Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

บทที่ 3 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

Published by pandora-mp, 2021-11-12 04:55:10

Description: บทที่ 3 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ผู้สอน นายคมสัน กลางแท่น

Search

Read the Text Version

อุปกรณ์ป้องกัน อันตรายส่วนบุคคล อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment : PPE) ความหมาย แบ่งออกเป็นแต่ละด้านดังนี้ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่นำมาสวมใส่ลงบนอวัยวะส่วนใดของร่างกาย 1. อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ หรือหลายส่วนรวมกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการป้องกัน 2. อุปกรณ์ป้องกันหู อวัยวะสวนนั้นของร่างกายไม่ให้ได้รับอันตรายจากสิ่ง 3. อุปกรณ์ป้องกันตา แวดล้อมในการทำงานชนิดของอุปกรณ์ป้องกันอันตราย 4. อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า ส่วนบุคคล แบ่งตามส่วนของร่างกายที่ต้องการป้องกัน 5. อุปกรณ์ป้องกันมือและนิ้วมือ และตามลักษณะของงาน 6. อุปกรณ์ป้องกันเท้าและขา 7. อุปกรณ์ป้องกันลำตัว 8. อุปกรณ์ป้องกันระบบการหายใจ 9. อุปกรณ์ช่วยชีวิตในการทำงาน 10. อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย 11. การส่งเสริมให้คนงานใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

อุปกรณ์ 1. หมวกแข็งนิรภัย ป้องกัน ตามคุณสมบัติของการป้องกัน แบ่งได้เป็น 4 ประเภท ศีรษะ คือ หมวกแข็งนิรภัยประเภทที่ 1 เหมาะสำหรับใช้งาน ทั่วไป หมวกแข็งนิรภัยประเภทที่ 2 เป็นประเภทที่เหมาะ สำหรับใช้ในงานเกี่ยวกับไฟฟ้า หมวกแข็งนิรภัยประเภทที่ 3 เหมาะสำหรับการใช้ งานที่มีอันตรายน้อย มีการกระทบกระแทกไม่ รุนแรง หมวกแข็งนิรภัยประเภทที่ 4 เป็นประเภทที่เหมาะ สำหรับใช้ในงานดับเพลิง 2. วัสดุคลุมผม สำหรับผู้ที่ผมยาวทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ที่ทำงานอยู่ ใกล้กับโซ่ สายพาน หรือเครื่องจักรที่มีส่วนที่หมุน อยู่ตลอดเวลา

อุปกรณ์ป้องกันหู 1. ครื่องอุดรูหู (EAR PLUG) A.ใช้สอดเข้าในรูหูโดยตรง วัสดุทำด้วยยางพลาสติก ขี้ผึ้ง และฝ้าย แต่ชนิดของยางและพลาสติก สามารถล้างทำความสะอาดได้ง่าย ประมาณ 10 - 15 เดซิเบล 2..เครื่องปิดหู (EAR MUFF) A.ใช้ปิดครอบใบหูทั้งหมด ผู้ใช้ต้องเลือกขนาดให้พอ เหมาะกับศีรษะ จึงจะได้ผลเต็มที่ เหมาะสำหรับ บริเวณที่เสียงอยู่ในระดับ130 - 135 เดซิเบล

อุปกรณ์ป้องกันตา 1 ครอบแว่น (Cover Goggles) ปกติใช้สำหรับสวมทับแว่นสายตาอีกชั้นหนึ่งเพื่อป้องกันทั้งตาและ แว่นตาของผู้สวมหรือสวมตาเปล่าก็ได้ 2 แว่นตานิรภัย (Protective Spectacles) แว่นตานิรภัยเป็นแว่นตาที่ใช้สำหรับงานประเภทที่มีเศษวัตถุกระเด็น เข้าตาได้ในทิศทางตรงหน้าเท่านั้น 3 ครอบป้องกันสารเคมี (Chemical Goggles) ครอบป้องกันสารเคมีเป็นแว่นตาแบบหนึ่งที่มีเลนส์ประเภทผ่านการ อบความร้อน หรือเลนส์พลาสติกชนิดทนกรดทนด่างได้ กรอบแว่นทำ ด้วยยางนุ่ม ๆ หรือวัสดุอื่นที่คล้ายกัน 4 ครอบกันฝุ่นชนิดหน้ากากหนัง (Leather Mask Dust Goggles) ครอบกันฝุ่นชนิดหน้ากากหนังเป็นแว่นที่มีเลนส์ประเภทผ่านการอบ ความร้อนมาแล้วหรือเลนส์กรอบแสง 5 ครอบตาสำหรับงานเหมือง (Miner's Goggles) ทำด้วยลวดตาข่ายที่ทนต่อการกัดกร่อนและเคลือบด้วยสีดำเพื่อ ป้องกันการสะท้อนแสงใช้สำหรับงานใต้ดินหรืองานเหมืองแร่หรือ บริเวณที่มีหมอกหนา 6 ครอบตาสำหรับงานหลอมโลหะ (Melter's Goggles) อาจทำเป็นรูปแว่นตาธรรมดาหรือแบบแว่นตารูปถ้วย เลนส์มีสีน้ำเงิน ที่มีความเข้มตามความจำเป็นหรืออาจมีเลนส์ประเภทมีสีครึ่งบนและ เป็นแก้วใสครึ่งล่าง กรอบแว่นตาทำด้วยหนังหรือพลาสติกสำหรับ ป้องกันรังสีความร้อน 7 ครอบตาสำหรับงานเชื่อม (Welder's Goggles) อาจทำเป็นรูปแว่นตาธรรมดาหรือแบบครอบตาโดยใช้เลนส์แบบกรอง แสง

