนประชากรทม่ี ีมากท่สี ดุ ในธรรมชาตใิ นปัจจบุ ัน คือ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาตกิ าจริ งั คา ในรฐั อัสสัมของอินเดีย ประมาณ 1,700 ตัว หากินในเวลาเชา้ และเวลาเย็น อาหารไดแ้ ก่ พวกใบไม้ หญ้า และหนอ่ ไม้ หลังจากกินอาหารอิม่ แล้ว ควายปา่ จะนอนเคย้ี วเอ้อื งตามพมุ่ ไม้ หรือนอนแชป่ ลักโคลนตอนชว่ งกลางวัน ควายปา่ จะอยูร่ ว่ มกนั เปน็ ฝงู ฤดผู สมพนั ธ์ุอยูร่ าว ๆ เดอื น ตลุ าคมและพฤศจกิ ายน ตกลกู ครัง้ ละ 1 ตวั ต้ังทอ้ งนาน 10 เดือน ควายป่ามีนิสัยดรุ า้ ยโดยเฉพาะตัวผูแ้ ละตัวเมียที่มีลูกออ่ น เมอ่ื พบศัตรูจะตวี งเข้าปอ้ งกันลูกอ่อนเอาไว้ มีอายยุ ืนประมาณ 20 - 25 ปี โดยควายปา่ มกั ตกเปน็ อาหารของสตั ว์กนิ เนอ้ื โดยเฉพาะเสอื โคร่ง ในอินเดีย ควายปา่ มกั อาศยั อยู่ร่วมในพื้นท่ีเดยี วกบั แรดอินเดีย ซง่ึ เป็นสัตว์ดรุ ้าย แม้จะเป็นสัตวก์ ิชพืช เหมอื นกัน แตก่ ็มักถูกแรดอินเดียทํารา้ ยอยู่เสมอ ๆ จนเป็นบาดแผลปรากฏตามร่างกาย สถานภาพในประเทศไทย ปจั จบุ ันเปน็ สตั ว์ปา่ สงวนตามพระราชบญั ญตั ิสงวนและคุม้ ครองสตั วป์ า่ แหง่ ชาติ พุทธศักราช 2535 6. ละอง หรอื ละมงั่ (Rucervus eldi) ละองหรอื ละมั่ง (อังกฤษ: Eld's deer, Thamin, Brow- antlered deer; ชือ่ วิทยาศาสตร:์ Panolia eldii) เป็นสัตวเ์ ลีย้ งลูกด้วยนมในอนั ดบั สัตว์กบี คูช่ นิดหนงึ่ เปน็ กวางขนาดกลาง ขน ตามลาํ ตัวสนี ้ําตาลแดง แต่สขี นจะออ่ นลงเมอ่ื เขา้ สู่ฤดูร้อน ขนหยาบและยาว ในฤดหู นาวขนจะยาวมาก แตจ่ ะรว่ งหล่นจนดสู ั้น ลงมากในชว่ งฤดูรอ้ น ในตวั ผจู้ ะเรียกวา่ ละอง ตวั เมียซงึ่ ไม่มีเขาจะเรียกวา่ ละมง่ั แตจ่ ะนยิ มเรยี กคกู่ ัน สันนิษฐานวา่ เพย้ี นมาจาก ภาษาเขมรคาํ ว่า \"ลําเมยี ง\" ) ละองตัวที่ยังโตไมเ่ ต็มวยั จะมีขนแผงคอทย่ี าว ลูกแรกเกิดจะมจี ุดสีขาวกระจายอยูร่ อบตวั และจดุ น้ี

จะจางหายเมือ่ อายุมากข้นึ ขอบตาและรมิ ฝีปากล่างมีสีขาว มีความยาวลาํ ตวั และหวั 150-170 เซนติเมตร ความยาวหาง 220- 250 เซนติเมตร น้าํ หนกั 95-150 กโิ ลกรมั 7. สมัน หรือเน้อื สมนั (Rucervus schomburki) สมัน หรอื ฉมนั หรือ เนือ้ สมัน หรอื กวางเขาสมุ่ (อังกฤษ: Schomburgk's deer) เป็นสัตวเ์ ลยี้ งลกู ด้วยนมจําพวกสตั ว์กีบคูช่ นิดหนึ่ง มชี ่อื วทิ ยาศาสตร์ว่า Rucervus schomburgki เป็นกวางขนาดกลาง ขนตามลาํ ตวั สีนา้ํ ตาลเข้ม ทอ้ งมสี ีออ่ นกว่า รมิ ฝปี ากล่างและด้านลา่ งของหางเปน็ สขี าว มี ลกั ษณะเด่นคอื ตวั ผจู้ ะมเี ขาแตกแขนงออกไปมากมายเหมือนกงิ่ ไม้ แลดสู วยงาม จึงได้ช่อื ว่าเปน็ กวางทีม่ เี ขาสวยทสี่ ุดในโลก มี ก่งิ รบั หมาหรือก่งิ เขาทย่ี ื่นออกไปขา้ งหน้ายาวกวา่ กิ่งรบั หมาของกวางชนิดอืน่ ๆ สมนั มีความยาวลําตัว 180 เซนติเมตร ความ ยาวหาง 10 เซนติเมตร มีความสงู จากพ้นื ดนิ ถงึ หัวไหล่ 100-110 เซนติเมตร นํ้าหนกั ประมาณ 100-120 กโิ ลกรมั สมันน้นั ว่งิ เร็ว ประมาณ 100 กโิ ลเมตร ต่อช่ัวโมง มกี ารกระจายพันธ์ุเฉพาะในท่รี าบลมุ่ ภาคกลางของไทยเทา่ นน้ั รวมถงึ บริเวณกรุงเทพมหานครในปจั จุบนั ดว้ ย โดยอาศัยอย่ใู นทที่ งุ่ โลง่ กว้าง ไมส่ ามารถหลบหนีเข้าป่าทึบได้เนอื่ งจากกงิ่ ก้านของเขาจะไปตดิ พนั กบั กง่ิ ไม้ จึงเปน็ จุดอ่อนให้ถู กล่าไดอ้ ยา่ งง่ายดาย ในสมัยอดตี ชาวบา้ นจะลา่ สมนั ดว้ ยการสวมเขาปลอมเปน็ ตัวผเู้ พือ่ ล่อตวั เมียออกมา จากนั้นจึงใชป้ ืนหรือ หอกพุง่ ยิง ปัจจบุ นั สมนั สญู พนั ธุแ์ ลว้ สมันในธรรมชาตติ วั สดุ ท้ายถูกนายตาํ รวจคนหนึ่งยิงตายเมื่อ พ.ศ. 2475 ทจี่ งั หวดั กาญจนบุรี สมนั ตวั สุดท้ายในทีเ่ ล้ียงถกู ครูพละตตี ายทว่ี ัดแห่งหนึง่ ในตาํ บลมหาชยั จังหวดั สมุทรสาคร เมอื่ พ.ศ. 2481 ในปี พ.ศ. 2534 มรี ายงานว่าพบซากเขาสมนั สดขายในร้านขายยาใจกลางเมืองพงสาลี และแขวงหลวงพระ บาง ทางภาคเหนือของลาว ทาํ ใหส้ นั นิษฐานว่าอาจจะมีสมันหลงเหลืออย่ใู นประเทศลาวกเ็ ป็นได้ แต่เร่อื งนี้ยงั ไม่มีหลกั ฐาน ยืนยันเพียงพอ โดยทีท่ ัง้ ช่ือสามญั ในภาษาอังกฤษและชื่อวิทยาศาสตร์ของสมันตง้ั เพ่ือเปน็ เกียรติแก่ เซอรโ์ รเบริ ์ต แฮร์มันน์ โชม บวรก์ ผู้เปน็ กงสลุ องั กฤษประจําราชอาณาจกั รสยามทนี่ าํ สมันเขา้ ไปเผยแพรใ่ นยโุ รปเป็นคนแรก

8. เลยี งผา (Capricornis sumatraensis) เลียงผา หรอื เยียงผา หรอื โคราํ (อังกฤษ: Serow; อีสาน: เยือง) เป็นสกุลของสัตวก์ บี คสู่ กุลหนง่ึ ในวงศ์ Bovidae วงศ์ยอ่ ย Caprinae คอื วงศ์เดียวกับแพะและแกะ ใชช้ ่ือ วิทยาศาสตร์วา่ Capricornis (/แคป/-ปริ-คอร์-นสิ /) เลียงผามีลกั ษณะคล้ายกบั กวางผา ซึ่งเดิมกเ็ คยถกู จดั ใหอ้ ย่สู กลุ เดียวกันมา (ซง่ึ บางข้อมูลยงั จัดให้อยสู่ กลุ เดยี วกนั ) แตเ่ ลยี งผามขี นาดใหญ่กวา่ มลี ักษณะคล้ายแพะแต่มีรูปหนา้ ยาวกว่า มีลําตัวสน้ั แตข่ อยาว ตัวเมยี มขี นาดเลก็ กวา่ ตวั ผู้ มีเขาท้งั ตวั ผแู้ ละตวั เมยี เขางอกยาวตอ่ เนอ่ื งทกุ ปี ลกั ษณะของกะโหลกเม่อื เปรยี บเทยี บกับกวางผาทมี่ ีกะโหลกโคง้ เว้าแล้ว เลยี งผามีกะโหลกแบน ขนตามลําตัวจะแปรเปลี่ยนไปตามอายุ, สภาพแวดล้อมที่อยอู่ าศยั และชนิดพนั ธ์ุ มขี นหยาบและไม่เป็น 2 ชั้นเหมือนกวางผา ใตต้ ามตี อ่ มน้ํามันใช้สาํ หรับถตู ามต้นไม้หรอื โขดหินเพือ่ ประกาศอาณาเขต พบกระจายพนั ธุ์อย่างกว้างขวาง ตง้ั แต่เอเชียใต,้ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้, อนิ โดนเี ซยี จนถึงเอเชียตะวันออก เช่น จนี , ไตห้ วัน, ญีป่ ุน่ โดยมกั อยูต่ ามหน้าผาหรือ ภเู ขาสูง หรอื ตามเกาะต่าง ๆ กลางทะเล มีความสามารถในการปีนป่ายทส่ี งู ชันไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว โดยสามารถทําความเร็วใน การข้ึนที่สูงได้ถงึ 1,000 เมตร ดว้ ยเวลาเพยี ง 15 นาที เลียงผา ถอื เปน็ สตั ว์ท่ีมคี วามเก่าแกท่ สี่ ดุ ในวงศ์ยอ่ ยน้ี โดยปรากฏมาต้งั แตย่ คุ ไพลโอซีนราว 2-7 ลา้ นปีมาแลว้

9. กวางผาจนี (Naemorhedus griseus) กวางผาจนี หรือ กวางผาจีนถน่ิ ใต้ (อังกฤษ: Chinese goral, South China goral) เปน็ สตั ว์เลยี้ งลกู ด้วยนมจาํ พวกสตั ว์กีบคู่ชนิดหน่งึ มีชือ่ วิทยาศาสตร์วา่ Naemorhaedus griseus อยู่ในวงศ์ Bovidae มีรูปร่างหน้าตาคล้ายแพะ มหี ยู าว ขนตามลําตัวหยาบและหนามสี เี ทาหรือนํ้าตาลเทา มแี ถบสีดาํ พาดอยู่กลาง หลัง ตวั เมยี จะมีสีขนอ่อนกวา่ ตวั ผู้ บริเวณลําคอด้านในมขี นสีออ่ น ริมฝปี ากและรอบ ๆ ตาสขี าว เขาส้นั มีสดี าํ ตัวผ้จู ะมีเขาที่ หนาและยาวกวา่ ตัวเมยี มีความยาวลําตัวและหวั 82-120 เซนติเมตร ความยาวหาง 7.5-20 เซนติเมตร ความสงู จากพน้ื ดินถงึ หัวไหล่ 50-60 เซนตเิ มตร นํา้ หนกั 22-32 กิโลกรัม ผสมพนั ธใ์ุ นเดอื นตุลาคม-ธันวาคมใช้เวลาตง้ั ท้องนาน 6 เดือน ออกลูกคร้งั ละ 1-2 ตวั เป็นสัตว์ที่ตืน่ ตกใจงา่ ย เมอ่ื ตกใจจะส่งเสยี งรอ้ งสัน้ และสงู เปน็ สญั ญานเตือนภยั ถึงตวั อ่ืน ๆ ในฝงู มกั ออกหากินตาม ทงุ่ หญ้าโล่งในเวลากอ่ นพระอาทิตยต์ กดินจนถึงเวลาเชา้ ตรู่ กนิ อาหารได้แก่ หญา้ , ยอดออ่ นของใบไม้, รากไม้ และลูกไม้เปลือก แข็งจาํ พวกก่อเป็นอาหารหลกั สามารถว่ายนํ้าไดด้ เี หมือนเลียงผา และเคยมรี ายงานว่า เคยลงมากนิ น้ําและวา่ ยขา้ มแม่น้ํา มอี ายุ เต็มท่ี 11 ปี 10. นกแต้วแรว้ ท้องดาํ (Pitta gurneyi) นกแตว้ แรว้ ทอ้ งดํา หรอื นกแตว้ แล้วท้องดาํ (อังกฤษ: Gurney's Pitta, ช่อื วทิ ยาศาสตร์: Pitta gurneyi) เปน็ นกทพี่ บในพม่าและไทย ปัจจุบันพบได้ที่ เขานอจจู้ ี้ เขตรกั ษา พนั ธส์ุ ัตว์ป่าเขาประ-บางคราม อาํ เภอคลองทอ่ ม จังหวดั กระบ่ี และบางสว่ นในประเทศพม่า นกแต้วแร้วท้องดาํ ถูกคน้ พบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2418 ในเขตตะนาวศรี ประเทศพมา่ มรี ายงานการพบครั้ง

สุดท้าย ในประเทศพมา่ ปี พ.ศ. 2457 และไมพ่ บอีกเลยตดิ ต่อกนั นานถงึ 50 ปี ทาํ ให้ CITES ขน้ึ บัญชเี ปน็ สัตวท์ ี่สญู พันธุ์ ต่อมา ในปี พ.ศ. 2529 ถูกค้นพบในประเทศไทยโดย Assoc. Prof. Philip D. Round และ อุทัย ตรีสุคนธ์ โดยพบ 44-45 คู่ แต่ในปี พ. ศ. 2540 เหลอื เพียง 9 คเู่ ท่านัน้ ปัจจบุ ันคาดวา่ มีอยปู่ ระมาณ 13-20 คเู่ ทา่ น้ัน จงึ ถกู ใหเ้ ปน็ สัตว์ปา่ สงวน 15 ชนิดของไทย ตาม พระราชบญั ญัตสิ งวนและคุม้ ครองสัตวป์ ่า พ.ศ. 2535 ซ่ึง IUCN เคยประเมนิ สถานภาพใหอ้ ยใู่ นระดบั ใกลส้ ูญพันธุอ์ ย่างยิ่ง (CE) แตจ่ ากการทีก่ ารสาํ รวจพบประชากรของนกชนดิ นี้ในประเทศพม่ามากขนึ้ ในปี พ.ศ. 2551 จึงปรบั สถานภาพให้ดีข้นึ เล็กน้อย เป็นใกล้สญู พันธ์ุ(EN) นกแตว้ แรว้ ท้องดาํ เป็นหนง่ึ ในนกแต้วแร้ว (Pitta sp.) 12 ชนดิ ท่พี บไดใ้ นประเทศไทย รปู รา่ งอว้ นป้อม คอสนั้ หัวโต หางสั้น ลาํ ตวั ยาว 22เซนติเมตร ตัวผหู้ วั มสี ีดาํ กระหม่อมและทา้ ยทอยสีน้าํ เงินเหลอื บฟา้ หางสนี ํา้ เงนิ อมเขียว ท้องสี เหลืองสดมีริ้วสดี ําบาง ๆ พาดสลับตลอดช่วงท้อง ใต้ทอ้ งมแี ต้มสีดาํ อันเป็นทม่ี าของช่ือ ตวั เมียกระหมอ่ มสเี หลอื งออ่ น มีแถบดาํ ผา่ นใตต้ าลงไปถึงแก้ม ทอ้ งสีขาว มีแถบสีน้ําตาลขวางจากอกลงไปถึงก้น อาศยั อยใู่ นปา่ ดบิ ทร่ี าบต่ํา ซึ่งมรี ะดับความสูงไมเ่ กิน 200 เมตรจากระดับนา้ํ ทะเล มกั พบตามที่ราบ ใกลร้ ่องนา้ํ หรือลาํ ธารทีช่ น้ื แฉะ ไมช่ อบอยบู่ ริเวณที่มีไมพ้ น้ื ลา่ งข้นึ รกทบึ หากนิ ดว้ ยการกระโดดหาแมลงบนพืน้ ดนิ กินหรอื อาจขุดไสเ้ ดอื นดนิ ขน้ึ มากิน บางครั้งอาจจับกบ และ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลานขนาดเล็กด้วย โดยเฉพาะในช่วงมีลกู อ่อน นกตวั ผู้จะรอ้ งหาคู่ด้วยเสยี ง 2 พยางค์ เรว็ ๆ ว่า \"ท-รบั \" แต่ถา้ ตกใจจะรอ้ งเสียงว่า \"แตว้ แต้ว\" เวน้ ชว่ งแตล่ ะ พยางคป์ ระมาณ 7-8 วินาที และอาจร้องนานเป็นช่วั โมง สว่ นเสยี งทีใ่ ช้ในการสื่อสารกนั ระยะใกล้จะใช้เสียงนุ่มดงั ว่า \"ฮุ ฮ\"ุ มีฤดผู สมพันธ์อุ ยใู่ นชว่ งเดอื นมนี าคม-มิถนุ ายน ออกไขค่ ราวละ 3-4 ฟอง 11. นกกระเรยี นไทย (Grus antigone) นกกระเรยี น หรือ นกกระเรียน (องั กฤษ: Sarus crane) เป็นนกขนาดใหญ่ที่ไม่ใช่นกอพยพ พบในบางพนื้ ท่ขี องอนทุ วปี อินเดยี เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ ประเทศ ออสเตรเลยี เป็นนกบนิ ไดท้ ่ีสูงทส่ี ดุ ในโลก เม่ือยืนจะสูงถึง 1.8 ม. สงั เกตเหน็ ได้งา่ ย ในพืน้ ท่ีชุ่มน้ําเปิดโลง่ นกกระเรยี นไทย แตกต่างจากนกกระเรียนอน่ื ในพืน้ ทเ่ี พราะมีสีเทาทัง้ ตวั และมสี ีแดงที่หัวและบรเิ วณคอดา้ นบน หากนิ ในทลี่ ่มุ มีน้ําขังบริเวณนา้ํ ตื้น กินราก หวั แมลง สัตวน์ าํ้ และ สตั วม์ กี ระดูกสนั หลังขนาดเล็กเปน็ อาหาร นกกระเรียนไทยเหมือนกบั นกกระเรียนอ่นื ที่มกั มคี ตู่ วั เดยี วตลอดชวี ิต นกกระเรยี นจะปกป้องอาณาเขตและเกี้ยวพาราสโี ดยการกางปีก สง่ เสยี งรอ้ ง กระโดดซ่ึงดูคลา้ ยกบั การเตน้ ราํ ในประเทศอินเดยี นกกระเรยี นเป็นสญั ลกั ษณ์ของความซอื่ สตั ย์ในชีวติ แตง่ งาน เช่อื กนั ว่าเม่ือคู่ตายนกอีกตวั จะเศร้าโศกจน ตรอมใจตายตาม ฤดูผสมพนั ธหุ์ ลักอยใู่ นฤดฝู น ค่นู กจะสร้างรงั เป็น\"เกาะ\"รปู วงกลมจากกก ออ้ และ พงหญา้ มีเส้นผ่าศูนยก์ ลาง

เกอื บสองเมตรและสงู เพียงพอท่ีจะอยเู่ หนือจากนํ้ารอบรัง นกกระเรียนไทยกําลังลดลงอย่างรวดเรว็ ในคริสตศ์ ตวรรษท่ผี ่านมา คาดกันวา่ ประชากรมเี พียง 10 หรือน้อยกว่า (ประมาณ 2.5%) ของจํานวนท่ีมีอยูใ่ นครสิ ตท์ ศวรรษ 1850 ประเทศอินเดยี คือ แหลง่ ท่มี ัน่ ของนกชนดิ น้ี ท่ซี ึ่งนกเป็นท่ีเคารพและอาศยั อยใู่ นพื้นทกี่ ารเกษตรใกลก้ ับมนุษย์ นกกระเรียนน้นั สูญหายไปจากพื้นที่ การกระจายพันธุใ์ นหลายๆพนื้ ทใ่ี นอดีต 12. แมวลายหินอ่อน (Pardofelis marmorata) แมวลายหินอ่อน (องั กฤษ: Marbled cat; ชอื่ วิทยาศาสตร:์ Pardofelis marmorata) เปน็ สตั วเ์ ล้ยี งลกู ด้วยนมในวงศเ์ สอื (Felidae) ท่มี ขี นาดเท่ากบั แมวบ้าน (Felis catus) แตม่ ีหางยาวกว่าและมขี นท่ีหางมากกว่า หวั มีขนาดเลก็ กลมมน สขี นมีลวดลายเปน็ แถบหรอื เปน็ ดวงคล้ายลวดลายของเสอื ลาย เมฆ(Neofelis nebulosa) หรือลวดลายบนหินออ่ น ปจั จุบันนกั วิชาการแบง่ แมวลายหนิ ออ่ นออกเปน็ 2 ชนดิ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ P. m. marmorata และ P. m. charltoni ถนิ่ อาศัยของแมวลายหินอ่อนอย่ใู นรัฐอัสสมั ทางตะวันออกเฉยี งเหนือของอนิ เดีย เนปาล (P. m. chartoni) เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา เมื่ออย่ใู นปา่ ทึบตามธรรมชาตจิ ะพบเหน็ ได้นอ้ ย ปัจจุบนั ยงั มี การศกึ ษาค้นคว้าเกี่ยวกับแมวชนดิ นี้อยู่นอ้ ย และยงั ไมท่ ราบจํานวนประชากรที่แนน่ อน ขณะเดยี วกันป่าที่เปน็ ถิน่ อาศัยกม็ พี นื้ ที่ ลดลง ทําใหป้ จั จุบันแมวชนดิ น้ีอยู่ในสถานะท่เี สย่ี งต่อการสูญพนั ธ์ุ พฤตกิ รรมของแมวลายหินอ่อน เม่ืออยู่ในทเ่ี ลีย้ งค่อนข้างดุรา้ ยกวา่ เสือหรือแมวป่าชนิดอน่ื ๆ มีอายุในสถานท่ี เลี้ยงยืนสุด 12 ปี 13. สมเสร็จมลายู (Tapirus indicus) Malayan tapir, Asian tapir) บ้างเรยี ก ผสมเสรจ็ สมเสรจ็ มลายู หรือ สมเสรจ็ เอเชีย (องั กฤษ:

สมเสรจ็ มลายเู ปน็ สตั วเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยนมในอนั ดบั สตั ว์กบี ค่ี นบั เปน็ สมเสร็จชนดิ ทีม่ ีขนาดใหญ่ทส่ี ุดและเป็นชนดิ เดยี วทพ่ี บในทวีปเอเชีย มีชื่อวทิ ยาศาสตร์ว่า Tapirus indicus เปน็ สตั ว์มีหน้าตาประหลาด คือ มีลกั ษณะของสตั วห์ ลายชนิดผสมอยใู่ นตวั เดยี วกนั มีจมกู ทีย่ น่ื ยาวออกมา คลา้ ยงวงของช้าง รปู รา่ งหน้าตาคลา้ ยหมทู มี่ ขี ายาว หางส้นั คลา้ ยหมีและมกี บี เท้าคล้ายแรด ลักษณะเดน่ คอื บริเวณสว่ นหวั ไหล่ และขาทั้งส่ขี า้ งมสี ีดาํ สว่ นกลางลาํ ตวั เป็นสขี าว ใบหกู ลม ขนปลายหูและรมิ ฝีปากมีสีขาว มแี ผ่นหนังหนาบริเวณสันกา้ นคอเพอ่ื ป้องกันการโจมตขี องเสือโคร่ง ทจี่ ะตะปบกดั บรเิ วณก้านคอ ลกู ทเ่ี กิดใหมจ่ ะมีลวดลายคล้ายแตงไทยและขนยาว และลายน้ีจะ คอ่ ย ๆ จางลงเมื่ออายุได้ 6-8 เดอื น ตวั ผู้จะมีขนาดเล็กกวา่ ตวั เมยี โตเตม็ ทีค่ วามยาวลําตวั และหัว 220-240 เซนติเมตร ความ ยาวหาง 5-10 เซนตเิ มตร ความสูงจากพืน้ ดินถงึ หัวไหล่ 100 เซนติเมตร มนี าํ้ หนกั 250-300 กโิ ลกรัม 14. เกง้ หม้อ (Muntiacus feai) เกง้ หมอ้ หรือ กวางเขาจกุ หรือ เก้งดาํ หรือ เก้งดง (อังกฤษ: Fea's muntjac, Tenasserim muntjac; ชือ่ วิทยาศาสตร:์ Muntiacus feae) เป็นสตั วเ์ ลยี้ งลูกดว้ ยนมในอันดบั สตั ว์ กบี ค่จู ําพวกกวาง มลี กั ษณะคล้ายเก้งธรรมดา (M. muntjac) แตต่ ่างกันเกง้ หม้อจะมีขนบรเิ วณลําตวั ท่เี ข้มกวา่ ใบหนา้ มีสีนํา้ ตาล เขม้ บริเวณกระหม่อมและโคนขามีสีเหลอื งสด ดา้ นล่างของลาํ ตัวมสี ีน้ําตาลออ่ น ขาท้ัง 4 ขา้ งมสี ดี ํา จงึ เป็นทม่ี าของอีกชือ่ สามัญ ทเี่ รียก ด้านหนา้ ด้านหลังมีสขี าวเห็นได้ชัดเจน หางสั้น หางดา้ นบนมสี เี ขม้ แตด่ ้านล่างมีสีขาว มีเขาเฉพาะตัวผู้ เขาของเก้งหมอ้ ส้ันกว่าเก้งธรรมดา ผลัดเขาปีละ 1 ครั้ง มีความยาวลาํ ตวั และหัว 88 เซนตเิ มตร ความยาวหาง 10 เซนตเิ มตร นาํ้ หนกั 22 กโิ ลกรัม มีการกระจายพนั ธใุ์ นภาคใตข้ องพมา่ , มาเลเซยี , ภาคตะวนั ตกและภาคใตข้ องไทย เปน็ เก้งทห่ี ายากทส่ี ดุ ชนดิ หน่งึ ของโลก ครง้ั หน่งึ เคยเชอ่ื วา่ เหลอื เพยี งตัวเดียวในโลก ท่ีสวนสัตวด์ ุสติ แตป่ ัจจบุ นั ยงั พอหาได้ตามปา่ ธรรมชาติและวัดในพรมแดนไทยพม่า ทพ่ี ระสงฆ์เลย้ี งอยู่ เกง้ หม้ออาศยั อยูใ่ นป่าท่มี คี วามช้ืนสงู เช่น บรเิ วณ หุบเขาหรือป่าดิบชน้ื ใกลแ้ หลง่ นา้ํ อดน้ําไดไ้ ม่เกง่ เท่าเก้งธรรมดา ออกหาอาหารตามลาํ พังในชว่ งเย็นหรือพลบคา่ํ แต่ในบางคร้ัง อาจพบอย่เู ป็นคหู่ รอื เป็นฝูงเล็ก ๆ ในฤดผู สมพนั ธ์ุ จะผสมพนั ธุใ์ นช่วงฤดหู นาว ต้ังทอ้ งนาน 6 เดือน ออกลูกครัง้ ละ 1 ตวั ปัจจบุ ันเป็นสตั วป์ ่าสงวนตามพระราชบญั ญตั ิสงวนและค้มุ ครองสตั ว์ป่าแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535

15. พะยนู (Dugong dugon) พะยูน (องั กฤษ: Dugong, Sea cow) เป็นสตั วป์ ่า สงวนชนดิ หนึง่ ตามพระราชบญั ญตั ิสงวนและคุ้มครองสัตวป์ ่า พ.ศ. 2535 เป็นสัตว์ปา่ สงวนชนดิ เดยี วท่ีเปน็ สัตวน์ ้ํา เป็นสตั ว์ เลี้ยงลูกดว้ ยนมทีอ่ าศยั อยู่ในทะเลเขตอบอุน่ มชี ื่อวิทยาศาสตรว์ า่ Dugong dugon อยใู่ นอนั ดบั พะยูน (Sirenia) พะยนู มรี ปู ร่างคล้ายแมวน้ําขนาดใหญ่ทอ่ี ้วนกลมเทอะทะ ครีบมีลักษะคล้ายใบพาย ซ่ึงวิวัฒนาการมาจากขา หน้าใช้สาํ หรบั พยงุ ตัวและขดุ หาอาหาร ไม่มีครบี หลงั ไมม่ ีใบหู ตามขี นาดเล็ก รมิ ฝีปากมเี ส้นขนอยู่โดยรอบ ตัวผู้บางตวั เมอื่ เข้าสู่ วยั รุ่นจะมีฟนั คู่หนึง่ งอกออกจากปากคล้ายงาช้าง ใชส้ าํ หรบั ต่อสูเ้ พอื่ แย่งคู่กับใชข้ ุดหาอาหาร ในตัวเมยี มีนมอยู่ 2 เต้า ขนาดเทา่ น้ิวกอ้ ย ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร อยูถ่ ัดลงมาจากขา คหู่ น้า สาํ หรบั เลีย้ งลกู ออ่ น มลี าํ ตวั และหางคลา้ ยโลมา สสี ันของลาํ ตัว ดา้ นหลังเป็นสีเทาดาํ หายใจทางปอด จงึ ตอ้ งหายใจบริเวณผิวน้ํา 1-2 นาที อายุ 9-10 ปี สามารถสบื พนั ธไุ์ ด้ เวลาทอ้ ง 9-14 เดือน ปกติมลี ูกได้ 1 ตัว ไมเ่ กนิ 2 ตวั แรกเกิดยาว 1 เมตร หนกั 15-20 กโิ ลกรมั ใชเ้ วลาตัง้ ท้องประมาณ 1 ปี กนิ นมและหญา้ ทะเลประมาณ 2-3 สัปดาห์ หย่านมประมาณ 8 เดือน อายปุ ระมาณ 70 ปี โดยแม่พะยูนจะดูแลลูกไปจนโต ขนาดเมื่อโตเตม็ ท่ี ประมาณ 2 เมตร ถงึ 3 เมตร นาํ้ หนักเต็มท่ไี ด้ถงึ 300 กิโลกรัม พะยูนสามารถกล้ันหายใจใต้นาํ้ ได้นานราว 20 นาที เมอ่ื จะนอนหลบั พักผ่อน พะยูนจะทิง้ ตวั ลงในแนวดิ่ง และ นอนอยนู่ ิง่ ๆ กับพ้นื ทะเลราว 20 นาที ก่อนจะขึ้นมาหายใจอกี ครั้งหน่งึ อาหารของพะยนู ได้แก่ หญา้ ทะเล ทขี่ น้ึ ตามแถบชายฝงั่ และนํา้ ต้นื โดยพะยูนมกั จะหากินในเวลากลางวนั และ ใชเ้ วลานานถงึ 8 ชว่ั โมงตอ่ วันพฤตกิ รรมการหากินจะคลา้ ยกบั หมู โดยจะใช้ครีบอกและปากดนุ พนื้ ทรายไถไปเรื่อย ๆ จน บางคร้ัง จะเหน็ ทางยาวตามชายหาด จากพฤติกรรมเชน่ น้ี พะยูนจึงได้ชอื่ เรยี กอกี ช่อื หนึง่ ว่า \"หมูน้ํา\" หรือ \"หมดู ุด\" ในบางตวั ท่ี เชอ่ื งมนุษย์ อาจเกาะกินตะไคร่บริเวณใตท้ อ้ งเรอื ได้ 16. วาฬบรูดา้ (Balaenoptera edeni) วาฬบรูดา้ หรือ วาฬแกลบ (องั กฤษ: Bryde's whale, Eden's whale; ชื่อวิทยาศาสตร์: Balaenoptera edeni) เปน็ วาฬขนาดใหญ่ เปน็ สตั ว์เล้ยี งลูกดว้ ยนม จดั อยู่ ในวงศ์ Balaenopteridae โดยชอ่ื วาฬบรดู า้ เป็นการตงั้ เพื่อให้เป็นเกียรติ แก่กงสลุ ชาวนอร์เวย์ ในประเทศแอฟรกิ าใต้ ท่ีชอ่ื โย ฮนั บรดู า้ มีจดุ เด่นทค่ี รบี หลงั ทมี่ รี ูปโคง้ อย่คู ่อนไปทางด้านปลายหาง แพนหางวางตัวตาม แนวราบ และมีรอยเว้าเข้าตรง กงึ่ กลาง ครบี คู่หนา้ มีปลายแหลม ซบ่ี นแผ่นกรองคอ่ นขา้ งหยาบ และเปน็ สัตวท์ ี่ใกลส้ ูญพนั ธ์ุ จงึ ไดร้ บั การคมุ้ ครองเปน็ สตั วป์ า่ คุ้มครองตามพระราชบญั ญัตสิ งวนและคมุ้ ครองสัตวป์ ่า พุทธศักราช 2535 หา้ มมีการค้าขายวาฬบรดู า้ ระหว่างประเทศ วาฬบรดู ้าพบกระจายพนั ธุใ์ นท้องทะเลเขตอบอ่นุ ท่ัวโลก ในประเทศไทยพบอาศัยอยใู่ นอา่ วไทย สามารถพบได้

ในจงั หวดั ชายทะเลเกอื บทกุ จังหวดั แต่จะพบบ่อยทท่ี ะเลบอ่ นอก จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ลกั ษณะลําตวั มีสีเทาดาํ รูปรา่ ง คอ่ นขา้ งเพรยี ว มลี ายแตม้ สขี าวประปรายตรงใตค้ างและใตค้ อ บางตวั พบมีแถบสีจางบนแผน่ หลงั บางตวั ก็มจี ดุ สจี างทง้ั ตวั คล้าย สีเทาลายกระสขี าว เวลาอยใู่ นทะเลจะสงั เกตเหน็ สัน 3 สนั เดน่ ชดั ด้านบนของปาก ซ่งึ จะวางตัวขนานกนั จากปลายปากจนถงึ ตาํ แหน่งของรูหายใจ ในขณะที่วาฬชนดิ อ่นื ๆ มีสันตรงกง่ึ กลางปากเพียงสนั เดยี ว เวลาผุดขน้ึ หายใจเหนอื ผิวน้ําจะเหน็ หวั และ นํา้ พุท่หี ายใจออกมาเป็นเวลานานสักครู่ ก่อนจะเหน็ ครีบหลงั ตามมา ส่วนหวั มแี นวสนั นูน 3 สนั ครีบเลก็ และปลายแหลม มรี อ่ ง ใต้คาง 40-70 รอ่ ง จุดเดน่ ของวาฬบรูด้า คือ ครีบหลงั ที่มรี ูปโคง้ อยูค่ อ่ นไปทางด้านปลายหาง แพนหางวางตัวตามแนวราบ มี รอยเวา้ เขา้ ตรงกงึ่ กลาง ครบี คูห่ นา้ มีปลายแหลม และมีความยาวเป็นร้อยละ 10 ของความยาวลาํ ตัว ใตป้ ากลา่ งมรี อ่ งตามยาว ประมาณ 40-70 ร่อง พาดจากใต้ปากจนถงึ ตําแหนง่ สะดอื แผน่ กรองที่ห้อยลงมาจากปากบนมีจาํ นวน 250-370 แผน่ แผน่ ที่ ยาวทส่ี ดุ ยาว 60 เซนติเมตร ซีบ่ นแผน่ กรองค่อนขา้ งหยาบ เม่ือโตเตม็ ทลี่ าํ ตวั จะยาว 14-15.5 เมตร หนกั 20-25 ตัน กินอาหาร โดยการกรอง มีซี่กรองคลา้ ยหวสี เี ทา จํานวน 250-370 ซ่ี อาหารส่วนใหญ่เป็นแพลงตอน, เคย, ปลาขนาดเล็ก และหมกึ วาฬบรดู า้ พบแพร่กระจายอยูท่ ่ัวโลก โดยเฉพาะในเขตร้อนและเขตกึง่ รอ้ น ในเขตละติจูด 40 องศาเหนอื ถึงใต้ ไม่พบการอพยพยา้ ยถิน่ ฐานเป็นระยะทางไกล โดยมากมักพบครงั้ ละ 1-2 ตัว วัยเจรญิ พนั ธุ์ ในชว่ งอายุ 9-13 ปี วาฬบรดู า้ จะให้ ลกู ครั้งละ 1 ตัวทกุ 2 ปี ต้ังท้องนาน 10-12 เดือน ระยะใหน้ มนอ้ ยกว่า 12 เดอื น ลกู วาฬแรกเกดิ จะมคี วามยาวประมาณ 3-4 เมตร มอี ายยุ นื ได้ถงึ 50 ปี เวลาจมตัวดาํ น้ําจะโผล่หัวเล็กนอ้ ยแลว้ ท้งิ ตวั จมหายไปไม่โผล่ส่วนหางขน้ึ มาเหนอื น้าํ 17. วาฬโอมูระ (Balaenoptera omurai) วาฬโอมรู ะ นัน้ ถือเป็นหนงึ่ ในสตั วท์ ีม่ คี วามลกึ ลบั และหายากทส่ี ุดในโลก วาฬโอมูระรูปรา่ งคล้ายกบั วาฬบรดู ้า ทําให้ผูค้ นนั้นสับสนว่ามันเป็นวาฬบรูด้ามาโดยตลอด ที่ผ่านมานน้ั ยังมีการ คาดกนั วา่ มันสญู พันธ์ุ แตก่ พ็ บว่ามีมาตายเกยต้นื อย่บู นชายฝ่งั ลา่ สดุ น้ันพบทอ่ี อสเตรเลีย วาฬโอมูระนน้ั ถือวา่ เป็นสัตวใ์ กลส้ ญู พนั ธ์ุ พบเห็นได้ยาก นกั ชวี วิทยาจงึ ไมส่ ามารถรไู้ ดว้ ่ามนั มีอยู่ในธรรมชาติ เทา่ ไหร่ 18. เตา่ มะเฟือง (Dermochelys coriacea)

เตา่ มะเฟือง หรอื เตา่ เหล่ยี ม (อังกฤษ: Leatherback turtle; ชื่อวิทยาศาสตร:์ Dermochelys coriacea) เปน็ เตา่ ทะเล จดั เป็นเต่าชนดิ ท่มี ีขนาดใหญท่ ่ีสดุ ในโลก และ ใหญเ่ ปน็ อนั ดับท่ี 4 ในบรรดาสตั วเ์ ลื้อยคลานท้ังหมดทยี่ งั ดาํ รงเผ่าพันธอ์ุ ยจู่ นถงึ ปจั จุบัน จึงเปน็ เต่าเพยี งชนิดเดียวในวงศ์ Dermochelyidae และสกุล Dermochelys เต่ามะเฟืองสามารถแยกออกจากเต่าประเภทอ่ืนไดโ้ ดยการสงั เกตท่กี ระดองจะมขี นาดคล้ายผลมะเฟอื ง และ ครีบคหู่ น้าไมม่ ีเลบ็ ต้ังแต่ออกจากไข่ ความลกึ ท่เี ตา่ มะเฟอื งสามารถดาํ นา้ํ ไดถ้ ึง 1,280 เมตร เตา่ มะเฟืองเพศเมยี จะขึ้นมาวางบนชายหาด ประมาณ 50-150 ฟอง/รงั ท้งั นี้ข้ึนอยู่ปจั จยั ในการ วางไข่ เชน่ อายุ สภาพอากาศ สภาพแวดลอ้ มของสถานทวี่ างไข่ เตา่ มะเฟอื งจะใชเ้ วลาในการฟักตัวประมาณ 60-70 วัน ข้นึ อยกู่ ับอุณหภมู ิ ของสภาพแวดลอ้ ม หลังจากฟักตวั แลว้ โดยมปี ระมาณ 85% ท่ฟี ักตวั ได้ ลกู เตา่ จะคลานออกจากรงั ลงสู่ทะเลโดยทนั ที เนือ่ งจากเปน็ เต่ามะเฟอื งเปน็ เตา่ นํ้าลึก จึง ไม่สามารถเก็บมาอนบุ าลไดเ้ ป็นเวลานานซงึ่ ต่างกับเตา่ ทะเลสายพันธ์ุอ่ืน ในวยั เจริญพนั ธุจ์ ะเติบโตและใช้เวลาอยู่ในทะเลเกือบ ช่ัวชวี ิต 19. ปลาฉลามวาฬ (Rhincodon typus) ปลาฉลามวาฬ (องั กฤษ: Whale shark) เปน็ ปลาฉลามเคลอื่ นทชี่ ้าที่กินอาหารแบบกรองกนิ เป็นปลาขนาดใหญท่ ่สี ุด ยาวถงึ 12.65 ม. หนกั 21.5 ตัน แตม่ ี รายงานท่ไี มไ่ ด้รบั ยนื ยันว่ายังมปี ลาฉลามวาฬทใ่ี หญ่กว่าน้ี เปน็ ปลาชนดิ เดยี วในสกลุ Rhincodon และวงศ์ Rhincodontidae (กอ่ นปี ค.ศ. 1984 ถูกเรยี กว่า Rhinodontes) ซ่งึ เป็นสมาชกิ ในช้ันยอ่ ย Elasmobranchii ในชน้ั ปลากระดกู อ่อน ปลาฉลาม วาฬพบได้ในทะเลเขตรอ้ นและอบอนุ่ อาศยั อยใู่ นทะเลเปดิ มชี ว่ งอายปุ ระมาณ 70 ปี ปลาฉลามชนดิ นีก้ ําเนิดเมอื่ ประมาณ 60 ล้านปีมาแล้ว อาหารหลักของปลาฉลามวาฬคือแพลงก์ตอน ถงึ แม้วา่ รายการแพลนเน็ตเอริ ธ์ ของบีบซี จี ะถ่ายภาพยนตร์ขณะท่ี ปลาฉลามวาฬกําลังกินฝูงปลาขนาดเล็กไวไ้ ด้ ลักษณะของปลาฉลามวาฬท่แี ตกต่างจากปลาฉลามสว่ นใหญ่ คอื หัวท่ใี หญโ่ ตมากเมอื่ เทยี บกับขนาดลําตัว และ ปากทอ่ี ยดู่ า้ นหนา้ แทนที่จะอยดู่ า้ นลา่ ง ฉลามวาฬ เกือบทง้ั หมดทพี่ บมขี นาดใหญ่กว่า 3.5 เมตร ใช้เหงอื กในการหายใจ มชี อ่ ง เหงือก 5 ชอ่ ง มคี รีบอก 2 อนั ครีบหาง 2 อนั และ ครีบกน้ (หาง) 1 อัน หางของปลาฉลามวาฬอยใู่ นแนวตงั้ ฉาก และโบกไปมา ในแนวซ้าย-ขวา แตกตา่ งจากสตั วเ์ ลือดอนุ่ ในทะเลทห่ี างอยใู่ นแนวขนานและหายใจด้วยปอด อาทิ วาฬ, โลมา หรือพะยูน เปน็

ต้น ในการระบุตวั ของปลาฉลามวาฬนนั้ พจิ ารณาจากด้านขา้ งลําตัว ต้ังแต่ช่องเหงือกช่องที่ 5 จนถงึ สิ้นสดุ ครบี อก โดยแตล่ ะตัวจะมีจุดท่ีแตกตา่ งกนั ออกไปเปน็ อัตลกั ษณป์ ระจาํ ตวั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook