Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 5 องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

เล่มที่ 5 องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Published by อรุณี สุเมธโสภณ, 2020-12-27 11:35:46

Description: เล่มที่ 5 องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Keywords: บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชา วิทยาการคำนวณ (ว22103)

Search

Read the Text Version

บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) ก องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) ก สําหรับบทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลมนี้ จัดทําข้ึน เพื่อเปนส่ือประกอบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนวัฒนา นคร สงั กัดองคก ารบริหารสวนจงั หวัดสระแกว บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 มีเน้ือหาสาระการเรียนรูสอดคลอง กับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กาํ หนด ซง่ึ นับวา มีความสําคัญอยางย่ิงสําหรบั นักเรียน เพราะถือเปนพื้นฐานสําคัญของการใชเทคโนโลยี ในยุค 4.0 และสอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 นี้ โดยใชรวมกับการเรียนรูแบบใชโครงงาน เปนฐาน เพื่อสงเสรมิ และพัฒนาการเรียนรูดา นเทคโนโลยแี กน กั เรียน ตลอดจนทกั ษะการคิดวเิ คราะห สังเคราะห และการแกป ญ หา เพ่อื การนาํ ไปใชในชีวิตประจาํ วนั ผูจัดทํามุงหวังวา บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 จะอํานวยประโยชนแก ผูรักการอาน นักเรยี น และผูสนใจ ไดเปน อยางยง่ิ นางอรณุ ี สเุ มธโสภณ ตําแหนง ครู วทิ ยาฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วิทยาการคํานวณ (ว22103) ข บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลมนี้ ไดจัดทําขึ้น เพ่ือเปนส่ือ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โรงเรียนวัฒนานคร สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดสระแกว บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 มีเน้ือหาสาระการเรียนรูสอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา ตามกระทรวงศึกษาธิการกําหนด ซึ่งนับวามีความสําคัญอยางย่ิง สําหรับนักเรียน เพราะถือเปนพ้ืนฐานสําคัญของการใชเทคโนโลยีในยุค 4.0 และสอดคลองกับการเรียนรู ในศตวรรษท่ี 21 นี้ โดยใชรวมกับการเรียนรูแบบใชโครงงานเปนฐาน เพื่อสงเสริมและพัฒนา การเรียนรูดานเทคโนโลยีแกนักเรียน ตลอดจนทักษะการคิดวิเคราะห สังเคราะห และการแกปญหา เพ่อื การนําไปใชในชวี ติ ประจาํ วัน บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ หรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 2 จาํ นวน 6 เลม ดงั น้ี เลม ท่ี 1 วทิ ยาการเชิงคํานวณ เลม ที่ 2 การออกแบบอลั กอรทิ มึ ที่ใชแนวคิดเชงิ คาํ นวณในการแกป ญหา เลม ที่ 3 การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใชตรรกะและฟงกช นั ในการแกปญหา เลม ที่ 4 การออกแบบและเขียนโปรแกรมดวยภาษาไพทอน เลม ที่ 5 องคป ระกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ เลมท่ี 6 ประยกุ ตใชงานระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยกี ารสือ่ สารและการแกปญหา เบือ้ งตน บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาํ หรับนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 เลมน้ี คอื เลมที่ 5 องคประกอบ และหลักการทํางานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทั้งน้ี บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เปนแบบ E-Book มีลักษณะเปนหนังสือ อิเล็กทรอนิกส โดยสามารถสแกนผาน QR-Code หรือเขาผานลิงค เว็บไซต เพื่อใชงานตามปกติ พรอมกับรูปเลมจริง ตามลิงคออนไลนท่ี แนบน้ี https://pubhtml5.com/bookcase/cbfx QR-Code องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) ค 1. ศกึ ษาและทาํ ความเขาใจคูมือการใชและบทเรยี นออนไลนอ เิ ลก็ ทรอนคิ ส วชิ า วิทยาการ คาํ นวณ (ว22103) กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาํ หรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษา ปท ่ี 2 เลม น้ี ใหเ ขา ใจกอ นนําไปใชง าน 2. จัดเตรียมบทเรียนออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วชิ า วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) กลุมสาระ การเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ หรบั นกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 สาํ หรบั แจกใหน ักเรียน 3. แนะนาํ การใชงานบทเรยี นออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาํ หรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 2 4. ใหนักเรียนลงมือทําแบบทดสอบกอนเรียนประจําบทเรยี นออนไลนอ ิเล็กทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ หรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 5. เปดโอการสใหน ักเรยี นศกึ ษาเน้อื หา หรือบทเรยี นในบทเรียนออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ หรับนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 2 ดว ยตนเอง ตามกระบวนการเรียนรแู บบใชโ ครงงานเปน ฐาน 6. ใหน กั เรยี นทบทวนความรู ความเขา ใจดว ยการทํากจิ กรรมฝกทกั ษะใหค รบถวนทุกตอน 7. ใหน กั เรียนลงมอื ทําแบบทดสอบหลงั เรยี นประจําบทเรยี นออนไลนอ เิ ล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ หรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 8. นํานกั เรยี นตรวจคําตอบและเฉลยคําตอบทงั้ หมด เพื่อบันทกึ คะแนนทายบทเรยี นออนไลน อิเลก็ ทรอนคิ ส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ หรับนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 หมายเหตุ : บทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส นี้ นกั เรียนสามารถกลบั มาเรยี นรแู ละทบทวนได ภายหลงั จากท่เี รยี นเสรจ็ แลว หากนกั เรียนไมเ ขาใจหรอื ตองการทบทวนเน้ือหานอกเวลาเรียน สําหรับ กิจกรรมระหวางเรียนอาจมีทั้งแบบเดีย่ วและกลุม องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วิทยาการคํานวณ (ว22103) ง 1. ศึกษาและทาํ ความเขา ใจคําชี้แจง และบทบาทนักเรียน เพื่อการใชบทเรยี นออนไลน อเิ ล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ หรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 2 เลม นี้ ใหเขาใจกอนนําไปใชง าน 2. นกั เรียนลงมือทําแบบทดสอบกอนเรยี นประจาํ บทเรยี นออนไลนอ ิเลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สําหรบั นักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปที่ 2 3. นกั เรยี นศึกษาบทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี สาํ หรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 ดว ยตนเอง ตามกระบวนการเรยี นรู (ดว ยการเรยี นรแู บบ SQ4R) 4. นกั เรียนทบทวนความรู ความเขาใจดว ยการทํากิจกรรมฝกทกั ษะใหครบถว นทุกตอน 5. นกั เรยี นลงมือทําแบบทดสอบหลังเรียนประจําบทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนคิ ส วิชา วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ หรับนกั เรยี น ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 2 6. นักเรียนรว มตรวจคาํ ตอบและเฉลยคาํ ตอบทั้งหมด เพ่ือบันทึกคะแนนทายบทเรียน ออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยี สาํ หรับนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 7. นักเรียนสามารถศึกษาทบทวนเนือ้ หาบทเรียนออนไลนอเิ ล็กทรอนคิ ส วิชา วทิ ยาการ คํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สําหรับนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษา ปท ี่ 2 ไดต ลอดเวลา หลงั เรียนเสร็จแลว หากไมผานเกณฑรอยละ 80.00 หมายเหตุ : บทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส น้ี นกั เรยี นสามารถกลบั มาเรยี นรแู ละทบทวนได ภายหลังจากทีเ่ รยี นเสรจ็ แลว หากนักเรียนไมเ ขาใจหรอื ตองการทบทวนเนื้อหานอกเวลาเรียน สําหรบั กจิ กรรมระหวา งเรียนอาจมที ั้งแบบเดยี่ วและกลมุ องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วชิ า วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) จ ขอ ควรระวังและปฏบิ ัตกิ อนการดําเนนิ การสอน 1. ศกึ ษาแผนการจัดการเรยี นรูอยางละเอยี ด 2. เตรียมอปุ กรณ ส่ือการเรยี นการสอนใหเรยี บรอย 3. ศึกษารายละเอยี ดบทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนิคสกอนการเรียนรู 4. กาํ หนดบทบาทสมาชใิ นกลุมทราบถงึ การปฏิบัตติ มบทบาทตา งๆ โดยสมาชิกทุกคนในกลมุ ตอ งไดท ําทุกบทบาท 5. ครูผูส อนช้แี จงวธิ กี ารใชบทเรียนออนไลนอ ิเล็กทรอนิคสและกจิ กรรมทีน่ ักเรียนตองปฏบิ ัติ ขอควรระวงั และปฏิบตั ขิ ณะดาํ เนินการสอน 1. ช้ีแจงการใชบ ทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคสใ หนักเรยี นทกุ คนทราบ 2. ตําเนินกจิ กรมตมแผนการจัดการเรียนรู เพ่ือใหส อดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู เน้ือหา และเวลาทก่ี าํ หนด 3. ครผู ูสอนตองใหคาํ แนะนําและคอยดแู ลนกั เรียนอยางใกลชิด 4. ใหน ักเรยี นเรียนรูจากบทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคสตามขน้ั ตอนอยางเครง ครัดและ มคี วามซื่อสตั ยตอ ตนเอง 5. ตรวจสอบการทํางานของนักเรยี นและสรุปบทเรยี นรวมกันนกั เรียน ขอควรระวังและปฏบิ ตั เิ ม่ือดําเนนิ การสอนสน้ิ สุด 1. ครผู สู อนใหน กั เรยี นทําแบบทดสอบหลังเรยี น 2. ตรวจผลงานจากการทาํ แบบทดสอบและกิจกรรมระหวางเรยี น 3. ถานกั เรยี นไมผ านเกณฑท่ีระบุไว ครคู วรใหนักเรียนศึกษาและทบทวนเนื้อหาใหมอกี คร้ัง แลวทาํ แบบทดสอบหลังเรียนใหผ านเกณฑท ี่กําหนดไว องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) ฉ วชิ า วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 2 จาํ นวน 1.0 หนวยกติ ปก ารศกึ ษา 1/2561 เวลา 40 ชว่ั โมง ศึกษาการออกแบบอัลกอริทึมท่ีใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหา หรือการทํางานท่ีพบ ในชีวิตจริงการออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใชตรรกะและฟงกชันในการแกปญหา การเขียน โปรแกรมโดยใชซ อฟตแวรScratch, python, java และ c อภปิ รายองคป ระกอบและหลักการทํางาน ของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีการส่ือสารเพ่ือประยุกตใชงานหรือแกปญหาเบือ้ งตน ตลอดจน ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งปลอดภยั มคี วามรับผดิ ชอบ สรางและแสดงสิทธิในการเผยแพรผลงาน โดยอาศัยกระบวนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (Problem-based Learning) และการ เรียนรูแบบใชโครงงานเปนฐาน (Project-based Learning) เพ่ือเนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝก ทักษะการคิด เผชิญสถานการณการแกปญหา วางแผนการเรียนรู ตรวจสอบการเรียนรู และนําเสนอ ผานการทํากิจกรรมโครงงาน เพ่ือใหเกิดทักษะ ความรู ความเขาใจ และทักษะใน การวิเคราะหโจทย ปญหา จนสามารถนาํ เอาแนวคดิ เชิงคํานวณมาประยุกตใ ชในการสรางโครงงานได เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ การนําขอมูลปฐมภูมิเขาสูระบบคอมพิวเตอร วิเคราะห ประเมิน นําเสนอขอมูลและ สารสนเทศไดตามวัตถุประสงค ใชทักษะการคิดเชิงคํานวณในการ แกปญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอยางงาย เพ่ือชวย ในการแกปญหา ใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารอยางรูเทาทันและรับผิดชอบตอสังคม ตลอดจนนําความรูความเขาใจใน วิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอสังคมและการดํารงชีวิต จนสามารถพัฒนา กระบวนการคิดและจินตนาการ มีความสามารถในการแกปญหาและมีทักษะในการสื่อสาร มี ความสามารถในการตัดสินใจ และเปนผูที่มีจิตวทิ ยาศาสตร มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมในการ ใชว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยอี ยางสรา งสรรค ตัวชวี้ ัด คือ ว 4.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4 รวม 4 ตวั ช้วี ดั องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) ช แนวคิดสําคัญ ฮารดแวร หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอรและองคประกอบตาง ๆ ซ่งึ แบงการทํางานเปน หนว ย ตาง ๆ ไดแก หนวยรบั เขา หนว ยประมวลผลกลางและหนว ยสงออก ซอฟตแวร เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่พัฒนาขึ้นตามจุดประสงคของการใชงาน เชน ควบคมุ การทาํ งานของฮารดแวร ขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริงที่สื่อความหมายในรูปของขอความ ตัวเลข สัญลักษณ หรือ รายละเอยี ดอนื่ ๆ ทส่ี ัมผสั ได ขอ มูลเปน ขอ เท็จจริงหรือเหตุการณทเี่ กิดขนึ้ ในชวงเวลาหน่งึ บุคลากรทางคอมพิวเตอร นอกจากฮารดแวร ซอฟตแ วร และขอมูลตาง ๆ แลวบุคลากรก็มี ความสําคัญอยางมากเชนกัน เราะบุคลากรทําหนาที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอรเขียนโปรแกรมสงการ ใหคอมพิวเตอรทํางานตามความตองการของผูใช ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เปนภาคปฏิบัติของระบบสารสนเทศ ซ่ึงเริ่มจากการเตรียมอุปกรณ ตา ง ๆ เกบ็ รวบรวมขอ มลู นําขอ มลู มาผา นกระบวนการประมวลผลและจัดเกบ็ เพ่ือใชง านตอไป เทคโนโลยีการส่ือสาร การส่ือสารออนไลนจะตองมีเคร่ืองมือท่ีสามารถเช่ือมตออินเทอรเน็ต ได โดยการเช่อื มตอ อาจจะใชสัญญาณวายฟายหรือสายแลนก็ได สาระการเรยี นรู องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ฮารแวร 2. ซอฟตแวร 3. ขอมูล 4. บุคลากรทางคอมพวิ เตอร 5. ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงาน 6. เทคโนโลยกี ารสอื่ สาร จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 1. มีความรู ความเขาใจสามารถตอบคาํ ถามเก่ียวกับองคป ระกอบและหลักการทํางานของ ระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศได (K) 2. อธบิ ายเกี่ยวกบั องคประกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยี สารสนเทศได (A) 3. ปฏิบตั ติ ามคําส่ังของการใชง านโปรแกรมที่กําหนดได (P) 4. ออกแบบ กําหนด และทําโครงงาน หรอื ชิ้นงานตามที่กาํ หนดได (P) 5. สือ่ สาร และใชทักษะการคิด การแกป ญหา ทักษะชวี ิต และการใชเ ทคโนโลยไี ด (P) 6. มคี วามกระตือรือรน ใฝเ รียนรู และใหค วามรวมมือในกิจกรรมกลุม (A) องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วชิ า วิทยาการคํานวณ (ว22103) ซ สมรรถนะที่สาํ คัญ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสาํ คญั 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกปญหา 4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี คุณลกั ษณะอันพึงประสงค หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพ่ือใหสามารถอยูร วมกับผูอน่ื ในสงั คมไดอยา งมคี วามสขุ ในฐานะเปน พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย 2. ซื่อสตั ยสุจริต 3. มวี นิ ัย 4. ใฝเรยี นรู 5. อยูอยางพอเพยี ง 6. มงุ มน่ั ในการทํางาน 7. รกั ความเปนไทย 8. มจี ิตสาธารณะ ภาระงาน/ชิ้นงาน บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 2 เลมที่ 5 องคประกอบและหลักการ ทํางานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. แบบทดสอบกอ นเรียน 2. กจิ กรรมระหวา งเรยี น 3. แบบทดสอบหลงั เรยี น การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 1. แบบทดสอบกอ นเรยี น เกณฑก ารประเมินนักเรยี นตองไดคะแนน รอยละ 80 ขนึ้ ไป 2. กิจกรรมระหวางเรียน เกณฑก ารประเมินนักเรียนตองไดค ะแนน รอยละ 80 ขึ้นไป 3. แบบทดสอบหลงั เรยี น เกณฑการประเมินนักเรียนตองไดคะแนน รอยละ 80 ข้ึนไป องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) ฌ คาํ นํา หนา คําชีแ้ จง ก คาํ แนะนําสาํ หรับครู ข คําแนะนําสาํ หรบั นักเรียน ค ขอควรระวังและปฏบิ ัติ ง คาํ อธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) กลมุ สาระการเรยี นรู ฉ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 ช แบบทดสอบกอ นเรยี น 1 กะดาษคาํ ตอบแบบทดสอบกอนเรียน 3 ใบความรู เรอื่ ง องคประกอบและหลกั การทํางานของระบบคอมพวิ เตอรและ 4 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 13 14 กิจกรรมท่ี 1 15 กิจกรรมท่ี2 16 กิจกรรมที่3 19 กจิ กรรมที่ 4 21 แบบทดสอบหลงั เรียน 22 กระดาษคาํ ตอบแบบทดสอบหลังเรียน 23 ภาคผนวก 24 เฉลยกิจกรรมที่ 1 25 เฉลยกจิ กรรมท่ี 2 26 เฉลยกจิ กรรมที่ 3 29 เฉลยกจิ กรรมท่ี 4 30 เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี นและหลังเรยี น 31 แบบบนั ทึกคะแนนผลการทํากิจกรรม 32 บรรณนกุ รม ประวัติยอผูจดั ทาํ องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 1 แบบทดสอบกอนเรียน เร่ือง องคประกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพวิ เตอรและ เทคโนโลยีสารสนเทศ คําชแ้ี จง ใหนักเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกที่สดุ เพียงคําตอบเดียวแลว ทําเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาํ ตอบ 1. ขอ ใด คือ ความหมายของฮารด แวร ก. เครือ่ งคอมพวิ เตอรแ ละองคประกอบตาง ๆ ซ่งึ แบง การทาํ งานเปนหนว ยตา ง ๆ ข. เปนการเขียนคําสัง่ ควบคมุ ใหคอมพิวเตอรท าํ งานตามความตอ งการของผใู ชโปรแกรม ค. เปนเครอ่ื งมือที่ใชใ นการคํานวณและใชใ นการเปรยี บเทียบ ง. การดําเนนิ การทเี่ กิดขนึ้ ในสมองเปนกระบวนการตามธรรมชาตขิ องมนุษย 2. ขอ ใด คือ การทํางานเปน หนวยของฮารแ วร ก. คา ตัวแปร ข. ตวั ดาํ เนินการ ค. วงจรการปด -เปด สวิตชแ บบ AND ง. หนว ยรบั เขา หนวยประมวลผลกลาง และหนวยสง ออก 3. ขอใด คือ หนา ที่ของหนวยรบั เขา ก. รับขอ มลู โดยการสัมผสั บนหนา จอ ข. รบั ขอ มูลและคาํ สงั่ ดว ยเสียง ค. ทาํ หนาทรี่ ับขอมลู เขาในระบบ ง. รับขอ มลู ภาพและภาพเคลื่อนไหว เปน กลองขนาดเล็ก 4. ขอใด คือ หนาที่ของหนวยประมวลผลกลาง ก. ทําหนาทป่ี ระมวลผลขอ มลู ตามชดุ คําส่งั ท่ีซอฟตแ วรส งมาภายในซีพียู ข. ทําหนา ทค่ี วบคุมการทํางานของระบบ ค. ทําหนา ทค่ี าํ นวณตามกระบวนการทางคณติ ศาสตร และเปรียบเทยี บ ง. ทําหนาท่เี ปน หนวยความจําหลกั 5. ขอใด คือ ประเภทของหนวยความจํา ก. เครอ่ื งกราดภาพ ข. เครอื่ งสแกนใบหนา ค. หนวยความจําหลกั และหนวยความจํารอง ง. หนวยควบคมุ และหนว ยคํานวณเปรียบเทียบ องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วชิ า วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 2 6. ขอใด คือ ตวั แทนดวยสญั ญาณดจิ ิทัลขนาด 8 บติ ก. ไบต ข. บิต ค. แรม ง. รอม 7. ขอ ใด คือ คอมพิวเตอรเก็บขอ มลู เปนรหสั เลขฐานสอง ก. ไบต ข. บิต ค. แรม ง. รอม 8. ซอฟตแวรท ี่พฒั นาขนึ้ มาเพอื่ ใชควบคมุ การทํางานนของฮารดแวร มชี อื่ เรยี กไดตามขอใด ก. ระบบรบั สงขอมลู พ้ืนฐาน ข. เฟร ม แวร ค. โปรแกรมระบบปฏบิ ัติการ ง. ระบบปฏบิ ัติการวนิ โดวส 9. ขอใด คือ ความหมายของขอ มูล ก. ขอ เท็จจรงิ ที่สอื่ ความหมายในรปู ของขอความ ตวั เลข สัญลกั ษณ ข. เปนการเขียนคําสั่งควบคมุ ใหคอมพวิ เตอรทาํ งานตามความตอ งการของผใู ชโ ปรแกรม ค. เปนเครอ่ื งมือท่ีใชใ นการคาํ นวณและใชใ นการเปรยี บเทียบ ง. การดําเนนิ การที่เกดิ ขึ้นในสมองเปน กระบวนการตามธรรมชาตขิ องมนุษย 10. ขอ ใด คือ สบี นจอคอมพวิ เตอรท เ่ี กดิ จากการผสมของแมสที างแสง ก. สีแดง สีเขยี ว และสนี า้ํ เงนิ ข. สชี มพู สีสม และสฟี า ค. สีเหลอื ง สีเทา และสขี าว ง. สีน้ําตาล สํามว ง และสีดํา องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 3 กระดาษคําตอบแบบทดสอบกอนเรยี น เร่ือง องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและ เทคโนโลยสี ารสนเทศ คาํ ชแ้ี จง ใหน ักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกท่ีสดุ เพียงคําตอบเดยี วแลวทําเคร่ืองหมาย X ลงในกระดาษคาํ ตอบ ขอ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนท่ีได ..................... คะแนน  ผา น  ไมผา น องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) 4 เร่ือง องคป ระกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอรแ ละ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แนวคดิ สาํ คัญ ฮารดแวร เปนเครื่องคอมพิวเตอรและองคประกอบตาง ๆ ฮ า ร ด แ ว ร ห ม า ย ถึ ง เค รื่ อ ง คอมพิวเตอรและองคประกอบตาง ๆ ซ่ึง ซ่ึงแบงการทํางานเปนหนวยตาง ๆ ไดแก หนวย แบงการทํางานเปนหนวยตาง ๆ ไดแก รับเขา หนวยประมวลผลกลาง และหนวยสงออก หนวยรับเขา หนวยประมวลผลกลางและ แ ล ะ อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ภ า ย น อ ก ที่ ส นั บ ส นุ น ร ะ บ บ หนวยสง ออก สารสนเทศ เชน ระบบสื่อสาร เครื่องพิมพ เคร่ือง กราดภาพ กลองดจิ ทิ ลั ไมโครโฟน หนวยรบั เขา (Input unit) ทําหนา ทรี่ ับขอมลู เขา ในระบบ อปุ กรณร ับเขา พื้นฐานที่เช่ือมตอกบั คอมพิวเตอร ไดแก แผงแปนอกั ขระและเมาส นอกจากนี้ยังมีอุปกรณรับเขาอน่ื ๆ เชน ภาพที่ 1 ภาพแผงแปน อกั ขระและเมาส จอภาพแบบสัมผัส (Touch screen) รับขอมูลโดยการสัมผัส บนหนาจอ เชน ใชน้ิวแตะท่ีสัญรูปบนจอใหคําสั่งในสัญรูปนั้นทํางาน แทนการคลิกเมาส สมารตโฟนเปนทั้งคอมพิวเตอรและระบบสื่อสาร สามารถพิมพขอ ความบนจอไดเ หมือนแผงแปน อักขระท่ัวไป ภาพที่ 2 ภาพจอภาพแบบสัมผัส ภาพท่ี 3 ภาพไมโครโฟน ไมโครโฟน นอกจากจะใชบันทึกเสียงแลวยังรับ ขอมูลและคําส่ังดวยเสียงได ในเครื่องมือคนดูเว็บที่มีรูป ไมโครโฟนสามารถคนหาขอมูลดวยเสียงได เชน คนหาสถานที่ คน หาเว็บไซต หาคําศัพทเปนภาษาตาง ๆ การคน หาดวยเสียง ในเคร่ืองมือคนหามีตวั เลอื กใหออกเสียงอานคําศัพทไดอกี ดวย องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วชิ า วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 5 กลองดิจิทัล รับขอมูลภาพและภาพเคลื่อนไหว เปนกลองขนาด เล็ก เชน กลองท่ีติดตั้งในโนตบุก เรียกวา เว็บแคม (Web cam : Web camera) สามารถสงภาพผานระบบอินเทอรเน็ตไปยังผูรับในขณะ สนทนากันได ใชในการประชุมทางไกลผานกลองวีดิทัศน (Video conference) ภาพที่ 4 ภาพกลอ งดจิ ิทัล เคร่ืองกราดภาพ (Scanner) นอกจากพิมพภาพทางเคร่ืองพิมพแลวยังสามารถใชโปรแกรม รับภาพจากเครื่องกราดภาพเก็บเปนขอมูลในคอมพิวเตอรได ในกรณีท่ี เปนภาพที่กราดจากขอความเชน หนังสือหรือเอกสารตาง ๆ เม่ือรับภาพ เขาในระบบแลว สามารถใชโปรแกรมแปลงภาพกลับไปเปนขอความได ดวยระบบแสงโปรแกรม OCR (Optical Chasacter Recogniton เมื่อ แปลแลวจะสามารถแกไขขอความไดเหมือนเอกสารทั่วไป แตหลังจาก แปลงแลวอาจมีขอมลู ผดิ พลาดจากการแปลงบาง ตองตรวจสอบใหมีแฟม ภาพท่ีแปลงเปนขอความได คือ แฟมชนิด pdf, jpg, bmp, gif. jp2, jpeg, pbm, pcx, pgm, png, ppm, tga, tiff, wbmp, webp ภาพที่ 5 ภาพเคร่อื งพิมพ มีโปรแกรมใหดาวนโหลดฟรี หรือแปลงในเว็บไซตที่ใหบริการเลยก็ได OCR คือ การแปลง ไฟลภ าพอกสาร เปน ไฟลข อ ความอตั โนมัติ เครื่องสแกนลายน้ิวมือ นอกจากเครื่องกราดภาพแลวยังมีเครื่องมืออ่ืน ๆ ที่มีการทํางาน เหมือนเคร่ืองกราดภาพ เชน เครื่องสแกนลายน้ิวมือ เคร่ืองอานบัตร เครื่องอานรหัสแทง อุปกรณ เหลานี้จะมีระบบฐานขอมูลเก็บขอมูลตาง ๆ ไวกอน เชน ลายน้ิวมือ และขอมูลของผูใชบัตรตาง ๆ เคร่ืองอานลายน้ิวมือ นิยมใชในการ บนั ทึกเวลาทํางานหรือระบบรกั ษาความปลอดภัยอื่น ๆ เมอื่ ผใู ชนํานิ้ว มือแตะท่ีเคร่ืองอานแลวระบบจะเปล่ียนภาพลายน้ิวมือท่ีรับเขาเปน ขอ มลู ดิจิทัลนาํ ไปเปรียบเทียบกับขอมูลท่ีบันทึกไว เมือ่ พบขอ มูลจะสง ขอมลู ไปดาํ เนินการตอไป ภาพที่ 6 ภาพเครื่องอา นลายนวิ้ มือ เครื่องสแกนใบหนา ใชในการตรวจสอบขอมูล เชน การ ตรวจสอบใบหนาเพ่ือบันทึกการเขาทํางาน โดยเก็บขอมูลใบหนาท้ัง ดานหนา ดานขาง และจุดสังเกตสําคัญบนใบหนาของแตละคนไวใน ฐานขอมูล เมอื่ มีคนเดนิ ผา นเคร่ืองสแกน เคร่อื งอานทีม่ ีลกั ษณะคลาย กลอ งถายภาพหลาย ๆ มุมจะนาํ พิกัดของภาพไปเปรียบเทียบกบั ขอ มลู ที่เกบ็ ไวว า ตรงกนั หรอื ไม ภาพที่ 7 ภาพเครอ่ื งสแกนใบหนา องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) 6 ปจจุบันมีชอฟตแวรประเภทสแกนใบหนาแจกฟรีในหลายเว็บไซต โดยนักเรียนสามารถ นําไปใชพฒั นาโปรแกรมเปน โครงงานตาง ๆ เชน กลอ งตรวจจับใบหนาเปรยี บเทียบกับขอมูลที่บันทึกไว หนว ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) เปน อุปกรณ อิเล็กทรอนิกสท ่เี ปรยี บเสมอื นสมองของระบบคอมพวิ เตอรทาํ หนา ที่ประมวลผลขอมลู ตามชุดคาํ ส่งั ที่ ซอฟตแ วรส ง มาภายในซีพยี แู บง เปนหนวยตาง ๆ คอื หนวยควบคุม (Control unit) ทําหนาที่ควบคุมการทาํ งานของระบบ หนวยคํานวณและเปรียบเทียบ (Arithmetic and Logic unit) ทําหนาที่คํานวณ ตามกระบวนการทางคณติ ศาสตร (Arithmetic) และเปรียบเทยี บ (Logic) ซีพียูท่ีนิยมใชกับคอมพิวเตอรเดสกท็อปและโนตบุกมีบริษัทผลิตที่นิยมใชมากอยู 2 บริษัท คือ บริษัทอินเทล (t) ท่ีผลิตซีพียูรุนตาง ๆ จนถึงรุนเพนทียมซึ่งเปนซีพียูระดับ 32 บิต และ ตอมาเปล่ียนเปนรุน Core i ไดแก i3, s, : และ i9 ที่รองรับการทํางานระดับ 64 บิต และอีกบริษัท คือ บริษัทเอเอม็ ดี AMD (Advanced Micro Device) เปน คแู ขงกับบรษิ ัทอนิ เทลในการผลิตซีพยี ู ซพี ียูรุนเกาของอินเทล เชน เพนเทียมรุนตาง ๆ เปนซีพียูระดับ 32 บิต และพัฒนาเปนรุน i Core ท่ีเปน ซพี ยี ูระดบั 64 บติ มีความเรว็ ในการประมวลผลสูงขนึ้ สวนบริษทั AMD ก็พฒั นาตามไปดวย บริษัทแอปเปลคอมพิวเตอร เปนอีกหน่ึงบริษัทท่ีเปนที่นิยมในดานการผลิตเครื่อง คอมพิวเตอรระบบปฏิบัติการของบริษัทเอง ซ่ึงใชชีพียูของอินเทล โดยในปจจุบันผลิตชีพียูออกมาใช กับและจะพฒั นามาใชก ับเคร่ืองคอมพิวเตอรด ว ย ภาพที่ 8 ภาพซีพยี ู หนว ยความจาํ (Memory Unit) แบง ออกเปน 2 ประเภท คือ หนวยความจําหลัก (Main storage) และหนว ยความจํารอง (Secondary storage) 1. หนวยความจาํ หลกั (Main storage) 1.1 หนวยความจํารอม (Read Only Memory: ROM) เปนหนวยความจําท่ีอานได อยา งเดยี วไมสามารถเขยี นโปรแกรมหรอื ขอมูลทับลงไปได เปนโปรแกรมทบ่ี ันทกึ มาจากโรงงานผูผลิต หนวยความจาํ โดยเฉพาะ เชน RM B เปนรอมที่เก็บโปรแกรมควบคุมระบบรบั สงขอมูลขนั้ พื้นฐานของ คอมพิวเตอร EPROM (Eraser Programmable ROM) เปนรอมที่มีชอ งแสงสาํ หรับลบขอ มูลดวยแสง เลเซอรและบรรจุโปรแกรมใหมใสเ ขา ไปได องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) 7 1.2 ห น ว ย ค ว า ม จํ า แ ร ม ( Random Access Memory: RAM) เป น หนว ยความจาํ ท่ใี ชเกบ็ ขอมูลไวช่ัวคราว เม่ือปดเคร่ืองหรือออกจากโปรแกรมขอมลู จะถูกลบไปท้ังหมด เชน เม่ือนักเรียนเปดใชโปรแกรมประมวลผลคําเพื่อพิมพเอกสาร โปรแกรมประมวลผลคําจะถูกอาน เขามาในหนวยความจําแรม เม่ือพิมพขอมูลจะกันพื้นที่ในหนวยความจาํ แรมอีกสวนหนึ่งไวเก็บขอมูล ท่พี ิมพกอนออกจากโปรแกรมจงึ ตองสั่งใหบ นั ทึกขอมลู ไว หนวยความจําแรมในปจจุบันใชเทคโนโลยีการผลิตแบบ Double Rate (DDR) เปนรุน ตาง ๆ เชน DDR, DDR 2, DDR 3 และ DDR 4 ภาพที่ 9 ภาพหนว ยความจาํ ROM และ RAM 2. หนวยความจํารอง (Secondary storage) เปนหนวยความจําท่ีแยกออกจาก แผนวงจรหลัก เชน ฮารดดิสก (Hard Disk Drive: HDD) เปนแผนจานแมเหล็กท่ีมีหัวอานอยูทั้ง 2 ดาน ใชเ ก็บขอ มูลและโปรแกรมตาง ๆ เชน เมอื่ ติดต้งั โปรแกรมภาษาไพทอน ตัวโปรแกรมจะถกู ตดิ ต้ัง ไวในหนวยความจํารองหรือฮารดดิสก และบันทึกเปนดัชนีไวในโปรแกรมระบบวามีโปรแกรมนี้พรอม กับสรางแปนลัดเปนภาพเล็ก ๆ เรียกวา สัญรูปหรือไอคอน (Icon) ไวในโปรแกรมระบบ เมื่อคลิกจะ อานโปรแกรมไพทอนจากฮารดดิสก เขามาในหนวยความจําแรม และเมื่อเลิกใชโปรแกรมใน หนว ยความจาํ แรมจะถูกยกเลิกไปจากระบบ แตย ังมีโปรแกรมอยูในหนว ยความจํารอง โดยอายุการใช งานของหนว ยความจํารองขึ้นอยูกบั การใชงานของผใู ช ภาพท่ี 10 ภาพฮารด ดสิ ก (Hard Disk Drive: HDD) หนวยความจําแบบแฟลช นิยมเรียกสั้น ๆ วา แฟลชไดรฟ เปนหนวยความจํารองชนิด ทบี่ นั ทกึ ได มขี นาดเล็กพกพาสะดวก ปจ จบุ ันนิยมใชบ ันทึกขอ มูลแทนการใชแผน ซีดี ภาพที่ 11 ภาพแฟลชไดรฟ องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วิทยาการคํานวณ (ว22103) 8 คอมพิวเตอรเ กบ็ ขอมลู เปน รหัสเลขฐานสอง เรยี กวา บิต (bit) 1 บติ จะมีเลขฐานสอง 2 ตัว คอื 0 และ 1 ตวั อักขระ (Character) ไดแ ก ตวั อักษร ตวั เลข และสัญลักษณต างๆ 1 ตวั แทนดว ย สญั ญาณดิจิทลั ขนาด 8 บติ เรยี กวา ไบต (Bye) การเก็บขอมลู จึงเก็บเปน ไบต โดยใชต ัวพหคุ ณู ทาง คณติ ศาสตร ดงั ตารางท่ี 1 ซพี ยี ู 64 บิต หมายถึง การประมวลผลขอมลู ไดครง้ั ละ 8 ตัวอกั ษร ตารางที่ 1 คํานําหนาหนวยแสดงปรมิ าณดวยตัวเลขท่ีใชม ากในงานคอมพวิ เตอร คาํ นําหนา หนวย ศพั ทบญั ญัติ ตัวคณู สญั ลักษณ femto เฟมโต 10-15 f giga กกิ ะ, จกิ ะ 230 G kilo กโิ ล 210 K,k 220 mega เมกะ 106 M micro ไมโคร 10-6 µ Milli มิลลิ 10-3 M nano นาโน 10-9 N pico พิโก 10-12 P 240 tera เทระ 1012 T ท่ีมา : ศัพทคอมพิวเตอร ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน 210 = 1,024 220 = 1,048,576 230 = 1,073,741,824 240 = 1,099,511,627,776 103 = 1,000 106 = 1,000,000 109 = 1,000,000,000 1012 = 1,000,000,000,000 หนว ยความจาํ แรมความจอมูลต้ังแต 1 ถงึ 8 กิกะไบต และกําลงั พฒั นาใหมีความจเุ พ่มิ ขึ้น ฮารด ดสิ กมีความจขุ อมูลเปนกิกะไบต (GB) ถงึ เทราไบต (Tera bytes: TB) เชน 4 TB, 8 TB และ 16 TB ขนึ้ อยกู บั การเลือกของผซู ื้อ แนวคิดสาํ คญั ซ อ ฟ ต แ ว ร (Software) เป น โ ป ร แ ก ร ม ซอฟตแวร (Software) เปน คอมพิวเตอรที่พัฒนาข้ึนตามจุดประสงคของการใชงาน เชน ควบคุมการทํางานของฮารดแวร เชน ไบออส โปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีพัฒนาขึ้นตาม ซ อ ฟ ต แว รท่ี ใช เป น โป รแ ก รม ข อ งระบ บ ได แ ก จุดประสงคของการใชงาน เชน ควบคุม ระบบปฏิบัติการแบบตาง ๆ ซอฟตแวรประยุกต และ การทาํ งานของฮารดแวร ซอฟตแวรส ําเรจ็ องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 9 ซอฟตแวรระบบ (System software) เปนซอฟตแวรที่พัฒนาข้ึนมาเพ่ือใชควบคุมการ ทํางานของฮารดแวร มีชื่อเรียกวา ระบบรับสงขอมูลพ้ืนฐาน (Basic Input Output System: BIOS) หรือไบออส ซอฟตแวรน้ีบันทึกในชิปชนิดซีมอส เรียกวา เฟรมแวร (Firmware) ใชสําหรับตั้งคาการ ทาํ งานของฮารดแวรตา ง ๆ ยังคงใชกันอยจู นปจจบุ นั เนื่องจากการพัฒนาฮารดแวรอยางรวดเร็วทําใหสมรรถนะของคอมพิวเตอรสูงข้ึนมาก เชน เปล่ียนซีพียูจาก 32 บิต เปน 64 บิต มีหนวยความจําแรม (RAM) สูงถึง 32 จิกะไบต ฮารดดิสก ความจุสูงกวา 10 เทระไบต ไบออสรุนเดิมเร่ิมมีปญหาเพราะใชกับซีพียู 32 บิต แลวอาน หนวยความจําไดไมเกิน 4 จิกะไบต และอานความจุขอมูลของฮารดดิสกไดไมเกิน 2 เทระไบต บริษัท ผูพัฒนาซอฟตแวรตาง ๆ รวมท้ังบริษัทไมโครซอฟต จึงรวมกันพัฒนาโปรแกรมไบออสใหมใหมี สมรรถนะสูงตามการเปล่ียนแปลงของฮารดแวร เรียกวา UEFI (Unified Extensible Firmware Interface) เพ่ือใหอานฮารดดิสกความจุเกิน 10 เทระไบตไต และเปลี่ยนวิธีแบงพารติชันของ ฮารดดิสกจากระบบ MBR (Master Boot Records) เปนระบบ GPT (GUID Partition Table) เพอื่ ใหอา นหนว ยความจําแรมไดม ากกวา 4 จกิ ะไบต แตก ็ยงั คงรปู แบบอื่น ๆ ของไบออสเดิมอยู เม่ือเปดเครื่องไบออสจะตรวจสอบสภาพแวดลอมวามีอุปกรณอะไรติดต้ังในระบบแลว จะเร่ิมจัดการเชื่อมตอกับหนวยตาง ๆ พรอมกับอานขอมูลของอุปกรณนั้นเขามาในโปรแกรม นอกจากนี้ในซีมอสยังมีปฏิทินท่ีใชกระแสไฟฟาจากแบตเตอร่ีท่ีอยูในแผงหลักหลอเล้ียงทําใหนาฬิกา เดนิ อยูตลอดเวลา แมไมเ ปด เคร่ือง ซ่ึงถาเวลาผดิ ไปจากปกติจะสามารถตัง้ เวลาใหมไ ด การปรบั แตโปรแกรมซีมอส เมือ่ เปด สวิตซเ ครือ่ งใหก ดแปน F2 คางไว หรอื อาจเปน แปน อื่นๆ ขึ้นอยูกับบริษัทท่ีผลิตเครื่อง ใหดูคําอธิบายบนจอเม่ือเปดเครื่องวาตองกดแปนใด หลังจากกด แปนแลวจะเขาสูโปรแกรม CMOS setup ดังภาพที่ 12 ภาพท่ี 12 ภาพ Information เมนูแรกของโปรแกรมซมี อส องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วชิ า วิทยาการคํานวณ (ว22103) 10 ตวั อยางการแจง ขอมลู ของไบออส CPU Info: ขอ มลู ของซพี ยี ู เชน Intel Core i5-7200บ CPU e 2.5 GHz เปน ซพี ยี ูรนุ i5 ของบรษิ ัทอินเทล และตัวเลข 2.5 GHz คอื ความเร็วใน การประมวลผลของซีพยี ู VGA BIOS Version: ระบบแสดงผลเปน การดจอย่ีหอ ใด HDD Name: ชอ่ื และยห่ี อ ของฮารดดิสก ATAPI Name: อุปกรณตอ พวงเปน DVD (ATAPI ยอ จาก Advanced Technology Attachment peripheral interface) Total Memory: ขนาดของหนวยความจําแรมทง้ั หมดของเครอ่ื ง คือ 8,192 MB เทา กบั 8 GB การตัง้ เวลาใน CMOS คลิกเมนู Ma ที่ system Time แถวแรก คือ เวลาปจ จบุ ัน แถบดา นลา งจะบอกวิธใี ชตา ง ๆ ไดแก F1 คอื Help Esc Exit กดแปน Esc คอื ออกจากโปรแกรม แปน ลกู ศรขึ้น-ลง คอื เลือกรายการ แปนลกู ศรซาย-ขวา คือ เลือกเมนู F5/F6 คอื เปลย่ี นตัวเลข Enter คอื เลอื กใช ภาพท่ี 13 ภาพแถบดานลางของโปรแกรมซมี อส วิธเี ปลย่ี นเวลา จากภาพท่ี 14 จะเหน็ ไดวา เวลาเปน 23 นาฬกิ า ใหกดแปน F5 หรือ F6 เปลยี่ นเวลาใหเปนปจ จุบัน เสร็จแลวกดแปน ลูกศรไปทางขวา แกนาทดี ว ยวิธเี ดยี วกนั (บางรุนใหกด Tab) วธิ เี ปล่ียนปฏิทนิ หลังจากตั้งเวลาแลว กดแปนลกู ศรลงไปท่ี System Date ปฏทิ ินจะเปน รูปแบบ เดือน/วัน/ป (ค.ศ.) ไมใชร ปู แบบ วัน / เดอื น/ ป ภาพที่ 14 ภาพ เมน Main ใน CMOS องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 11 โปรแกรมระบบปฏิบตั กิ าร โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating system) เปนโปรแกรมที่จัดการใหคอมพิวเตอร ติดตอ กับฮารด แวรและโปรแกรมประยุกตอ ่ืน ๆ ท่ีติดตัง้ ไวในระบบ เมื่อเปด เคร่ืองคอมพวิ เตอรจ ะอาน โปรแกรมไบออส เรียกวา การบตู (Bot) เสร็จแลวสง การทํางานมาอา นโปรแกรมระบบปฏิบัตกิ าร ระบบปฏบิ ตั ิการ MAC OS ของบริษัทแอปเปล ใชก ับเคร่ืองของแอปเปลเทา น้นั ซ่ึงเปนหน่ึง ขอ เสียท่ีจาํ กัดการใชง านเฉพาะผลติ ภัณฑของแอปเปล เทาน้ัน ระบบปฏบิ ัติการแอนดรอยต ใชก ับแทบ็ เล็ต และสมารตโฟน ขอ ดกี ค็ ือ ในการดาวนโ หลด แอปพลเิ คชน่ั ลงสมารต โฟนน้ันสวนมากจะไมม ีคาใชจ า ย ระบบปฏบิ ัติการลินกุ ซ ใชก บั เครอ่ื งพซี ี (สว นใหญใชกับเคร่ืองบริการ) ซงึ่ ขอดีของระบบนก้ี ็ คือไมเสยี คาใชจ า ยและคอนขางมีเสถยี รภาพดี ระบบปฏิบตั ิการวนิ โดวส ของบริษัทไมโครซอฟตใชกับเครื่องพีซี ซ่ึงระบบนจ้ี ะมีขอ เสยี ที่มี คาใชจ า ยและคอ นขางไมเ สถียร ระบบปฏบิ ตั ิการวินโดวสพัฒนามาถึงรนุ ที่ 10 เปน ซอฟตแวรท ่ีใชกบั คอมพวิ เตอรระดับ 6 บิต สามารถมองหนวยความจําแรมไดม ากกวา 4 จิกไบต หลังจากอานระบบปฏิบตั กิ ารเชา ไปใน หนว ยความจาํ เสรจ็ แลว จึงตรวจสอบวาไดติดตง้ั โปรแกรมประเภทฝง ตวั ไวใ นหนวยความจําหรอื ไม ถา พบก็จะอา นเขา มนหนวยความจาํ ดวย เชน โปรแกรมตรวจจบั มลั แวรตาง ๆ โปรแกรม OneDrive และโปรแกรมขบั อุปกรณ(Driver) ตาง ๆ มัลแวร (Malware) ยอมาจาก Malicious Software หมายถึง โปรแกรมประสงครา ยตาง ๆ ทเี่ ขา มาโจมตีระบบทําใหเกิดความเสียหาย รวมไปถึงการโจรกรรมขอมลู มลั แวรแ บงเปนหลาย ประเภท เชน ไวรัส (Vius) เวิรม หรอื หนอน (Worm) มาโทรจนั (Trojan Hors) และโปรแกรมแอบดัก จับขอ มูล (Spyware) ตา ง ๆ ซ่ึงอาจเปน การขโมยรหสั บญั ชีธนาคารออนไลนด วยโปรแกรมล็อกแปน บนเครอ่ื งคอมพวิ เตอรข องผใู ชง าน (Key Logger) นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมแอดแวร (Adware: Advertising supported software) เปน โปรแกรมท่สี นบั สนนุ การโฆษณา โดยมักพบจากการดาวน โหลดโปรแกรมฟรีบนอนิ เทอรเน็ต Look screen รายการนจ้ี ะทํางานเมอื่ ไมมกี ารใชง านตามเวลาท่ีตั้งไวใ น Screen time out setting สามารถเลือกภาพและแอปพลิเคชนั ใหแสดงพรอมกัน หรือเลอื กเปน Screen Saver โดย คลิกท่ี Screen saver setting เขาไปเลอื กภาพเคล่ือนไหวตา ง ๆ องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 12 ซอฟตแวรประยุกต เปนซอฟตแวรท่ีมีผูพัฒนาข้ึนมาเพ่ือใชทํางานเฉพาะทาง ผูใช ซอฟตแวรไมจําเปนตองมีความรูทางคอมพิวเตอรมากนักก็สามารถใชงานได เชน โปรแกรมระบบ การเงินและบัญชีตาง ๆ โปรแกรมในเครื่อง ATM (Automatic teller machine) โปรแกรมงาน เอกสาร งานนําเสนอ โปรแกรม คนดูเว็บและโปรแกรมสืบคนทางอินเทอรเน็ต ซอฟตแวรประยุกต มที ัง้ ท่พี ฒั นาข้ึนมาเพ่ือจําหนา ยและทีแ่ จกใหส ามารถนําไปใชไดฟรี โดยแบง เปนประเภทตาง ๆ ดังน้ี 1. ซอฟตแวรเชิงพาณิชย (Commercial ware) เปนซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้นมาเพ่ือ จําหนายเชิงพาณิชย ไดรับลิขสิทธิ์คุมครองทางกฎหมาย เชน โปรแกรมไมโครซอฟตออฟฟศ office for Mac โปรแกรมระบบสินคาคงคลัง โปรแกรมบญั ชีตา ง ๆ 2. ฟรีแวร (rreware) เปนชอฟตแวรท่ีแจกใหใชแบบไมคิดมูลคาและสามารถคัดลอก สามารถสงตอใหผูอ่นื ได แตห ามจําหนายเปนการคา เชน โปรแกรม Scratch ภาษาไพทอน โปรแกรม Photo scape ใชต กแตงภาพ 3. แชรแวร (Shareware) เปนซอฟตแวรท่ีแจกใหทดลองใชในระยะเวลาท่ีกําหนด หรอื ใหใชไ ดเพยี งบางสว นตามเง่ือนไขทร่ี ะบุในซอฟตแวร เชน โปรแกรมปองกนั ไวรสั คอมพิวเตอรท ีใ่ ห ดาวนโหลดฟรี 4. โอเพนซอรส (0pen-souce) เปนโปรแกรมทีเ่ ปด เผยภาษาตนฉบับเพอ่ื ใหผูนําไปใช รวมกันพัฒนาใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เชน โปรแกรมโอเพน ออฟฟศ โปรแกรมลินุกซ โปรแกรมเพิรล โปรแกรมไฟรฟอกซ โปรแกรม MySQL ซอฟตแวรประเภทน้ีมักจําหนายในราคาถูกเพื่อใหใชได กวา งขวางข้ึน โปรแกรมประยกุ ตท ีน่ ยิ มใชก นั ทั่วไป โปรแกรมประยุกตที่นิยมใชกันทั่วไปสวนใหญมักจะเปนโปรแกรมสํานักงาน ซึ่งก็คือ โปรแกรมจัดการกับเอกสารและการคํานวณในงานสํานักงาน ไดแค Open office ที่เปนโปรแกรม ประเภทฟรีแวรของบริษัทซันไมโครซิสเท็ม, Microsoft office และ office for Mac ของบริษัท ไมโครซอฟตซ่ึงจําหนายในเชิงพาณิชย ในชุดของโปรแกรมออฟฟศประกอบดวยโปรแกรมท่ีใชงาน ดานตา ง ๆ ยกตัวอยาง ดงั นี้ 1. โปรแกรมประมวลผลคํา เปนซอฟตแวรท่ีใชในงานพิมพเอกสาร สามารถตรวจแก ขอ ความบนจอภาพกอนพิมพทางเคร่ืองพิมพได มีระบบตัดคําอัตโนมตั ิทายบรรทัด และมีพจนานุกรม ตรวจการสะกดคําอัตโนมัติ แทรกภาพและวัตถุลงในเอกสารได พิมพสมการทางคณิตศาสตรตาง ๆ เลือกแบบอักษรตัวยก (Superscript) พิมพเลขยกกําลัง เชน 3 และตัวหอย (Subscript) พิมพสูตร เคมี เชน H2O นอกจากน้ียังมีเมนูจดหมายเวียน (Mailings) สําหรับสรางเอกสารที่เปล่ียนรายการจา หนาถึงผรู บั ไดหลายๆ คนโดยอา นช่ือจากฐานขอมูล 2. โปรแกรมตารางคํานวณ เปนซอฟตแวรท่ีใชในการคํานวณ เชน การทําบัญชี เบ้ืองตนการทําตารางสถิติตาง ๆ ตารางคะแนนสอบ ตัวซอฟตแวรเหมือนสมุดงาน (Work book) ขนาดใหญที่มีกระดาษทําการ (Work sheet) จํานวนมาก กระดาษแตละแผนถูกแบงเปนตาราง แต ละชองของตาราง เรียกวา เซลล (cell) แตละเซลลมีชื่อกํากับตามคอลัมนและแถว เชน A 1 องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วชิ า วิทยาการคํานวณ (ว22103) 13 หมายถึง คอลัมน A แถว สั่งใหนําขอมูลในเซลลตาง ๆ มาคํานวณได มีฟงกชันคํานวณใหเลือกใช มากมายและสรา งแผนภมู ิจากขอมลู ไดอ ยา งรวดเร็ว 3. โปรแกรมฐานขอมูล เปนซอฟตแวรจัดการกับฐานขอมูล มีคําส่ังจัดการกับขอมูล เปนภาษาของโปรแกรมโดยเฉพาะ เชน โปรแกรมไมโครชอฟตแอกเซส (Microsoft Access) ของ บริษัทไมโครชอฟต สวนระบบฐานขอมูลของบริษัทอื่น ๆ ท่ีนิยมใชกันมาก เชน โปรแกรมออราเคิล (Oracle) ของบริษัทออราเคิลคอปเปอรเรชัน โปรแกรมมายเอสคิวแอล (MySQL) ของบริษัท MySQL AB ประเทศสวีเดน โปรแกรมฐานขอมูลนิยมใชเปนท่ีเก็บขอมูลรวมกับโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร เชน โปรแกรมทะเบียนนักเรียนท่ีตองเก็บขอมูลนักเรียนท้ังโรงเรียนไวเปน คลังขอมูล เมื่อตองการใชขอมูลของนักเรียนคนใดหรือชั้นเรียนใด โปรแกรมภาษาจะไปตรวจสอบ ขอ มูลในคลงั ขอ มลู เมอ่ื พบจะนําขอมลู ออกมาแสดงผลตามคําสง่ั ท่ีกําหนดไว 4. โปรแกรมนาํ เสนอ ใชในงานนําเสนอขอมูลขาวสารหรอื สรางบทเรยี นเสรมิ การเรียนรู ในบางซอฟตแวรจะนําเสนอเปนภาพน่ิง (slde) บางซอฟตแวรใชการนําเสนอในรูปแบบวดี ิทัศน เชน โปรแกรม Power Point ของบริษัทไมโครซอฟต นําเสนอในรูปแบบภาพนิ่งที่สามารถแทรกขอความ ภาพ ภาพเคล่ือนไหว ภาพยนตร และเสียงได นอกจากน้ียังมีโปรแกรมในลักษณะนําเสนอของบริษัท อ่ืนๆ อีกดวย เชน โปรแกรม Prezi ของบริษัท Prezi จะนําเสนอเปนวีดิทัศนออนไลน โปรแกรม Swish Max 4 ของบริษัท Swishzone ตองใชคูกับ Flash player และยังมีโปรแกรมอื่นๆ ใหเลือก ใชไ ดอีกหลายโปรแกรม ซ่ึงทั้งโปรแกรม Prezi และ Swish มีแบบใหทกลองใชฟรี 5. โปรแกรมประชุมออนไลน (Skype Video) ใชประชุมทางไกลโดยใชกลองที่ เชื่อมตอ กับคอมพิวเตอรเพ่ือชวยใหเ ห็นภาพของผทู ีร่ ว มประชมุ ออนไลน 6. โปรแกรมคนดเู ว็บ (Web browser) ไดแก เว็บไซตต า งๆ ท่ีใชสืบคน ขอ มูลและทอ ง อนิ เทอรเ น็ต 7. โปรแกรมอานแฟมพีดีเอฟ ใชอานแฟมเอกสารชนิด pdf ซ่ึงเปนรูปแบบการเก็บ เอกสารของบรษิ ัทอะโดบี (Adobe) โปรแกรมนสี้ ามารถดาวนโ หลดไดโ ดยไมตองเสียคา ใชจ าย 8. โปรแกรมท่ีเปนประโยชนกับการเรียนการสอน เชน โปรแกรม Graph Writer ใช สรางกราฟจากสมการตาง ๆ โปรแกรม periodic สําหรับเรียนรูเรื่องตารางธาตุ โปรแกรม Sound Level meter วดั ระดับความดังของเสียง ซ่ึงโปรแกรมนคี้ วรใชใ นสมารตโฟน เพื่อความสะดวกในการ ตรวจสอบในท่ีตาง ๆ โปรแกรมประเภทน้ีมีท้ังท่ีสามารถดาวนโหลดไดฟรีและแบบทดลองใชบางสวน หากตองการฉบับเตม็ จะตอ งเสยี คาใชจ าย องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 14 ภาพท่ี 15 ภาพโปรแกรมตารางธาตุ ภาพท่ี 16 ภาพโปรแกรมวัดระดบั ความดังของเสยี ง ซอฟตแวรสําเร็จ (Package software) เปนซอฟตแวรท่ีพัฒนา ข้ึนมาเพื่อใช เฉพาะงาน มีลิขสิทธิ์ของผูพัฒนา เชน โปรแกรมบัญชี โปรแกรมออกแบบช้ินงาน โปรแกรมสรางภาพ โปรแกรม บันทึกเวลา ทํางานและคิดคาจางในเคร่ืองลงเวลาตางๆเชนเครื่องอานบัตร เครื่องสแกนลายน้ิวมือ เครื่องสแกนใบหนาโดยการพัฒนาชอฟตแวรประเภทนี้นิยมใชภาษาคอมพิวเตอรตาง ๆ เชน ภาษาซี ภาษาจาวา ภาษาไพทอน ภาษาสคริปต ภาพที่ 17 ภาพการรับ-สงขอมูลระหวางเครื่องสแกนลายนิ้วมอื กบั เครอ่ื งคอมพิวเตอร ตวั อยา ระบบลงเวลาทํางานของพนักงานโดยการใชเครื่องสแกนลายนิ้วมือระบบลงเวลาทํางานของ พนักงานโดยการใชเคร่ืองสแกนลายน้ิวมือ ภายในเคร่ืองสแกนลายนิ้วมือ จะมีโปรแกรม ปฏิทินและหนวยความจําอยูระดับหน่ึงเพื่อสํารองขอมูล เครื่องสแกนจะเช่ือมตอกับ คอมพิวเตอรท่ีติดตั้งโปรแกรมของระบบไว โดยโปรแกรมของระบบจะตองบันทึกขอมูล ลายนิ้วมอื และประวัติรวมท้ังคาจา งของพนักงานไวก อน ซึ่งหากมีพนักงานจํานวนมากอาจจะ ตอ งมีการใชเคร่อื งสแกนหลายเคร่อื ง และเช่ือมตอกบั คอมพวิ เตอร การทํางานของเคร่ืองสแกนลายน้ิวมือ คือ เมื่อมีผูสแกนลายน้ิวมือโปรแกรมจะทําการ ตรวจสอบลายนิ้วมือกับขอมูลท่ีบันทึกไวกอนหนา ถาตรงกันจะแจงใหเจาของลายน้ิวมือทราบ โดย อาจเปนเสียงเตือนหรอื เปนคําพูดสั้น วาผานหรือไมผาน พรอมกับบันทึกเวลาที่สแกนท้ังเขาและออก เก็บไว เม่ือครบกาํ หนดจายคาตอบแทนเชน เงินเดือนหรือจา ยเปน สัปดาห โปรแกรมของระบบจะสรุป เวลาทํางานท้ังหมดแลวคํานวณคาตอบแทนไดเปนงวดหรเื ปนเงินเดือน รวมถึงยังคํานวณคาลวงเวลา ใหอ ยางรวดเร็ว องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 15 ระบบคลาวด (Cloud computing) คือ ระบบจดั เก็บขอมูลขนาดใหญของผูใหบริการ เชน ไมโครซอฟตคลาวดและอื่น ๆ ซ่ึงจะใชการเช่ือมตอผานเครือขายอินเทอรเน็ต ใหบริการรับฝากขอมูล เชน เม่ือนักเรียนจดที่อยูอีเมลแอดเดรสแลว จะมีพ้ืนที่ใหในระบบคลาวดระดับหนึ่งเพื่อบันทึกขอมูล ไว นอกจากน้ียังมีซอฟตแวรและทรัพยากรอ่ืน ๆ ใหใช ทําใหสามารถทํางานในที่ตาง ๆ ไดท่ัวโลก โดยไมต องพกพาขอมลู ติดตัวไปดว ย ระบบลงเวลาก็พัฒนามาใชบริการผานคลาวด โดยท่ีบริษัทผูใหบริการจะมีพื้นท่ีเก็บซอมูล ขนาดใหญเครื่องบันทึกเวลาจะเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ต เมื่อมีผูสแกนลายนิ้วมือระบบจะสงขอมูลไป เก็บในเครื่องบริการ และถาระบบอินเทอรเน็ตขัดของก็จะสํารองขอมูลไวในเคร่ืองสแกนกอน โดย โปรแกรมจะตรวจสอบวาเชอื่ มตอ ไดห รอื ไม ถามกี ารเชือ่ มตอ แลวจะสง ขอ มลู ไปเกบ็ อัตโนมัติ แนวคดิ สําคญั ขอมูล (Data) เปนขอเท็จจริงหรือเหตุการณ ท่ีเกิดขึ้นในชวงเวลาหนึ่งท่ีอยูในรูปของขอความ ตัวเลข ข อ มู ล (Data) ห ม า ย ถึ ง สัญลักษณ หรือรายละเอียดอ่ืน ๆ ที่สัมผัสได เชน ภาพ ขอเท็จจริงที่ส่ือความหมายในรูปของ เสียง ภาพยนต วีดิทัศน อาจจะเปนขอมูลของพนักงาน ขอความ ตัวเลข สัญ ลักษณ หรือ ในบริษัทท่ีทํางานอยูในขณะนั้น ขอมูลนักเรียนใน รายละเอียดอื่น ๆ ท่ีสัมผัสได ขอมูล โรงเรียน ขอมูลของสินคาในคลังสินคาขอมูลการ เปนขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่เกิดข้ึน จําหนายสนิ คา ในชวงเวลาหนึง่ นอกจากนี้ขอมูลยังเปนคาของตัวแปรท่ีจัดเก็บในรูปแบบตาง ๆ เชน โครงสรางขอมูล แบบตาราง โครงสรางตนไม เลขประจําตวั ตารางที่ 2 ตวั อยางโครงสรา งแบบตาราง 10001 ชื่อ สกุล ชนั้ 10100 สมชาย แซด า น ม.2/1 10123 ศิริวัฒน วฒั นา ม.2/1 10135 วันนภา โพยมแดง ม.2/2 10144 รจุ พร ชนะชยั ม.2/2 วิชิต ปอมทองคาํ ม.2/2 ตวั อยางโครงสรางแบบตนไม องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วชิ า วิทยาการคํานวณ (ว22103) 16 แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ขอมูลปฐมภูมิ (primary data) คือ ขอมูลที่รวบรวมจากแหลงขอมูลโดยตรง เชน ขอมูลจากการจดบันทึก จากการสํารวจ การสอบถาม จากการอานรหัสแทงของเครื่องเก็บเงิน จาก การประสบพบเห็นดว ยตนเอง การทดสอบ การวัด 2. ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) คือ ขอมูลที่มีผูรวบรวมไวกอนหนาแลว เชน สติติ จากหนวยงานตาง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน สามารถนําไปใชไดทันทีโดยไมตองเสียเวลารวบรวม อาจ เปน ขอ มูลจากการถามคนอืน่ หรือขอมูลจากเอกสาร นอกจากนี้ยงั แบงขอ มลู ตามเง่อื นไขในการรบั เขา (Input) ไดแ ก 1. ขอมลู ตัวอักขระ (Character data) คือ ขอมูลท่ีใชค าํ นวณไมไ ด เมือ่ ส่งั ใหนาํ ขอมลู ชนิด ตัวอักระมาบวกกันจะไดผ ลเปนขอมลู ที่ตอ กัน ขอมลู ชนดิ นี้ ไดแ ก ตัวอักษรของภาษาตาง ๆ ขอมูล สตริง เปน ขอมูลท่ีประกอบดวยตวั อักษรหลาย ๆ ตัวรวมกนั เชน ชอื่ -นามสกุลของแตล ะคน หมายเลขโทรศัพท เลขท่บี าน 2. ขอมูลตัวเลข (Numeric data) เปนขอมลู ทน่ี ํามาคํานวณได แบงเปนเลขจาํ นวนเต็มท่ี ไมมีทศนิยม (Integer) และเลขจํานวนจรงิ ที่มีทศนยิ ม Single หรือ Double รวมไปถงึ ขอมูลการเงิน (Currency) ทแี่ สดงตวั เลขในรูปแบบเงินของประเทศตาง ๆ 3. ขอมูลภาพ (Image data) คือ ขอมูลรูปภาพตาง ๆ ที่นําเขามาในระบบคอมพิวเตอร มีหลายชนดิ เชน ภาพชนิด bitmap(.bmp) เปนภาพพื้นฐานของระบบวินโดวส เชน ภาพที่สรางจาก โปรแกรมเพนท (Paint) ของวนิ โดวส ภาพชนิด (joint photographic expert group: .jpg) เปนแฟมท่ีถูกบีบอัดมาจาก ภาพตนแบบใหเปนรปู แบบท่ีกระชับมากข้ึนทําใหขนาดของแฟมภาพเล็กลงสงไปในระบบเครือขายได งาย เปนอีกหนึ่งมาตรฐานในระบบอินเทอรเน็ตและสามารถใชระบบสีไดมากกวาลานสี ภาพชนิดนี้ เปน ภาพทถี่ กู กาํ หนดใหอยใู นกรอบสเี่ หล่ยี มเทา นน้ั PCD (phto CD) เปนรปู แบบท่ีสรางโดยบริษัทโกดัก แฟมชนิดน้ีจะรวมขนาดของภาพ ทแี่ ตกตา งกนั ไวในภาพถา ยแตล ะภาพ ภาพชนิด TIFF (tagged image file format: .tiff) เปนแฟมภาพท่ีใชงานได กวางขวาง ซอฟตแวรสวนใหญจะรับแฟมภาพชนิดนี้ไดแมกระทั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Word Processor) และยงั ใชขา มระบบปฏบิ ตั ิการได เชน ใชก บั ระบบปฏบิ ตั ิการของแมค พีซี และยูนกิ ซ ภาพชนิด GIF (graphics interchange format : .gif) บริษทั CompuServe สรา ง แฟมชนิดนี้สําหรับเก็บภาพบิตแม็บในเว็บและเปนมาตรฐาน 1 ใน 2 ระบบท่ีใชบนเครือขายโดยไม ตอ งติดตั้งระบบไวลว งหนา แตภ าพชนิดนใี้ ชระบบสีเพียง 256 สี และเปนภาพท่ีเลอื กใหเปนแบบฉาก หลังโปรง (Transparent) ได องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 17 สีบนจอคอมพิวเตอรเ กิดจากการผสมของแมส ที างแสง คือ สีแดง (Red) สเี ขยี ว (Gren) และน้ําเงนิ (Blue) เปนจุดสจี ดุ เลก็ ๆ เรียงตดิ กันเปนกลมุ กลมุ ละ 3 สี เรียกวา พกิ เซล (Pxel: Picture element) หรอื จดุ ภาพ 4. ขอ มูลเสียง (Audio) เสียงเปนขอมลู ทีส่ ําคัญในการนําเสนอดวยโปรแกรมคอมพวิ เตอรใน ปจ จุบนั การใชเ สยี งในระบบมัลติมีเดียแบงออกเปน 2 แบบ คอื - เสียงบรรยาย ใชเลา เร่ืองราวตา ง ๆ หรือบรรยายความหมายของภาพและขอความในฉาก - เสียงประกอบ เชน เสียนกรอง เสยี งดนตรี ใชก าํ หนดอารมณของผฟู งหรือใชเ ปน เคร่ืองมือเสริมความสนใจของขา วสารในมลั ติมเี ดียท่ีไมเชื่อมโยงโดยตรงกบั เนื้อหาของเรื่องซึง่ สวน ใหญจะใชเสียงดนตรีเปน เสียงประกอบ แฟมเสียงที่บนั ทึกในเคร่อื งคอมพวิ เตอรม ีหลายชนดิ เชน *.wav, *.midi, *mp3 .m4a Wav หรือ wave เปนไฟลเสียงพ้ืนฐานในระบบวินโดวส สามารถบันทึกเสียงได โดยคลิกท่ี Start > All Programs> Accessories แ ล ะ Sound Recorder ใน วิ น โด ว ส 7 ห รื อ Voice Recorder ในวินโดวส 10 (ซ่ึงจําเปนตองติดต้ังไมโครโฟนไวดวย) เสียงของไฟลชนิดน้ีจะชัดท่ีสุด เพราะเปนการบันทึกทุกความถ่ีของเสียง แตก็มีขอเสียตรงท่ีขนาดของไฟลจะใหญและใชพื้นที่ในการ จัดเกบ็ มาก mp3 เปนไฟลท่ีบีบอัดขอมูลใหมีขนาดเล็กลง (ประมาณ 10 เทาของไฟล wav) ใหเสียงท่ีมี คุณภาพดจี งึ เปนทีน่ ยิ มมาก และไฟล mp3 ไดรบั การพฒั นามาเปน mp4 midi เปน ไฟลทบี่ ันทึกคําสั่ง ใหเลนโนตเพลงพรอมท้ังจังหวะและระดับความดัง แลวสงไปยังแผนวงจรเสียง (Sound card) หรือ เคร่ืองเลนดนตรีอิเล็กทรอนิกส เพ่ือใหสงเสียงออกมาตามคาท่ีบันทึกไว ไมไดบันทึกเปนเพลงไวทั้ง เพลงทําใหไ ฟลม ีขนาดเลก็ มาก 5. ขอมูลวีดิทัศน (video) เปนแฟมภาพยนตรท่ีบันทึกในรูปแบบของวินโดวส ไดแก ภาพ ยนตร ภาพเคล่ือนไหว ซ่ึงจะมีหลายชนิด เชน แฟมชนิด .wmv (windows media audio/video file) หรอื ชนิด movie clip (.mp4) สวนภาพเคล่ือนไหวนิยมบันทึกในรูปแบบ .gif ซึ่ง ตอ งนาํ เสนอในซอฟตแ วรประเภทนําเสนอ หรือ Photos ของวินโดวส 10 หรอื นาํ เสนอในรปู แบบเว็บ องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วชิ า วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 18 บคุ ลากรทางคอมพวิ เตอร (People ware) หมายถึง หนาที่ควบคุมดูแลระบบใหท ํางานไดตลอดเวลา แนวคิดสาํ คญั ในระบบสารสนเทศแบง ออกเปน 5 ระดบั ดังนี้ นอกจากฮารดแวร ซอฟตแวร และ 1. ผบู รหิ ารระบบ (System Manager) ขอมูลตาง ๆ แลวบุคลากรก็มีความสําคัญ 2. นกั วเิ คราะหร ะบบ (System Analyst) คอื อยางมากเชนกัน เราะบุคลากรทําหนาท่ี ผทู ่ีมหี นา ทว่ี ิเคราะหระบบการทํางานของ ควบคมุ ระบบคอมพิวเตอรเขียนโปรแกรมสง คอมพวิ เตอรและระบบสารสนเทศ ตอ งมีความรู การใหคอมพิ วเตอรทํางานตามความ ท้ั ง ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เต อ ร แ ล ะ ร ะ บ บ ง า น ท่ี จ ะ ใช กั บ ตองการของผูใ ช คอมพวิ เตอร ศกึ ษาปญ หาและความตอ งการของ องคกร ความคุมคา หาแนวทางในการแกไขปรับปรุงลักษณะงานใหดีขึ้นกวาเดิมใหเกิดประโยชน สูงสุด วางแผนและออกแบบระบบ โดยอาจมีการออกแบบและสรางระบบสารสนเทศขึ้นใหม โดยประสานงานกับโปรแกรมเมอรตลอดจนเขียนคูมือการใชง านของระบบทจ่ี ดั ทําข้นึ มา 3. โปรแกรมเมอร (Programmer) คือ ผูท่ีรับระบบสารสนเทศท่ีไดจัดทําไวจาก นักวิเคราะหระบบมาเขียนหรือสรางเปนโปรแกรมดวยภาษาคอมพิวเตอรเพื่อส่ังการใหคอมพิวเตอร ทํางานจนไดผ ลลัพธที่ตองการ 4. เจาหนาที่ฝายปฏิบัติงานเคร่ือง (Computer Operator) คือ ฝายท่ีทําหนาที่ติดตั้ง โปรแกรมลงในเคร่ืองคอมพิวเตอร พรอมทั้งบริการตนการใชงานควบคุมการทํางาน และบํารุงรักษา เคร่ืองคอมพิวเตอร 5. พนักงานขอมูล (Data Entry Operator) ทําหนาที่บันทึกขอมูลลงในคอมพิวเตอร ตามท่ีโปรแกรมกําหนดหรือเปนผูใชโ ปรแกรมกไ็ ด แนวคดิ สําคัญ การจดั ทําสารสนเทศจะตองดําเนนิ การเปน ระบบ ดงั นี้ รวบรวมขอมูล ข้ั น ต อ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น เป น ประมวลผล ภาคปฏิบัติของระบบสารสนเทศ ซึ่งเริ่มจาก สารสนเทศ การเตรียมอุปกรณตาง ๆ เก็บรวบรวม ขอมูล นํ าขอมูล มาผาน กระบ วน การ ประมวลผลและจัดเก็บเพอื่ ใชง านตอ ไป 1. รวบรวมขอมูล เปนการนาํ ขอมลู จากแหลง ตา ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ งมาจัดแบงเปนหมวดหมู เชน ขอมูลการขายของฝายขาย ขอมูลสินคาคงเหลือจากฝายสินคาคงคลัง ขอมูลการชําระเงินและหน้ีสิน จากฝายบัญชีและการเงิน ขอมลู รายช่อื นกั เรยี นแตล ะหอง ขอ มลู คะแนนสอบรายวิชาของนักเรยี น องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 19 2. ประมวลผล เปนการนําขอมูลทั้งหมดท่ีรวบรวมไวมาตรวจสอบความถูกตอง เชน ตรวจ ยอดการขายของฝายขายวาตรงกับสินคาที่เบิกจากคลังหรือไม ตรวจสอบยอดรายรับและยอดคงคาง วาตรงกับจํานวนสินคาที่ขายไปหรือไม ซ่ึงการประมวลผลยังสามารถแบงตามวิธีการท่ีนําขอมูลมา ประมวลผล เชน - การประมวลผลแบบเช่ือมตรง (Online processing) เปนการประมวลผลโดยตรง ระหวางคอมพิวเตอรกับอุปกรณรอบขาง หรือระหวางคอมพิวเตอรกับคอมพิวเตอรดวยกัน เชน การสั่งพมิ พทางเคร่ืองพิมพ การฝากถอนเงินจากเครื่องเอทเี อ็ม การจองตว๋ั เคร่ืองบิน - การประมวลผลแบบกลุม (Batch processing) เปนการประมวลผลโดยการ รวบรวมขอมูลเปนครั้งคราว เชน การสํารวจความนิยมท่ีเรียกวา โพล (Poll) จะทําการสํารวจโดยสุม ตัวอยางจากกลุมผูสนใจหลายกลุม แลวนําขอมูลมาประมวลผลตามเกณฑที่ต้ังไวเพ่ือสรุปเปนผล ออกมา 3. สารสนเทศ เปนการนําขอมูลที่ประมวลผลแลวนํามาสรุปเปนผลลัพธ เชน ยอดการ จําหนายสินคารายวัน รายสัปดาห และรายเดือน เพื่อเปนขอมูลในการวางแผนการตลาด บัญชีรับ- จาย นาํ มาจัดทําเปน งบการเงิน สรุปขั้นตอนการดําเนนิ การเพ่อื ใหเกดิ สารสนเทศขึ้นมามดี งั นี้ - รวบรวมขอมูล (Data collection) เปนการเก็บโดยการจดบันทึก สอบถามโตยตรง หรอื สงแบบสอบถามไปยงั กลมุ เปาหมายใหกรอกขอความหรือทาํ เครือ่ งหมายลงในแบบสอบถาม - ตรวจสอบ (Check) เปนการทําการตรวจสอบขอมูลวามีความถูกตองหรือไม ขอบกพรอ งตอ งแกไ ขหอรวบรวมใหม ขอ มลู ทถ่ี ูกตอ งทาํ ใหส ารสนเทศมคี วามนา เชื่อถือมากขน้ึ - เขารหัสขอมูล (Check) เปนการนําขอมูลที่ตรวจสอบแลวนํามาเชารหัสแบงเปน กลมุ ๆ ตามประเภทของขอ มูลแลวรวมไวเ ปนแฟมขอ มูล เชน เลขประจําตัวของนกั เรยี น - จัดเรียงขอมูล (Sorting) เปนการนําขอมูลมาเรียงลําดับใหมเพ่ือใหเกิดความสะดวก และรวดเร็วในการคนหาหรืออา งองิ ในภายหลัง - คํานวณ (Calculate) ขอมูลที่เปนตัวเลขตองกําหนดสูตรและฟงกชันใหทําการ คาํ นวณเชน การหาคาเฉล่ีย หาผลรวม หาจุดคมุ ทุน - จัดทํารายงาน (Report) สรุปผลจากการประมวลผลออกมาเปนรายงานท่ีตรงกับ ความตอ งการใชในแตล ะงาน รายงานเปน วิธีจดั รปู แบบขอ มลู ของสารสนเทศ - จดั เก็บ บนั ทึกขอมูลไวใ นอุปกรณจดั เก็บ - ทําสําเนา ขอมูลหรือสารสนเทศท่ีเก็บไวในเคร่ืองคอมพิวเตอรควรทําสําเนาไวเพื่อ ปองกันการเสียหายของขอมูลหลัก เชน ทําสําเนาไวในหนวยความจําแบบแฟลช กําสําเนาใน ฮารดดิสกภ ายนอก - แจกจายและสอื่ สารขอมูล นอกจากการทําสารสนเทศเพื่อปรับปรุงระบบงานแลว ยัง ใชสารสนเทศในการประชาสัมพันธสินคาหรือหนวยงานไดเปนอยางดี การแจกจายสารสนเทศ นอกจากการพิมพเปนเอกสารแลวยังสามารถสงไปไวในระบบอินเทอรเน็ตและเชื่อมโยง (Link) ไวกับ เวบ็ ไซตท ่มี ีผูเ ขามาชมมาก ๆ ได องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 20 รวบรวมขอมลู ตรวจสอบ เขา รหสั ขอ มูล จดั เรยี งขอมลู คํานวณ จดั ทาํ รายงาน จดั เกบ็ ทําสําเนา แจกจายและสอื่ สารขอมูล ภาพท่ี 19 ภาพขนั้ ตอนการจัดกระทําสารสนเทศ แนวคิดสําคัญ การสื่อสารทางคอมพิวเตอรและสมารตโฟน เชน การ พูดคุยออนไลน การสงภาพ สงขอมูลตาง ๆ ตลอดจนสงอีเมล การสื่อสารออนไลนจะตองมี จะตองใชเครื่องมือที่ใชในการติดตอถึงกัน เชน คอมพิวเตอร เค รื่ อ ง มื อ ที่ ส า ม า ร ถ เช่ื อ ม ต อ สมารตโฟน แท็บเล็ต สามารถใชบริการวายฟาย (Wi-Fi) อินเทอรเน็ตได โดยการเชอ่ื มตออาจจะ บริเวณทีม่ สี ัญญาณวายฟายเรยี กวา ฮอตสปอรต (Hotspot) ซึ่ง ใชส ญั ญาณวายฟายหรือสายแลนก็ได นอกจากสญั ญาณวายฟายแลวยงั สามารถเช่ือมตอ ผานระบบ สายนําสัญญาณเรียกวา สายแลน (LAN: Local Area Network) สมารตโฟนที่ใชบริการ 3G 4G 5G และ 6G สามารถเชือ่ มตอ กบั เครอื ขายอินเทอรเ นต็ ได โดยไมตอ งใชสญั ญาณ Wi-Fi องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) 21 การเช่ือมตอ กับเครอื ขายอนิ เทอรเนต็ ตองมีอปุ กรณต า ง ๆ และผูใ หบรกิ าร ดังน้ี 1. ผูใ หบรกิ ารอนิ เทอรเ น็ต เปนองคกรทใ่ี หบริการเชือ่ มตอเครือขา ยอินเทอรเ น็ตมชี ือ่ เรียกวา ไอเอสพี (ISP : Internet service provider) ไดแก บริษัทตาง ๆ ท่ีใหบริการเครือขายอินเทอรเน็ต บางบริษัทจะใหบริการเฉพาะเครือขายอินเทอรเน็ตเพียงอยางเดียว และบางบริษัทใหบริการทั้ง อนิ เทอรเนต็ และโทรศพั ทค วามเรว็ สงู (ADSL: Asymmetric Digital Subscriber Line) 2. สายนําสัญญาณ อินเทอรเน็ต เปนสายนําสัญญาณความเร็วสูง มีทั้งสายชนิด เสนลวดทองแดง และเสนใยแกวนําแสง สายชนิดเสนลวดทองแดงคอนขางมีปญหาหลายอยาง เชน ถูกรบกวนจากคลนื่ แมเหล็กไฟฟาที่อยรู อบ ๆ และตอ งใชส ายหนึ่งคูก ับผูรับบริการ 1 ราย ทําใหตอ งมี สายจํานวนมาก ดังท่ีเห็นตามเสาไฟฟา เม่ือมีการพัฒนาเสนใยนําแสงใหราคาถูกลงมาก ประกอบกับ เสน ใยนําแสง ไมถูกรบกวนดว ยคลื่นแมเหล็กไฟฟา เพราะไมใชโลหะ จงึ เปลี่ยนวิธีสง สัญญาณใหม โดย เปลี่ยนสัญญาณขอมลู เปนแสงสงไปตามเสนใยนําแสงในลักษณะสะทอนสลับไปมาในเสนใยขนาดเล็ก ดวยความเร็วของแสง ดังภาพที่ 20 นอกจากนี้ยังสงสัญญาณไดหลายชองสัญญาณในสายเดียวกัน โดยเปลี่ยนความถข่ี องสญั ญาณใหต า งกนั ชวยใหป ระหยัดสายนําสญั ญาณไดมาก ภาพที่ 18 ภาพเสน ใยนําแสง 3. เราทเทอร (Router) เปนอปุ กรณจ ัดเสนทางในการสง ผานขอมูล ทําหนาที่เชื่อมตอ กับ อนิ เทอรเน็ต โดยตรวจสอบและหาเสน ทางในการสงผา นขอมูล (Forward) ท่ีเร็วทสี่ ุด ทาํ ใหเ ช่ือมโยง กับเครือขายอนื่ ๆ ทใ่ี ชสัญญาณแตกตางกนั ไดทั่วโลก นอกจากนเี้ ราทเทอรย ังทาํ หนาท่ีเปน ตัวที่แจก ไอพแี อดเดรสไปยังผูใชแตละเคร่ือง การตดิ ตัง้ เราทเ ทอร บริษัทผใู หบริการอนิ เทอรเ น็ตจะตดิ ตงั้ เราทเ ทอรใหใ นสถานทข่ี องผูขอ ใชบ ริการและคิดคาบริการเปนรายเดอื น ตวั เราทเทอรจ ะมีทง้ั ระบบไรส าย (Wi-Fi) และชอ งตอสายนํา สัญญาณ (สายแลน) สําหรับเชอ่ื มตอกับคอมพิวเตอรโ ดยตรง โดยทว่ั ไปจะมี 4 ชอ งสัญญาณแตอาจ ตางกันไปตามรนุ หมายเหตุ คําวา วายฟาย ยังไมบัญญัติเปนคําในพจนานุกรมภาษาไทยเขียนเปน ไวไฟ ก็ ไดมาจากคําวาWiFi หรือ Wi-Fi หมายถึง เทคโนโลยีที่ใชในการแลกเปล่ียนขอมูลหรือเชื่อมตอกับ เครือขายอินเทอรเนต็ แบบไรส าย โดยใชค ล่ืนวิทยุ 4. ฮับ (Hub) เปนอุปกรณเชื่อมตอสัญญาณไปยังเครื่องอ่ืน ๆ เชน ในหองปฏิบัติการ คอมพิวเตอรท่ีใชระบบขายงานบริเวณเฉพาะทห่ี รแื ลน ทุกเครื่องเชอ่ื มตอถึงกันโดยใชส ายนําสัญญาณ เรียกวา สายยูทพี ี่ เพอื่ ใชท รัพยากรรว มกนั เพียงติดต้ังสัญญาณจากชองตอของเราทเทอรเ ขา ที่ชองทาง ของฮบั ชองใดชองหน่งึ ก็ไต จะทําใหสมารถใชอ ินเทอรเนต็ ไดท กุ เครอื่ งท่ตี อสายสญั ญาณเขา มา องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 22 ภาพท่ี 19 ภาพ ฮบั (Hub) สาเหตุที่ตอ งมีรหัสผานในการเขาใชระบบวายฟายเน่ืองจากสัญญาณวายฟายจากเราทเทอรมี ขีดจํากัดในการรับสง ถามีผูเขาไปใชหลายคน (เรียกวา Login เขา สูระบบ) ความแรงของสัญญาณจะ ลดลงไปตามจาํ นวนผู Login บริษทั ผูใ หบรกิ ารจงึ ตองกําหนดรหัสผานมาใหกับลกู คา ทกุ ราย 5. สายนําสัญญาณ สายท่ีใชเช่ือมตอในระบบแลนเปนสายที่มี 4 คู แตละคูบิดกันเปนเกลียว เพ่ือเปนที่สังเกตวาเปนสายคูเดียวกัน เรียกวา สายคูบิดเกลียว หรือ ยูท่ีพี (UTP: Unshielded Twisted Pair) ไมมีเครือ่ งปองกันคลืน่ แมเหล็กไฟฟาจากภายนอกมารบกวน (Shield) หัวตอของสาย มีช่ือเรียกวา RJ45 จะมีลักษณะคลายหัวตอของโทรศัพท ซึ่งมีขนาดเล็กกวาเรียกวา RJ11 สายอีก ชนิดหนึ่ง เรียกวา สายเอสทีพี (STP: Shield Twisted Pair) จะมีแผน ฟลอยดหมุ รอบสายแตละคูเพื่อ ปองกันการบกวนจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาท่ียูรอบ ๆ เชน คลื่นวิทยุความถี่ตาง ๆ บางชนิดเปนเสน ทองแดงขนาดเล็กถักไวโดยรอบ เชน สายของไมโครโฟน สายชนิด STP มีขนาดใหญและราคาแพง กวา สาย UTP จงึ ไมน ยิ มนาํ มาทาํ เปน สายแลน ภาพท่ี 20 ภาพสายนาํ สัญญาณ องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 23 ใหนกั เรยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ีใหถ ูกตอง 1. ฮารด แวร มีความหมายวา อยางไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………… …………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 2. ฮารดแวร ไดแบง การทํางานเปน หนวยซ่งึ ไดแ กห นว ยใดบา ง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 3. องคป ระกอบภายนอกท่สี นับสนุนระบบสารสนเทศ ไดแกระบบใดบาง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 4. หนวยรับเขา มีหนาท่ีอยางไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 5. หนว ยประมวลผลกลาง มหี นาท่ีอยางไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนท่ไี ด ..................... คะแนน  ผาน  ไมผาน ต้ังใจทาํ กิจกรรม กันนะคะนักเรียน องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 24 ใลหงนหักนเา รขียอ นคววิเาคมราทะก่ี หําขหอนคดวใาหมต ตออ ไปไปน1นใี้ 0หี้แลถวกู ทตําอเงครื่องหมายถูกและเครื่องหมายผดิ ................... 1. จอภาพแบบสมั ผสั จะรับขอ มูลโดยสมั ผัสบนหนา จอ ................... 2. ไมโครโฟน นอกจากจะใชบ ันทึกเสียงแลว ยังรบั ขอ มูลและคําส่งั ดว ยเสยี งได ................... 3. กลองดิจทิ ลั จะรับขอมูลภาพและภาพเคลือ่ นไหว เปนกลองขนาดเลก็ ................... 4. กลองท่ีตดิ ตงั้ ในโนตบุก เรียกวา เวบ็ แคม ................... 5. เครอ่ื งกราดภาพ นอกจากพมิ พภ าพทางเคร่ืองพิมพแลว ยังสามารถใชโ ปรแกรมรับ ภาพเกบ็ เปน ขอมลู ในคอมพวิ เตอรได ................... 6. ภาพทกี่ ราดจากขอความ ไดแ ก หนงั สือหรือเอกสารตา ง ๆ ................... 7. เคร่ืองอา นลายน้วิ มอื จะมรี ะบบฐานขอมูลเกบ็ ขอมูลตา ง ๆ ไวกอ น ................... 8. หนว ยประมวลผลกลางสามารถแบง เปน 3 หนว ย ไดแก หนวยควบคุม หนว ยคาํ นวณ และเปรยี บเทียบ หนว ยรับขอมลู ................... 9. หนว ยควบคุม ทําหนา ท่ีควบคุมการทํางานของระบบ ................... 10. หนว ยคาํ นวณและเปรยี บเทียบ ทําหนา ที่คํานวณตามกระบวนการทางคณติ ศาสตร และเปรยี บเทยี บ คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทไี่ ด ..................... คะแนน  ผาน  ไมผ าน ตง้ั ใจทาํ กจิ กรรม กันนะคะนักเรียน องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 25 ใหน ักเรยี นตอบคําถามตอไปน้ีใหถูกตอง 1. หนว ยความจาํ แบงออกเปนกี่หนวย ไดแ กห นวยใดบาง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 2. หนวยความจาํ หลัก ไดแ ก หนว ยใดบา ง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 3. หนวยความจํารอง มีความหมายวาอยางไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 4. หนว ยความจาํ แบบแฟลช มีความหมายวาอยา งไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 5. ซีพียู 64 บติ มคี วามหมายวา อยา ไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนท่ไี ด ..................... คะแนน  ผาน  ไมผ า น องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 26 ใหนักเรยี นจบั คคู ําตอบทถ่ี ูกตองตอไปน้ี ................ 1. เปน ซอฟแวรท ่ีพัฒนาข้นึ มาเพ่ือจาํ หนายเชงิ พาณิชย ................ 2. เปนซอฟแวรท่ีมผี ูพฒั นาข้นึ มาเพ่ือใชทํางานเฉพาะทาง ................ 3. ไบออส ซอฟแวรน ้ีบันทกึ ในซปิ ชนดิ ซีมอส เรียกวา ................ 4. เปน โปรแกรมคอมพิวเตอรท ่ีพัฒนาขน้ึ ตามจุดประสงคของการใชง าน ................ 5. ตวั แทนดวยสัญญาณดจิ ิทลั ขนาด 8 บติ ................ 6. โปรแกรมประสงครา ยตา ง ๆ ที่เขา มาโจมตรี ะบบทาํ ใหเกิดความเสยี หาย ................ 7. ควบคมุ การทาํ งานของฮารดแวร ................ 8. โปรแกรมระบบปฏบิ ัตกิ าร เรยี กวา ................ 9. คอมพิวเตอรเก็บขอ มูลเปนรหัสเลขสองฐาน ................ 10. การประมวลผลขอ มูลไดค รงั้ ละ 8 ตวั อกั ษร ก บิต ช การบูต ข ไบต ซ มลั แวร ค ซีพียู 64 บิต ฌ ซอฟแวรประยุกต ง ซอฟตแวร ญ ซอฟแวรเ ชิงพาณิชย จ ไบออส ฎ โอเพนซอรส ฉ เฟร ม แวร ฏ โปรแกรมประมวลผลคาํ คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนท่ีได ..................... คะแนน  ผา น  ไมผา น องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 27 ใหนกั เรียนจบั คูกบั เพื่อน และปฏิบัติดังตอไปน้ี ใหนกั เรียนศึกษาการทํางานของเครื่องบนั ทึกเงนิ สด (Cash Register) รานสะดวกซื้อหรือ หา งสรรพสินคา ใกลบ า น โดยการสอบถามหรือสืบคนในหัวขอตอไปน้ี 1. เคร่อื งบันทึกเงินสดตองเชื่อมตอกบั คอมพวิ เตอรหรอื ไม 2. ขอมลู จากเครอ่ื งอานรหสั แทงแปลงเปน ขอความและราคาในใบรับเงินไดอ ยางไร 3. มีอุปกรณเก็บขอมูลในแตล ะเคร่ืองหรือไม 4. การสรุปยอดการขายแตละวนั จะตองนําขอ มลู ไปท่ีไหน และสง อยางไร 5. ขอ ควรรอู ่ืน ๆ ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… คะแนนเต็ม 15 คะแนน คะแนนทีไ่ ด ..................... คะแนน  ผาน  ไมผ า น องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) 28 ใหนักเรยี นเตมิ คําตอบตอ ไปนี้ใหถ ูกตอง 1. ซอฟตแวรระบบ หมายถึง …………………………..………………………………………….…………………….……… …………………..………………………………………………………………………………………………………………….……… 2. ไบออส ซอฟตแ วรนี้บนั ทึกในชปิ ชนดิ ซีมอส เรยี กวา …………………………..…………………………………… …………………..……………………………………………………………………………………………………………….………… 3. มลั แวร หมายถึง …………………………..………………………………………….………………………………………… …………………..……………………………………………………………………………………………………………….………… 4. ซอฟตแวรเ ชิงพาณชิ ย หมายถงึ …………………………..…………………………….……………………….………… …………………..……………………………………………………………………………………………………………….………… 5. ฟรแี วร หมายถงึ …………………………..………………………………………….………………………………………… …………………..…………………………………………………………………………………………………………………………. 6. แชรแ วร หมายถงึ …………………………..………………………………………….…………………………………..…… …………………..…………………………………………………………………………………………………………………………. 7. โอเพนซอรส หมายถงึ …………………………..………………………………………….…………………………………. …………………..…………………………………………………………………………………………………………………………. 8. โปรแกรมประมวลผลคาํ หมายถงึ …………………………..………………………………………….………………… …………………..…………………………………………………………………………………………………………………………. 9. โปรแกรมคน ดเู วบ็ ไดแ ก …………………………..………………………………………….……………………………… …………………..……………………………………………………………………………………………………………………….… 10. โปรแกรมท่ีเปน ประโยชนกับการเรยี นการสอน ไดแก …………………………..………..…………………… …………………….…………………..…………………………………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทไี่ ด ..................... คะแนน  ผาน  ไมผา น องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 29 ใหน ักเรยี นจับคูกบั เพื่อน และสืบคนขอมูล เรอ่ื ง โนตบุกท่ีใชในชวี ิตประวัน ประกอบดว ยฮารแวรแ ละซอฟแวรอ 1ะ0ไรบาง จากอินเทอรเ น็ต แลว นาํ มาดัดแปลง เปน รายงานสง ครผู ูส อน ……………………………………………………………………………..……………………………………………………………… ……………..……………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… คะแนนเต็ม 15 คะแนน คะแนนทีไ่ ด ..................... คะแนน  ผา น  ไมผา น องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 30 ใหน กั เรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุม1ด0งั ตอ ไปนี้ 1. ใหน กั เรียนแบงกลุมออกเปน กลุมละ 4-5 คน 2. ชว ยกนั สรปุ องคค วามรู 3. สรา งแผนที่ความคิดจากการสรปุ องคความรู 4. สรปุ องคความรูในสมดุ บันทึกสว นตัว 5. นําเสนอแผนท่คี วามคดิ ……………………………………………………………………………..……………………………………………………………… ……………..……………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………… คะแนนเต็ม 15 คะแนน คะแนนที่ได ..................... คะแนน  ผา น  ไมผ า น องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 31 แบบทดสอบหลังเรยี น เร่อื ง การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใชตรรกะและฟง กช นั ในการแกป ญหา คําช้ีแจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกท่สี ุดเพียงคําตอบเดยี วแลวทําเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาํ ตอบ 1. ขอใด คือ ความหมายของฮารดแวร ก. เปน เครือ่ งมอื ที่ใชในการคํานวณและใชใ นการเปรียบเทียบ ข. เปนการเขียนคําส่งั ควบคุมใหคอมพวิ เตอรทํางานตามความตองการของผใู ชโ ปรแกรม ค. เคร่อื งคอมพวิ เตอรและองคประกอบตา ง ๆ ซ่ึงแบงการทาํ งานเปนหนว ยตาง ๆ ง. การดาํ เนินการทเ่ี กดิ ขึ้นในสมองเปนกระบวนการตามธรรมชาติของมนุษย 2. ขอ ใด คือ การทํางานเปนหนว ยของฮารแวร ก. คาตัวแปร ข. ตัวดาํ เนนิ การ ค. หนว ยรับเขา หนว ยประมวลผลกลาง และหนว ยสงออก ง. วงจรการปด-เปด สวติ ชแ บบ AND 3. ขอใด คือ หนา ที่ของหนวยรบั เขา ก. รบั ขอมูลโดยการสัมผสั บนหนาจอ ข. ทาํ หนา ทรี่ ับขอมูลเขา ในระบบ ค. รับขอ มูลและคาํ สงั่ ดวยเสียง ง. รับขอมูลภาพและภาพเคล่ือนไหว เปนกลองขนาดเลก็ 4. ขอ ใด คือ หนาที่ของหนวยประมวลผลกลาง ก. ทําหนา ท่คี วบคุมการทาํ งานของระบบ ข. ทาํ หนา ท่ีประมวลผลขอ มูลตามชดุ คําส่งั ท่ีซอฟตแ วรส ง มาภายในซีพียู ค. ทาํ หนา ทคี่ ํานวณตามกระบวนการทางคณิตศาสตร และเปรยี บเทียบ ง. ทาํ หนาที่เปนหนว ยความจําหลกั 5. ขอใด คือ ประเภทของหนวยความจาํ ก. เครื่องกราดภาพ ข. เคร่ืองสแกนใบหนา ค. หนว ยควบคมุ และหนวยคํานวณเปรยี บเทียบ ง. หนวยความจําหลกั และหนว ยความจาํ รอง องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วิทยาการคํานวณ (ว22103) 32 6. ขอใด คือ ตวั แทนดวยสัญญาณดิจทิ ลั ขนาด 8 บติ ก. บิต ข. ไบต ค. แรม ง. รอม 7. ขอ ใด คือ คอมพิวเตอรเ กบ็ ขอมลู เปนรหสั เลขฐานสอง ก. บิต ข. ไบต ค. แรม ง. รอม 8. ซอฟตแวรที่พัฒนาข้ึนมาเพ่ือใชควบคุมการทาํ งานนของฮารด แวร มชี อื่ เรียกไดตามขอใด ก. เฟรมแวร ข. ระบบรบั สง ขอมลู พนื้ ฐาน ค. โปรแกรมระบบปฏบิ ตั ิการ ง. ระบบปฏบิ ัตกิ ารวินโดวส 9. ขอ ใด คือ ความหมายของขอ มลู ก. เปนเครื่องมือท่ีใชในการคํานวณและใชในการเปรียบเทียบ ข. เปน การเขยี นคําสงั่ ควบคมุ ใหค อมพิวเตอรทาํ งานตามความตองการของผใู ชโ ปรแกรม ค. ขอเท็จจรงิ ที่ส่อื ความหมายในรูปของขอความ ตัวเลข สัญลักษณ ง. การดําเนนิ การที่เกดิ ข้ึนในสมองเปน กระบวนการตามธรรมชาติของมนษุ ย 10. ขอใด คือ สีบนจอคอมพิวเตอรทเี่ กิดจากการผสมของแมส ที างแสง ก. สนี าํ้ ตาล สํามว ง และสดี าํ ข. สีชมพู สีสม และสีฟา ค. สีเหลือง สีเทา และสขี าว ง. สแี ดง สีเขียว และสีน้าํ เงิน องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 33 กระดาษคําตอบแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การออกแบบและเขียนโปรแกรมทีใ่ ชต รรกะและฟงกชนั ในการแกป ญ หา คาํ ช้แี จง ใหน ักเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกทส่ี ดุ เพียงคําตอบเดยี วแลว ทําเคร่ืองหมาย X ลงในกระดาษคาํ ตอบ ขอ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนที่ได ..................... คะแนน  ผา น  ไมผ าน องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอเิ ล็กทรอนิคส วชิ า วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 34 ภาคผนวก องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 35 ใหน ักเรียนตอบคาํ ถามตอไปนี้ใหถูกตอง 1. ฮารด แวร มีความหมายวา อยางไร ตอบ เครอ่ื งคอมพิวเตอรแ ละองคประกอบตา ง ๆ ซึ่งแบง การทํางานเปนหนวยตา ง ๆ 2. ฮารดแวร ไดแบงการทํางานเปนหนว ยซ่งึ ไดแกห นวยใดบาง ตอบ หนว ยรบั เขา หนว ยประมวลผลกลาง และหนว ยสง ออก 3. องคป ระกอบภายนอกทส่ี นับสนุนระบบสารสนเทศ ไดแกระบบใดบาง ตอบ ระบบสอ่ื สาร เครื่องพิมพ เครือ่ งกราดภาพ กลอ งดจิ ทิ ลั ไมโครโฟน 4. หนวยรบั เขา มีหนาท่ีอยางไร ตอบ ทาํ หนา ทร่ี บั ขอมูลเขา ในระบบ อปุ กรณรบั เขา พ้ืนฐานท่ีเชื่อมตอกบั คอมพวิ เตอร 5. หนวยประมวลผลกลาง มหี นา ทีอ่ ยางไร ตอบ เปน อปุ กรณอเิ ล็กทรอนิกสท เ่ี ปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร ทําหนาทปี่ ระมวลผล ขอ มลู ตามชดุ คําสั่งท่ีซอฟตแวรส งมาภายในซีพียู องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเล็กทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคาํ นวณ (ว22103) 36 ลใหงนหักนเารขียอนคววิเาคมราทะ่ีกหําขหอนคดวใาหมต ตออ ไปไปน1นใี้ 0หี้แลถวูกทตําอเงคร่ืองหมายถกู และเคร่ืองหมายผิด ................... 1. จอภาพแบบสัมผสั จะรบั ขอมูลโดยสัมผสั บนหนาจอ ................... 2. ไมโครโฟน นอกจากจะใชบนั ทึกเสียงแลวยังรับขอมูลและคาํ สัง่ ดวยเสียงได ................... 3. กลอ งดิจิทลั จะรบั ขอ มูลภาพและภาพเคล่อื นไหว เปนกลองขนาดเล็ก ................... 4. กลอ งท่ตี ิดต้ังในโนต บุก เรียกวา เว็บแคม ................... 5. เครือ่ งกราดภาพ นอกจากพิมพภ าพทางเคร่ืองพมิ พแลวยงั สามารถใชโปรแกรมรบั ภาพเก็บเปน ขอ มลู ในคอมพวิ เตอรได ................... 6. ภาพทีก่ ราดจากขอความ ไดแ ก หนงั สือหรอื เอกสารตาง ๆ ................... 7. เครอื่ งอานลายนว้ิ มอื จะมีระบบฐานขอมลู เกบ็ ขอมลู ตาง ๆ ไวก อ น .................... 8. หนวยประมวลผลกลางสามารถแบง เปน 3 หนวย ไดแก หนว ยควบคุม หนว ย คํานวณและเปรยี บเทยี บ หนวยรบั ขอ มลู ................... 9. หนว ยควบคมุ ทาํ หนา ที่ควบคมุ การทํางานของระบบ ................... 10. หนวยคาํ นวณและเปรยี บเทียบ ทําหนาทีค่ าํ นวณตามกระบวนการทาง คณิตศาสตร และเปรียบเทยี บ องคป ระกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วทิ ยาการคํานวณ (ว22103) 37 ใหนกั เรยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ีใหถกู ตอง 1. หนว ยความจาํ แบง ออกเปนกหี่ นว ย ไดแ กหนวยใดบาง ตอบ แบง ออกเปน 2 หนว ย ไดแก หนวยความจาํ หลกั และหนว ยความจาํ รอง 2. หนวยความจาํ หลัก ไดแก หนว ยใดบาง ตอบ หนวยความจํารอม และหนวยความจําแรม 3. หนว ยความจาํ รอง มคี วามหมายวา อยางไร ตอบ เปน หนวยความจาํ ทแ่ี ยกออกจากแผนวงจรหลัก เชน ฮารด ดิสก 4. หนวยความจําแบบแฟลช มีความหมายวา อยา งไร ตอบ หนวยความจําแบบแฟลช นิยมเรยี กส้ัน ๆ วา แฟลชไดรฟ เปน หนว ยความจํารองชนดิ ที่ บนั ทกึ ได มขี นาดเล็กพกพาสะดวก 5. ซีพียู 64 บิต มคี วามหมายวา อยาไร ตอบ การประมวลผลขอมูลไดครั้งละ 8 ตัวอกั ษร องคป ระกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอเิ ลก็ ทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 38 ใหนกั เรยี นจบั คูคําตอบท่ถี ูกตองตอไปนี้ ........ญ........ 1. เปน ซอฟแวรท่พี ฒั นาข้ึนมาเพอื่ จําหนายเชิงพาณิชย ........ฌ........ 2. เปน ซอฟแวรที่มผี พู ฒั นาข้นึ มาเพอ่ื ใชทาํ งานเฉพาะทาง ........ฉ......... 3. ไบออส ซอฟแวรน้บี นั ทึกในซปิ ชนดิ ซีมอส เรยี กวา .........ง........ 4. เปน โปรแกรมคอมพวิ เตอรทพี่ ฒั นาขนึ้ ตามจุดประสงคของการใชง าน ........ข........ 5. ตัวแทนดว ยสัญญาณดิจทิ ัลขนาด 8 บติ ........ซ........ 6. โปรแกรมประสงครา ยตาง ๆ ทเ่ี ขามาโจมตรี ะบบทาํ ใหเกิดความเสียหาย ........จ........ 7. ควบคมุ การทาํ งานของฮารด แวร ........ช........ 8. โปรแกรมระบบปฏบิ ัตกิ าร เรยี กวา ........ก........ 9. คอมพิวเตอรเ ก็บขอมลู เปน รหัสเลขสองฐาน ........ค........ 10. การประมวลผลขอ มลู ไดครง้ั ละ 8 ตัวอักษร ก บติ ช การบตู ข ไบต ซ มัลแวร ค ซพี ียู 64 บิต ฌ ซอฟแวรป ระยกุ ต ง ซอฟตแวร ญ ซอฟแวรเชงิ พาณชิ ย จ ไบออส ฎ โอเพนซอรส ฉ เฟรม แวร ฏ โปรแกรมประมวลผลคาํ องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรยี นออนไลนอิเลก็ ทรอนิคส วิชา วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 39 ใหนักเรียนจบั คูกับเพ่ือน และปฏบิ ัติดงั ตอ ไปน้ี ใหน ักเรียนศึกษาการทาํ งานของเครื่องบันทึกเงนิ สด (Cash Register) รา นสะดวกซ้ือหรือ หา งสรรพสินคาใกลบ า น โดยการสอบถามหรอื สบื คนในหัวขอตอไปนี้ 1. เคร่อื งบันทึกเงนิ สดตองเช่ือมตอกับคอมพิวเตอรห รอื ไม 2. ขอ มลู จากเครอื่ งอานรหัสแทง แปลงเปนขอความและราคาในใบรบั เงินไดอ ยา งไร 3. มอี ปุ กรณเก็บขอ มูลในแตล ะเครื่องหรอื ไม 4. การสรปุ ยอดการขายแตล ะวันจะตอ งนาํ ขอ มลู ไปที่ไหน และสง อยา งไร 5. ขอ ควรรอู ่นื ๆ เกณฑการใหค ะแนน คาํ ชีแ้ จง โปรดทําเคร่ืองหมาย ลงในชอ งวา งตามระดับคะแนนท่เี ปน จริง ระดับคะแนน 3 ระดบั ดงั นี้ 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรบั ปรงุ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน หมายเหตุ 1. สืบคนขอ มูลไดถูกตองและครบถวน 321 2. อธบิ ายขอ มูลไดตรงประเด็น 3. แสดงขนั้ ตอนและบอกการทํางานของเคร่ืองบันทึกเงินสดได 4. ใหค วามรวมมอื ในการทํางานและรบั ฟงความคดิ เห็นผอู ื่น 5. ความคดิ สรางสรรค รวม เกณฑการใหคะแนน 12-15 คะแนน หมายถึง ดี 8-11 คะแนน หมายถงึ พอใช ต่าํ กวา 8 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ ลงช่อื ………………………………………..ผูบันทึก (…………………………………….) องคประกอบและหลกั การทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทเรียนออนไลนอิเล็กทรอนิคส วชิ า วิทยาการคาํ นวณ (ว22103) 40 ใหน ักเรยี นเติมคาํ ตอบตอไปน้ีใหถ กู ตอง 1. ซอฟตแวรร ะบบ หมายถึง ซอฟตแวรทีพ่ ฒั นาข้นึ มาเพื่อใชค วบคมุ การทํางานของฮารดแวรม ชี ื่อ เรยี กวา ระบบรับสง ขอมูลพนื้ ฐาน 2. ไบออส ซอฟตแวรน ้ีบนั ทึกในชปิ ชนดิ ซีมอส เรยี กวา เฟรมแวร ใชสําหรับตง้ั คา การทาํ งานของ ฮารด แวรต าง ๆ ยังคงใชก นั อยจู นปจจุบัน 3. มลั แวร หมายถงึ โปรแกรมประสงคร า ยตาง ๆ ท่เี ขามาโจมตีระบบทําใหเกิดความเสยี หาย รวมไป ถึงการโจรกรรมขอ มูล 4. ซอฟตแวรเชิงพาณชิ ย หมายถงึ ซอฟตแ วรที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อจาํ หนายเชงิ พาณชิ ย ไดรบั ลขิ สทิ ธิ์ คมุ ครองทางกฎหมาย 5. ฟรแี วร หมายถึง ซอฟตแวรท ีแ่ จกใหใ ชแ บบไมคดิ มลู คาและสามารถคดั ลอก สามารถสง ตอ ใหผูอน่ื ได แตหามจาํ หนา ยเปนการคา 6. แชรแ วร หมายถงึ ซอฟตแวรทแ่ี จกใหทดลองใชใ นระยะเวลาท่ีกาํ หนด หรือใหใ ชไดเ พียงบางสว น ตามเง่อื นไขท่ีระบุในซอฟตแวร 7. โอเพนซอรส หมายถงึ โปรแกรมทีเ่ ปดเผยภาษาตน ฉบับเพอื่ ใหผ ูน าํ ไปใชรวมกนั พัฒนาใหม ี สมรรถนะสูงข้นึ 8. โปรแกรมประมวลผลคาํ หมายถึง ซอฟตแวรท ่ใี ชใ นงานพิมพเอกสาร สามารถตรวจแกขอ ความ บนจอภาพกอนพมิ พท างเคร่อื งพิมพไ ด มรี ะบบตัดคาํ อตั โนมตั ิทายบรรทดั และมีพจนานุกรมตรวจ การสะกดคาํ อัตโนมตั ิ แทรกภาพและวัตถลุ งในเอกสารได 9. โปรแกรมคนดเู ว็บ ไดแ ก เว็บไซตต า ง ๆ ทใี่ ชสืบคน ขอมูลและทองอนิ เทอรเนต็ 10. โปรแกรมทเี่ ปนประโยชนกบั การเรียนการสอน ไดแก - โปรแกรม Graph Writer ใชส รางกราฟจากสมการตา ง ๆ - โปรแกรม periodic สาํ หรับเรยี นรเู ร่ืองตารางธาตุ - โปรแกรม Sound Level meter วัดระดบั ความดงั ของเสียง ซ่ึงโปรแกรมนีค้ วรใชใน สมารต โฟนเพ่ือความสะดวกในการตรวจสอบในทตี่ าง ๆ องคประกอบและหลักการทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