อุปกรณ์ป้องกัน ใบหน้า 1 กะบังป้องกันใบหน้า (Face Shield) กะบังป้องกันใบหน้าจะเป็นแผงวัสดุโค้งครอบใบหน้า เพื่อป้องกันอันตราย ต่อใบหน้าและลำคอ 2 หน้ากากกรองแสง งานเชื่อมประเภทต่าง ๆ นั้นอาจใช้แว่นตากรองแสงหรือหน้ากากกรองแสง ก็ได้ตามความเหมาะสมของงาน 3 หมวกครอบกันกรด หมวกครอบกันกรดเป็นหมวกซึ่งสร้างขึ้นคล้ายถุงสำหรับคลุมศีรษะ หน้า และคอ เพื่อใช้กับงานประเภทที่เป็นกรด 4 หมวกครอบแบบจ่ายอากาศ หมวกครอบแบบจ่ายอากาศเป็นหมวกที่มีคุณสมบัติและวัตถุประสงค์คล้าย กับหมวกครอบกันกรด เพียงแต่เพิ่มระบบการจ่ายอากาศเข้าไป

อุปกรณ์ป้องกันมือ และนิ้วมือ 1 ถุงมือใยหิน 2 ถุงมือใยโลหะ 3 ถุงมือยางนีโอพรีนหรือไวนิล 4 ถุงมือยาง 5 ถุงมือหนัง 6 ถุงมือหนังวัวเสริมเหล็ก 7 ถุงมือผ้าหรือใยทออย่างอื่น ๆ 8 ถุงมือใยทอเคลือบน้ำยา 9 ถุงมีอยางสำหรับงานไฟฟ้าแรงสูง 10 หนังหุ้มมือหรือเบาะรองมือ

อุปกรณ์ป้องกัน เท้าและขา 1 รองเท้าหุ้มข้อ 2 รองเท้าหุ้มแข็ง 3 รองเท้าพื้นโลหะใช้ในงานก่อสร้าง 4 รองเท้าพื้นไม้ 5 รองเท้าหัวโลหะ

อุปกรณ์ป้องกันลำตัว ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ป้องกันหน้าอก หน้าท้อง หรือลำตัว โดยทั่ดหรือผ้าคาดป้องกันขนิดคาดเต็มตัว ซึ่ง แผ่นคาดป้องกันอาจทำด้วยวัสดุหลายอย่างตามงาน อุปกรณ์ป้องกันระบบการหายใจ 1.เครื่องกรองอากาศ 2.เครื่องช่วยหายใจ อุปกรณ์ช่วยชีวิตในการทำงาน 1 เข็มขัดนิรภัยที่ใช้งานทั่วไป 2 เข็มขัดนิรภัยประเภทที่ต้องใช้ป้องกันการตกจากที่สูง 3 กระเช้าชิงซ้า 4 สายรัดลำตัว 5 เชือกนิรภัย

อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย 1 ผ้าที่ฉาบด้วยอะลูมิเนียม 2 ผ้าที่ทอด้วยใยหิน 3 ผ้าฝ้ายป้องกันไฟ 4 ผ้าใยแก้ว 5 วัสดุกันซึม 6 หนัง 7 ผ้าใยสังเคราะห์ 8 ผ้าฝ้ายกันน้ำ การส่งเสริมให้คนงานใช้อุปกรณ์ป้องกัน อันตรายส่วนบุคคล 1.การรณรงค์ให้มีการสวมใส่อุปกรณ์ในการป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 2.การคัดเลือกคนงานตัวอย่างที่ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ภายในสถานที่ทำงานจะมีสิ่งที่คุกคามสุขภาพอนามัยต่าง ๆ มีอะไรบ้าง 2. อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลหมายถึงอะไร 3. หมวกแข็งนิรภัยประเภทที่ 1 เหมาะสำหรับใช้งานทั่วไป เช่นอะไรบ้าง 4. หมวกแข็งนิรภัยประเภทที่ 2 เป็นประเภทที่เหมาะสำหรับใช้ในงานเกี่ยวกับงานชนิดใด 5. จงบอกวิธีการบำรุงรักษาหมวกแข็งนิรภัยประเภทที่ 2 6. การลดเสียงที่ผ่านเข้าไปถึงหูชั้นในทำได้อย่างไร 7. เครื่องอุดรูหูและเครื่องปิดหู ก่อนการใช้ทุกครั้งควรทำความสะอาดอย่างไร 8. แว่นตานิรภัย เป็นแว่นตาที่ใช้สำหรับงานประเภทใด 9. หมวกครอบแบบจ่ายอากาศเหมาะสำหรับใช้งานในบริเวณใด 10. ถุงมือใยหินมีประโยชน์อย่างไร ลิ้งค์ส่งงาน https://forms.gle/W8XXFVAGfAfPzXdB7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook