42 | ห น้ า กิจกรรมที่ 5 1. ใหนักศึกษาแบง กลุม 5-10 คน วิเคราะห/ วิจารณ สถานการณข องประเทศไทย วาเกิดเศรษฐกิจ ตกตาํ่ เพราะเหตุใด 2. ใหผ เู รยี นเขยี นคาํ ขวัญเก่ียวกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. 3. ใหผเู รยี นประเมินสถานการณข องครอบครัวและวเิ คราะหว า จะนําปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมา ใชไดอยา งไร ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................
ห น้ า | 43 บทที่ 5 การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการสรางรายได อยางม่นั คง ม่ังคัง่ และย่ังยนื สาระสําคัญ การประกอบตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี งเพ่ือการสรางรายได อยางม่นั คง ม่ังค่ัง และยั่งยืน มุง เนน ใหผ เู รยี นมีการพจิ ารณาอยางรอบดาน มคี วามรอบคอบ และระมัดระวังในการวางแผนและการดาํ เนินงาน ทุกข้ันตอน เพื่อมิใหเกิดความเสียหายตอการพัฒนา เปนการประกอบอาชีพที่คํานึงถึงการมีรากฐานท่ี ม่นั คงแข็งแรง ใหเจริญเตบิ โตอยางมลี ําดบั ข้ัน สามารถยกระดบั คณุ ภาพชีวิตทั้งทางกายภาพและทางจิต ใจควบคูกนั การประกอบอาชึพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงมิไดขัดกับกระแสโลกาภิวัฒน ตรงกันขามกลับสงเสรมิ ใหกระแสโลกาภวิ ฒั นไดรบั การยอมรบั มากข้นึ ดวยการเลือกรบั การเปลี่ยนแปลงท่ี สง ผลกระทบในแงดีตอ ประเทศ ในขณะเดยี วกันตอ งสรางภมู คิ ุม กันในตัวทด่ี ตี อการเปลย่ี นแปลงในแงทไ่ี มด ี และไมอ าจหลีกเลีย่ งได เพื่อจาํ กัดผลกระทบใหอ ยูในระดบั ไมก อ ความเสยี หายหรอื ไมเปนอันตรายรา ยแรง ตอ ประเทศ ผลการเรียนรูที่คาดหวงั ตระหนกั ในความสําคัญของการการประกอบอาชีพตามหลักของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการสราง รายได อยางมั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน พัฒนาประเทศภายใตกระแสโลกาภิวัฒนและเลือกแนวทางหลัก ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ตใชใ นการดําเนินชีวิตอยางสมดุลและพรอมรับตอ ความเปลี่ยนแปลง ของประเทศภายใตก ระแสโลกาภิวัฒน
44 | ห น้ า ขอบขา ยเน้อื หา เรือ่ งท่ี 1 แนวทางการประกอบอาชีพ 1.1 การเขา สอู าชพี 1.2 การพฒั นาอาชพี เรอื่ งที่ 2 การสรา งงานอาชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5 กลมุ อาชพี ใหม 2.1 เกษตรกรรม 2.2 อตุ สาหกรรม 2.3 พาณิชยกรรม 2.4 ความคิดสรา งสรรค 2.5 การอาํ นวยการและอาชพี เฉพาะทาง เร่อื งท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชพี ใหประสบความสาํ เรจ็ 3.1 มีความรู คอื ตอ งรอบรู รอบคอบ และระมดั ระวัง 3.2 คุณธรรมทส่ี ง เสรมิ การประกอบอาชีพประสบความสําเร็จคือ ความสาํ เรจ็ สุจรติ ขยัน อดทน แบง ปน 3.3 ขอ ดีของการประกอบอาชพี อสิ ระ 3.4 ตวั อยา งองคป ระกอบที่สาํ คญั ของโครงการประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 3.5 ตวั อยา งการเลยี้ งปลาดกุ ในบอพาสติกตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.6 กรอบแนวคิดในการประกอบอาชพี เพอื่ สรา งรายไดอยา งมั่นคง มั่งคั่งและยง่ั ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ห น้ า | 45 เร่อื งท่ี 1 แนวทางการประกอบอาชพี อาชีพ หมายถึงชนิดของงานหรือกิจกรรมของบุคคลประกอบอยู เปนงานที่ทําแลวไดรับ ผลตอบแทนเปนเงินหรอื ผลผลิต อาชพี ตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คอื งานทีบ่ คุ คลทาํ แลว ไดรับผลตอบแทนเปน เงินผลผลติ โดยหยึดหลกั 5 ประการทีส่ ําคัญในการดําเนนิ การ ไดแ ก ทางสายกลางในการดําเนนิ ชีวิต 1. ทางสายกลางในการดํารงชีวิต 2. มคี วามสมดุลระหวา งคน ชมุ ชนและสิง่ แวดลอ ม 3. มคี วามพอประมาณ พอเพยี งในการผลติ การบริโภคและการบริการ 4. มภี มู คิ ุมกนั ในการดําเนินชวี ิตและการประกอบอาชีพ 5. มีความเทาทันสถานการณชุมชน สังคม แนวทาง กระบวนการประกอบอาชพี ของผเู รียนที่ไมมีอาชีพตองเขาสูอาชีพใหม และผูท่ีมีอาชีพ อยูแลวตองการพัฒนาอาชีพเดิม ผูเรียนจะตองเปนนักริเริ่ม รอบรู คิดคน พัฒนา ชอบความอิสระ มคี วามมงุ ม่ัน ม่นั ใจ พรอมทีจ่ ะเส่ียง ทาํ งานหนกั ขยัน อดทน คิดกวาง มองลึก มีความรูเขาใจในอาชีพท่ี ตนเองทําอยางดี ยอมรับการเปล่ียนแปลงอยูเสมอ มีมนุษยสัมพันธที่ดี ยิ้มแยมแจมใส มีจิตบริการ ใช ขอมูลหลายดา น ศึกษาสภาพแวดลอม ปจ จยั ท่จี ะทาํ ใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเรจ็ แนวทางการประกอบอาชีพ แบงออกได 2 แนวทางคอื 1. การเขาสูอาชีพใหม 2. การพัฒนาอาชพี เดิม ทัง้ 2 แนวทางน้ี การทีจ่ ะประกอบอาชีพไดผลดีมีความตอเนื่อง มีโอกาสประสบความสําเร็จตาม วัตถุประสงคตอ งพิจารณาสิ่งตอ ไปน้ี 1. พจิ ารณาศักยภาพหลักชมุ ชน 5 ดาน ประกอบการตัดสนิ ใจ ไดแ ก 1.1. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในชุมชน เชน ชุมชนที่อยูอาศัยและประกอบอาชีพดาน เกษตรกรรม มีวัตถุดิบ หรือผลผลิตทางการเกษตรตางๆท่ีมีราคาถูกเหมาะสมท่ีจะแปรรูปเปนสินคาได ผูเรียนยอมสามารถลดปญหาการขนสง ลดปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบดานการแปรรูปก็ควรไดรับการ พิจารณาเลือกเปน อาชพี หลังจากผูเ รียนสาํ เร็จการศึกษา 1.2. ศักยภาพของภูมิอากาศ สภาพของภูมิอากาศเปนสําคัญอยางหน่ึงท่ีตองพิจารณาให เหมาะสมสอดคลองกับการประกอบอาชพี เชนสภาพในชมุ ชนของเรามีอากาศหนาวเย็น เราตองพจิ ารณา การประกอบอาชีพท่เี กยี่ วขอ งกบั การทอ งเท่ียว การทาํ ของที่ระลึก การปลูกพชื ผัก ผลไม ไมดอก
46 | ห น้ า ไมป ระดับเมืองหนาว เปน ตน 1.3. ศกั ยภาพของภูมปิ ระเทศ ถา ภมู ิประเทศเปน ชายทะเล น้ําตก ภเู ขาซ่ึงเหมาะกับอาชีพการ ทอ งเท่ียว อาชีพตา งๆทเ่ี กี่ยวขอ งกับการทอ งเท่ยี วกค็ วรไดร บั การพิจารณาเปน อนั ดบั แรก 1.4. ศกั ยภาพดา นทําเลทีต่ ง้ั ที่ตง้ั ของบา นพักอาศัยหรอื ประกอบอาชพี เปนทาํ เลทีเ่ หมาะสมกับ การทําการคา หรืออตุ สาหกรรมในครอบครวั ตอ งพจิ ารณาใหถ กู ตอ ง 1.5. ศักยภาพดานศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ใหพิจารณาวา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ของชุมชนจะสามารถสงเสริมการประกอบอาชพี ไดอยา งไรบาง ศกั ยภาพหลกั ของชมุ ชนท้ัง 5 ดา นนี้ ถอื เปน ตนทนุ ทสี่ ําคัญ ซ่งึ ผปู ระกอบอาชีพ ไมจ ําเปนตองใช เงินซื้อหามาเปน สง่ิ ท่เี รามอี ยแู ลว จึงมีความจําเปนทีผ่ ศู ึกษาจะตอ งนําตน ทุนดงั กลาวมาใชใหเกิดประโยชน สูงสดุ ในการประกอบอาชีพ อยางไรกด็ ียังตอ งพิจารณาองคประกอบอนื่ อีก 2. การนํากระบวนการ “คิดเปน” มาใชในการวิเคราะหขอมูลความพรอม กอนตัดสินใจ ประกอบอาชีพ 3 ดา นดงั นี้ 2.1. การวเิ คราะหต นเอง การวิเคราะหตนเองดานความคิด ความชอบ ในดานท่ีจะเขาสูอาชีพ เพราะถาเรา ประกอบอาชีพทเ่ี ราชอบ มีใจรกั จะทาํ ใหเ รามีความสขุ อยากทําและทําไดดี 2.2. วเิ คราะหสภาพแวดลอ มของครอบครวั ชุมชน วถิ ชี ีวติ ทรัพยากรในทอ งถนิ่ ทาํ เลที่ต้ัง เชน ถา เราสนใจจะเล้ียงปลาดกุ เพือ่ การจําหนา ย เราตอ งดสู มาชิกในครอบครัวของเราเหน็ ดวยสนับสนุนหรือไม มีพื้นท่ีพอจะทําบอเลี้ยงปลาดุกหรือไม ใกลแหลงจัดซ้ือ จัดหาพันธุปลาดุกมาเลี้ยง ถาเลี้ยงปลาดุกแลว สามารถนําไปจาํ หนา ยในชุมชน ชมุ ชนใกลเคยี ง ผคู นในทอ งถ่นิ นิยมบรโิ ภคหรอื ไม ปลาดกุ สามารถนําไป ประกอบอาหารไดหลายรปู แบบเชน นาํ ไปยา ง นาํ ไปทําลาบ นาํ ไปแกง นาํ ไปทําเปน ผลติ ภณั ฑพ วกนํา้ พริก
ห น้ า | 47 พรอ มท้ังพิจารณาเงนิ ทนุ ในการเลี้ยงปลาดุกดวย 2.3. วิเคราะหความรูทางวิชาการ คือความรูดานการเลี้ยง การดูแลรักษา การจําหนาย การแปรรูปเพ่ือเพิ่มมูลคา การฝกอบรมทกั ษะทจี่ าํ เปน ตองฝกเพม่ิ เติม เชน การขยายพันธุปลาดุกเพ่ือการจําหนาย การแปรรูปเพิ่ม มลู คาผลผลติ ชองทางการตลาด การสง เสริมการขาย การจดบันทึก การขาย การวิเคราะหร ายรบั -รายจาย ขอควรคํานงึ ในการตัดสนิ ใจประกอบอาชพี การตัดสินใจที่จะประกอบอาชีพอะไรก็ตาม จะตองมีส่ิงที่จะตองคิดหลายดานทั้งตองดูขอมูล มคี วามรู มีทนุ แรงงาน สถานท่ี มกี ลวธิ กี ารขายและคุณธรรมในการประกอบอาชีพดว ย ขอ ควรคาํ นงึ ในการ ตัดสนิ ใจประกอบอาชีพมี ดังนี้ 1. การตัดสินใจประกอบอาชพี โดยใชข อมลู อยางเหมาะสม ในการประกอบอาชพี ผเู รียนตอ งใชขอมลู หลายๆ ดาน มาเพื่อการตดั สนิ ใจ ขอมูลที่สําคัญ คือ ตองรูจ กั ตนเองวา มคี วามชอบหรอื ไม รจู ักสภาพแวดลอมวาเหมาะสมกับการประกอบอาชีพน้ัน ๆ หรือไม และขอมลู ที่สาํ คัญคือความรูทางวิชาการ 2. มีความรวู ชิ าชพี นัน้ ๆ การประกอบอาชีพอะไรกต็ องมคี วามรูในวชิ าชพี น้ันๆ เพราะมีความรูในวิชาน้ันๆ อยางดีจะทํา ใหส ามารถปรบั ปรงุ พฒั นาอาชีพน้ัน ๆ ไดด ีย่ิงข้ึน 3. มีทนุ แรงงาน และสถานที่ ทุน แรงงาน สถานที่ เปนองคป ระกอบสําคัญในการประกอบอาชพี ทําใหเกิดความม่ันใจในการ ประกอบอาชพี เปนไปอยางราบรน่ื 4. มวี ธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านและจดั การอาชีพ ขั้นตอน กระบวนการ การจัดการที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ ทําใหงานประสบความสําเร็จ ลดตน ทนุ การผลิต มผี ลผลิตไดม าตรฐานตามทตี่ ้ังเปาหมายไว 5. มีกลวิธีการขาย การตลาด กลวิธีการขาย การตลาดทสี่ ามารถตอบสนองความตองการ ความพึงพอใจของลูกคา ยอ มทําให ยอดขายเปน ไปตามเปา หมาย 6. มีการจดั การการเงินใหม เี งนิ สดหมนุ เวียนสามารถประกอบอาชพี ไปไดอยา งตอเนื่องไมข ดั ขอ ง
48 | ห น้ า 7. การจัดทําบัญชรี ายรบั – รายจายเพือ่ ใหทราบผลการประกอบการ 8. มีมนุษยสัมพันธและมีจิตบริการ การมีมนุษยสัมพันธท่ีดีกับลูกคา มีความเปนกันเอง โดยเฉพาะการใชคําพดู ท่เี หมาะสมเพอ่ื สรา งความพึงพอใจใหก บั ลูกคา ไปพรอมกบั การมีจิตบริการใหลูกคา ดวยความจริงใจตอ งการเหน็ ลูกคามคี วามสุขในการบริโภคสนิ คา 9. มีคณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ ผผู ลติ และผูขายมคี วามซอื่ สัตยต อ ลูกคา ใชวัตถดุ ิบทีม่ คี ณุ ภาพ ไมใ ชสารเคมีที่มีพิษในผลิตภัณฑ ซึ่งสง ผลตอสขุ ภาพ สิ่งแวดลอม และการดาํ เนนิ ชีวิตของลูกคา เรอื่ งท่ี 2. การสรา งงานอาชีพตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 5 กลุมอาชพี ใหม การสรา งงานอาชพี ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ไดแบงกลุมอาชีพ 5 กลุมอาชีพใหม คือ 1. เกษตรกรรม 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว) 3. พาณิชยกรรม. 4. ดานความคิดสรางสรรค 5. การอํานวยการและอาชพี เฉพาะทาง โดยจะวิเคราะหแบงกลุม 5 กลุมอาชีพใหมเปนดานการผลิตกับ ดานการบริการดงั นี้ กลมุ อาชีพ ดา นการผลติ ดา นการบริการ 1. เกษตรกรรม 1. แปรรปู ผลผลติ * พชื ตน ไม ตัวอยา งการ ตกแตงตนไม การจดั ดอกไม 2. อตุ สาหกรรม - อาหารหลกั ประดบั ในงานมงคล งานศพ การ (ในครอบครัว) - อาหารวาง - ขนม ดแู ลตนไม การจดั สวน - เครอ่ื งดืม่ (น้ําตะไคร กระเจ๊ียบ * สัตว เชน เลย้ี งสนุ ัข การ ใบเตย ขงิ สัปปะรด เสาวรส ฯลฯ) ดแู ลตัดขน 2. เพาะเหด็ (แปรรูป) 3. เพาะพันธุไม * บรรจสุ ินคา 4.การเลี้ยงไกไ ข * สง สินคา ตามบา น ราน โดย 5. ขยายพนั ธพุ ชื ใชจักรยานยนต 6. ปลกู สมุนไพร * ประกอบสนิ คา /ผลติ ภณั ฑ เชน 1. ไมนวดเทา ไมก ดเทา 2. ผลิตภณั ฑจ ากกะลามะพรา ว 3. ผลติ เครือ่ งประดบั ทาํ มอื 4. ผลติ สินคาจากวัสดเุ หลือใช
ห น้ า | 49 กลุมอาชพี ดานการผลิต ดานการบรกิ าร 3. พาณชิ ยกรรม 5. รองเทา แตะ เคร่ืองใช ประดับตกแตง ประกอบชอดอกไม 4. ดานความคดิ สรางสรรค 6. ตะกราจากกาบหมาก 7. เกาอ้ีทางมะพราว * การขายตรง 5. การอํานวยการและ 1. นาํ้ เตาหูกบั ปาทองโก * การขายปลกี อาชพี เฉพาะทาง 2. เครือ่ งด่ืม นํา้ เตาหู กาแฟ * การขายสง 3. ผลิตปุยชีวภาพ น้ําหมัก * บริการผูกผาตบแตง งานพธิ ี 1. ออกแบบบรรจุภณั ฑ (ผา กระดาษ ตา งๆ พลาสตกิ ฯลฯ) * ลําตดั หมอลาํ 2. ออกแบบเครอื่ งใชต างๆ (ดวยวสั ดุ * รองเพลงพนื้ บา น เหลือใช) * เปาขลุย 3. ออกแบบเฟอรน ิเจอร 4. ดนตรพี ืน้ บาน (โปงลาง อังกะลุง) * หวั หนางาน 5. การออกแบบเครอ่ื งประดับ * Organizer รับจัดงานวนั เกดิ การแพทยท างเลอื ก (การนวดแผนไทย ฉลองงานแตง ผอ นคลาย บําบัด รักษา) * รบั ตกแตง สถานที่
50 | ห น้ า เรือ่ งท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชพี ใหป ระสบผลสําเรจ็ 3.1 มคี วามรูค อื ตอ งรอบรู รอบคอบและระมดั ระวงั ความรอบรู มคี วามหมายมากกวาคําวา ความรูคือนอกจากจะอาศัยความรูในเชิงลึกเกี่ยวกับ งานท่ีจะทําแลว ยังจําเปนตองมีความรูในเชิงกวาง ไดแกความรู ความเขาใจในขอเท็จจริงเก่ียวกับ สภาวะแวดลอ มและสถานการณท ่ีเก่ยี วพันธก บั งานทจี่ ะทําทงั้ หมด ความรอบคอบ คือ การทํางานอยา งมีสติ ใชเวลาคดิ วเิ คราะห ขอมูลรอบดาน กอนลงมือทํา ซื่งจะลดความผดิ พลาด ขอ บกพรอ งตา ง ๆ ทําใหง านสาํ เรจ็ ไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ ใชตนทุนต่ํา ระมัดระวัง คือ ความไมประมาท ใหความเอาใจใสในการทํางานอยางตอเน่ืองจนงานสําเร็จ ไมเกดิ ความเสยี หายตอชวี ติ และทรพั ยส ิน หรืออบุ ัตเิ หตุอนั ไมควรเกดิ ขน้ึ 3.2 คณุ ธรรมท่ีสง เสริมการประกอบอาชพี ใหป ระสบความสําเร็จ คือ ความซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน แบงปนการประกอบอาชพี ตองสมั พันธเกยี่ วของกบั บคุ คล สังคมและสิ่งแวดลอ มอยา งหลีกเลี่ยงไมได เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเรจ็ ตามเปาหมาย ไดร บั การสนับสนุนจากผเู ก่ียวขอ ง ผูรว มงาน และ ลกู คา ผูประกอบอาชพี ตองมีคุณธรรม ซ่ือสตั ย สุจรติ ขยนั อดทน แบงปน ความขยัน อดทน คือ ความต้ังใจเพียรพยายามทําหนาท่ีการงาน การประกอบอาชีพอยาง ตอเนื่อง สม่ําเสมอ ความขยันตองปฏิบัติควบคูกับการใชสติปญญา แกปญหาจนงานเกิดผลสําเร็จผูท่ี มีความขยัน คือผูท่ีตั้งใจประกอบอาชีพอยางจริงจังตอเน่ือง ในเร่ืองที่ถูกที่ควร มีความพยายามเปนคน สูงาน ไมท อถอย กลาเผชิญอปุ สรรค รกั งานทที่ ํา ต้ังใจทาํ หนาทอ่ี ยา งจรงิ จงั ซื่อสัตย คือการประพฤติตรง ไมเอนเอียง จริงใจไมมีเลหเหลี่ยมผูที่มีความซื่อสัตย คือผูท่ี ประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไมคดโกง ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมใชวัตถุที่เปนอันตราย และคํานึงถึง ผลกระทบกับสภาพแวดลอ ม ความอดทน คอื การรักษาสภาวะปกตขิ องตนไวจ ะกระทบกระท่งั ปญ หาอุปสรรคใด ผูมีความ อดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปญญาแลว ลวนตองอาศัย ขันติ หรือความอดทนในการ ตอสูแ กไขปญหาตางๆ ใหง านอาชพี บรรลคุ วามสาํ เรจ็ ดวยกันทงั้ ส้ิน การแบงปน / การให คือการแบงปนสิ่งที่เรามี หรือสิ่งที่สามารถใหแกผูอ่ืนไดและเปน ประโยชนแกผ ูทรี่ ับ การใหผูอ่นื ทบ่ี รสิ ุทธ์ใิ จไมหวังส่ิงตอบแทนจะทาํ ใหผใู หไ ดรับความสขุ ท่เี ปน ความทรงจํา ทยี่ าวนาน การประกอบอาชพี โดยขยัน อดทน ซือ่ สตั ย รูจ ักการแบง ปนหรือใหส ่ิงตาง ๆ ทีส่ ามารถใหไดแก ลูกคาและชมุ ชนของเรายอมไดรับการตอบสนองจากลูกคาในดา นความเช่ือถอื
ห น้ า | 51 3.3 ขอดขี องการประกอบอาชพี อิสระ 1. จดั ตงั้ งายประกอบอาชีพไดรวดเรว็ 2. มคี า ใชจา ยและตน ทุนต่าํ 3. มคี วามใกลช ดิ กบั ลูกคา สอื่ สารไดท นั ที โฆษณาปากตอปาก 4. มคี วามคลอ งตัวสงู ปรับเปลีย่ น ปรบั ปรุงไดรวดเร็ว 5. สามารถขอรับการสนับสนนุ ดา นการเงนิ จากองคกรทองถ่นิ ไดแ ละ 6. มีแหลงเงนิ ทนุ กเู พอ่ื ขยายกจิ การไดงาย เชน ธนาคารออมสนิ ธนาคาร ธกส . และสถาบนั การเงินในหมบู าน 3.4 ตัวอยางองคประกอบท่ีสาํ คัญของโครงการการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง องคป ระกอบทส่ี าํ คญั ของการประกอบอาชีพ…………………………………………………….. 1. ศักยภาพของผูเรียน / ผปู ระกอบอาชพี ความพรอมเรอ่ื ง เงนิ ทุน…………………………………………………………………………………… ทาํ เล……………………………..………………………………………………………. ทตี่ ้ัง…………………………..…………………………………………………………. ความรูดานงานอาชพี …………………………………………………………………... 2. การตลาด ภาพรวมอาชีพ…………………………………………………………………………... สภาพการบริโภคในชุมชน……………………………………………………………… แนวโนม พฤตกิ รรมของผบู รโิ ภค………………………………………………………. สวนแบง การตลาด……………………………………………………………………… กลมุ ลกู คาเปาหมาย ไดแก… ……………………………………………………………. 3. ดา นผลติ ภณั ฑ ( ตองผลิตใหส นิ คามคี ณุ ภาพ ปรมิ าณ ความปลอดภัย ไดมาตรฐาน) คดิ คน สูตรใหม… …………………………………………………….………….……… สินคา หลากหลาย………………………………………..………………………….…… การสรา งตราสนิ คา ( brant) ………………………………………………………………....
52 | ห น้ า 4. ดานสถานท่ี การจัดตกแตงราน…………………………………………………………………..…. การจดั หาวัสดุ อุปกรณ… ………………………………………………………….…… 5. ชองทางการจดั จาํ หนาย รานคา……………………………………………………….……….………………….…… Supermarket…………………………………………………………………….…..…… Delivery……………………………………………………………………………………… 6. การกาํ หนดราคาขาย ราคาขายปลกี ………………………………………………………………………..…….. ราคาขายสง…………………………………………………………………………….……. 7. การสง เสรมิ การขาย การประชาสมั พันธ แผน พับ แผนปลวิ ปา ย โปรโมชน่ั 8. การผลติ การใชแ รงงาน การใชแรงงานตนเอง การใชแ รงงานตนเองและครอบครวั การใชแรงงานในชุมชน การใชแ รงตนเองสมาชิกกลุม การใชว ัตถุดบิ มอี ยใู นครอบครวั ตนเอง มีอยใู นชมุ ชน 9. การจัดการสนิ คา การเกบ็ รกั ษา…………….……………………..………… การจัดสง การกระจาย ………………………………… 10. โครงสรา งองคก ร มอบหมายผรู บั ผดิ ชอบชดั เจน เราทาํ เองทกุ ขั้นตอน 11. การลงทนุ พื้นที่ ตรม………………………………………………………………………..…… ดูแลธุรกิจคา ใชจา ย/งบประมาณการลงทุน……………………….…………….……. ลาํ ดบั รายการ จาํ นวนเงิน (บาท/สตางค)
งบประมาณคาใชจายตอ 1 เดอื น ห น้ า | 53 ลาํ ดับ รายการ จาํ นวนเงิน (บาท/สตางค) 12. ระยะเวลาคนื ทุน 1 เดอื น 2 เดอื น 3 เดอื น 4 เดอื น 5 เดือน 6 เดอื น 13. เงือ่ นไขและขอ จาํ กัดที่สาํ คญั ปจ จัยทส่ี ง ผลใหป ระสบความสาํ เรจ็ การไมละเลย กํากบั ดแู ลธรุ กจิ ทาํ เล ทตี่ ง้ั การจัดตกแตง ราน การผลิตทกุ ขน้ั ตอนไดมาตรฐานและปลอดภยั พัฒนาสินคา และบรกิ ารตอ เนอื่ ง อืน่ ๆ ........................................................................................................................... ขอควรระวงั ทส่ี ง ผลใหเกดิ ความลมเหลว................................................................... ………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………. 3.5 กรณีตวั อยางวิธกี ารเล้ียงปลาในบอ พลาสตกิ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง การเลี้ยงปลาในบอ พลาสติกเปนการเร่ิมตน การเลย้ี งปลาอกี วิธีหน่งึ ท่ใี ชต น ทนุ ตาํ่ ใชพ น้ื ที่ไมมาก สามารถใชแรงงานในครวั เรอื นในการขุดบอและดูแล ซง่ึ มขี ั้นตอนดังนี้ 1. การเตรยี มบอ เลี้ยงปลา 1.1 การเลือกสถานทข่ี ดุ บอเล้ยี งปลา ควรเลอื กพนื้ ทีโ่ ลงไมมีตนไมใหญคลุมเน่ืองจากใบไมที่ หลน ใสบอ จะสง ผลตอ คุณภาพของน้ําทใี่ ชเล้ียงปลา หรืออาจใชตาขายขึงเหนือบอปลา เพ่ือกันไมใหใบไม หลนลงบอปลาก็ไดน การเรม่ิ ตนการเล้ียงปลาอีกวิธีหน่งึ ทีใ่ ทุ 1.2 การขุดบอ เม่อื เลือกพืน้ ทไ่ี ดแ ลว ขดุ บอขนาดกวา ง 2 เมตร ยาว 4 เมตร ความลึกไมเกิน 1 เมตร 1.3 การปพู ลาสติก เม่ือขดุ บอ ไดขนาดทีต่ อ งการแลว ตอไปเปนข้ันตอนของการปูพลาสติก กอนปูพลาสติกตองตรวจสอบกนบอ กอ นวา มเี ศษวสั ดุ รากไมห รือไม ถามตี องเก็บออก และหากระสอบปุย ปพู น้ื บอกอนปพู ลาสติกเพื่อกันไมใ หเ ศษวสั ดุเหลา น้ันแทงพลาสตกิ ชายของพลาสตกิ ท้ัง 4 ดาน เก็บพันไว ท่ขี อบบอ ตกแตงขอบบอใหส วยงาม ปลูกพืชผัก สวนครัวร ซึง่ มขี ้นั ตอนดงั น้ี
54 | ห น้ า 1.4 การปรับสภาพน้ํา เตรียมหัวเช้ือ EM 1 ลิตร มูลวัว 1 บุงก๋ี และดินเหนียว 1 บุงก๋ี ผสมกันและใสไ วทีก่ นบอ ใสน ้ําใหเตม็ บอ ท้งิ ไว 7-10 วนั ชวงนีส้ ามารถปลูกผักบุง ผกั กระเฉด พ้ืนท่ี 1 ใน 3 ของบอ สังเกตดูถาผักท่ีปลูกในน้ําทอดยอด หมายถึง นํ้ามีระดับความพรอมท่ีจะปลอยลูกปลา 2. การปลอยลกู ปลาและการใหอ าหาร 2.1 ปลาดุกขนาด 1 เซนตเิ มตร จะปลอย 200 - 300 ตัวตอ 1 บอ ราคาตัวละประมาณ 75 สตางค 2.2 อาหารและการใหอ าหาร สําหรับอาหารเปน อาหารสําหรับปลาดกุ เล็กใชเล้ียงตลอด 2 เดือนคร่งึ ถงึ 3 เดือน แลวจึงเปลี่ยนอาหารใหปลาดุกขนาดกลางและอาหารปลาดุกใหมโดยใหอาหาร วนั ละ 2 คร้งั เชา - เย็น ปริมาณอาหารใหอาหารครัง้ ละ 1 กโิ ลกรัมตอ 1 บอ 3. การถา ยเทนํ้าขณะเลย้ี งปลา การเลี้ยงปลาในบอพลาสตกิ ไมต องถายเทน้ําทิ้ง แตใหสังเกตน้ําในบอ ถานํ้าขุนมากให นําน้ําในบอ รดตน ไม พชื ผักสวนครัวขอบบอ และบรเิ วณใกลเคียง และเติมน้ําใหไดระดับเดิมและหากน้ํามี กลิน่ เหม็น ใหเติมหัวเชอ้ื EM 1 ลติ ร เพือ่ ปรบั สภาพนาํ้ 4. การจับปลาและผลผลติ เมอื่ เลีย้ งปลาไปได ประมาณ 4 เดือนเศษ ปลาดุกมีขนาด 6 ตัวตอ 1 กิโลกรัมในการจับ ปลา ถาทยอยจับเพื่อบริโภคจะใชการตกปลา เพราะถา ใชว ิธกี ารตกั ปลาในบอ ปลาทเี่ หลือจะไมก ินอาหาร ใน 1 บอ จะไดป ลาดุก 80 กิโลกรัม ราคาจําหนา ยกโิ ลกรัมละ 40 บาท (ราคาขนึ้ ลงตามราคาตลาด) 5. ตลาดและผลตอบแทน การเลีย้ งปลาในบอ พลาสตกิ เปน การเลีย้ งปลาแบบครบวงจรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยขอบบอจะปลูกพืชผักสวนครัว ใชน้ําจากบอปลารดพืชผัก พืชผักท่ีเหลือจากการบริโภค สามารถ จําหนายได เชนเดียวกับปลาในบอท่ีใชบริโภคในครัวเรือน เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนสามารถ จาํ หนายในชมุ ชนได 6. ตนทุนการผลิต (ราคาขนึ้ ลงตามราคาตลาด) การเลีย้ งปลา 1 บอ มีการลงทุน ดังน้ี 1. คา พลาสติก 500 บาท 2. คาตาขายก้ันขอบบอ 100 บาท 3. คา อาหารปลา 2 กระสอบ ๆ ละ 400 บาท เปนเงนิ 800 บาท 4. คาลกู ปลาดกุ 200 บาท รวม 1,600 บาท
ห น้ า | 55 7. ตัวอยางการทําอาหารปลาดกุ สว นผสม 1. รําละเอียด 2 กระสอบปุย 2. กากมะพราว 1 กระสอบปุย 3. ปลาปน 6 กโิ ลกรมั 4. กากถ่วั เหลือง 6 กิโลกรมั 5. จลุ นิ ทรยี EM 1 ลติ ร 6. กากนํา้ ตาล 1 กิโลกรมั 7. นาํ้ มันพชื 1 – 2 ลิตร วิธีทาํ 1. นําสวนผสมขอ 1 จาํ นวน 1 กระสอบ ขอ 2,3,4 คลุกใหเ ขากนั 2. นาํ สวนผสม ขอ 5 ,6 ผสมน้ํา 20 ลิตร เพ่ือคลุกเคลาสวนผสม ขอ 1 หมักไว 12 ชั่วโมง 3. นําสวนผสมที่หมักไวในขอ 1,2 ผสมกับรําละเอียด 1 กระสอบและน้ํามันพืช 1 – 2 ลิตรคลุกเคลา นําเขาเครอ่ื งอัดเมด็ ผง่ึ แดด 2 วนั เก็บไวใชได 2 เดือน เกร็ดความรู 1. การซอื้ พันธุป ลากอนการเคลอื่ นยายใหปลาอดอาหาร 1 – 2 วัน เพื่อปองกันปลาด้ินและ ทาํ ใหป ลาไสข าดเวลาเลีย้ งปลาจะไมโ ต 2. การเคล่อื นยา ยปลาใหเตรียม นํ้ามนั พืช 30 ซีซี : เกลือ 1 ชอนโตะ คนใหเขากันตักใส ในถุงหรอื ท่ีมพี นั ธปุ ลา อยปู ระมาณ 1 ชอ นชา เพือ่ ปองกนั ปลาบาดเจบ็ 3. การปองกันปลาหนีจากบอเวลาฝนตก ใชวิธีหากมีฝนตกใหหวานอาหารใหปลากิน สกั 2 – 3 ครง้ั เพ่อื หลอกวา เวลาฝนตกจะไดกนิ อาหารแลว ปลาจะไมหนี 4. การเปล่ียนถายน้ําใหดูดน้ําออก 1 สวน ใน 3 สวน และนําน้ําท่ีใสใหมใหทําเปนละออง ฝอยโดยใชส ายยางเพ่ือเพม่ิ ออ กซิเจนใหแ กป ลา 5. การจบั ปลาเพอื่ บรโิ ภค โดยใชวิธใี ชส ายยางฉดี น้ําเหมือนกบั ฝนตกปลาจะเลนนํ้าจากนั้น ใชสวิงตกั ปลา ทเ่ี ลน น้ําทนั ที ปลาจะไมรูส กึ ถึงอนั ตรายและจะกินอาหารตอ และไมห นี ขอดีของการเลย้ี งปลาดุกในบอ พลาสติก 1. ใชพนื้ ท่เี ล้ยี งนอ ย สามารถเลีย้ งไดท กุ ที่ 2. การสรา งบอ เลยี้ งไดง าย 3. ระยะเวลาเล้ยี งสั้น 4. เลี้ยงงา ย อดทนตอ สภาพนาํ้ ไดด ี 5. บรโิ ภคเองในครวั เรอื น และมเี หลอื จาํ หนา ย
56 | ห น้ า การเลอื กสถานที่สรางบอ 1. อยูใกลบ า น 2. อยูที่รม หรือมหี ลังคา 3. สามารถเปล่ียนถา ยนํา้ ไดสะดวก
กรอบแนวคิดในการประกอบอาชพี เพ่ือสรางรายไดอ ยางม่นั ค งานทีชอบ งานทีรัก งานทีอยากทาํ งานทีทาํ แลว้ มีความสุข คิดเป็นดว้ ยขอ้ มลู ดา้ น ตดั สินใจประกอบอาชีพ พจิ ารณาทรัพยากร ดา้ น
ห น้ า | 57 คง มง่ั ค่งั และยัง่ ยืน ตามหลักของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มอี งคค์ วามรูด้ ี มีทุน แรงงาน สถานที ผลการประกอบการ เหมาะสม P นกั ศกึ ษา กศน.มี มกี ารปฏิบตั ิงานและการ อาชีพมีรายได้ จดั การเป็นขนั ตอน ใชว้ งจร มนั คง มงั คงั ยงั ยนื มีการขาย การตลาด A PDCA D หลากหลาย พฒั นาอาชีพ ต่อเนือง มีคุณธรรมในการประกอบ อาชีพ C ใชฐ้ านเศรษฐกิจพอเพียง
58 | ห น้ า กจิ กรรมการเรยี นรู ใหผ เู รยี นวางแผนแนวทางการประกอบอาชีพของตนเอง ทงั้ ผทู ีต่ อ งการเขา สอู าชพี ใหมและพฒั นา อาชพี โดยมขี ั้นตอนดงั นี้ ขั้นตอนที่ 1 ใหแ บง กลมุ ผเู รยี นออกเปน กลุม ละ 5 – 7 คน แตล ะกลมุ ใหเ ลอื ก หวั หนากลมุ 1 คน และเลขากลมุ 1 คน รวมระดมพลังสมองแลกเปล่ียนเรียนรตู ามหัวขอ ดังตอ ไปน้ี 1. การประกอบอาชีพตามแนวของหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. อาชีพทีเ่ ช่ือมน่ั วา สามารถทําไดใ นชมุ ชนของเรา 3. รว มกนั รางรายละเอยี ด สง่ิ ทต่ี องใช สง่ิ ท่ตี อ งทําในการประกอบอาชพี นัน้ ๆ (ทํา 1- 2 อาชพี ) ท้ังนี้ใหป ระธานเปนผดู าํ เนินการ เลขากลุมจดบนั ทกึ สรปุ สาระสาํ คัญเพอื่ นาํ เสนอ ขน้ั ตอนที่ 2 ใหทุกกลมุ รวมกนั คัดเลือกอาชีพจากกจิ กรรมท่ี 1 ตามที่กลมุ ตกลงรวมท้ังอาชีพที่ สามารถทําเปน รายบุคคล และเปนกลุม นํามาเขียนเปนโครงการประกอบอาชีพที่สามารถนําไปปฏิบัติได จริง ขน้ั ตอนท่ี 3 ใหผเู รียนแตล ะคน แตละกลมุ นาํ โครงการประกอบอาชีพทนี่ าํ เสนอ (ตรวจสอบความ สมบรู ณ) ไปประกอบอาชพี โดยมีการรวมระดมทุน จดั หาทนุ การแบง งานกันทาํ การลงมตริ ว มกนั ตัดสินใจ ระยะเวลาดําเนินการภายใน 1 ภาคเรยี นแลว สรุปผลการประกอบอาชพี เสนอครู กศน.
ห น้ า | 59 บรรณานุกรม คณะอนกุ รรมการขบั เคลอี่ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร. กรุงเทพฯ : สํานักงาน คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ, 2550. คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจพอเพียง. การสรา งขบวนการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ พอเพยี ง. (พิมพ ครั้งที่ 2). กรงุ เทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ, 2548. สาํ นักบรหิ ารงานการศึกษานอกโรงเรียน.สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ. แนวทางการ จัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งชุมชน โดยกระบวนการ การศกึ ษานอกโรงเรียน. กรงุ เทพฯ : หางหนุ สว นจาํ กดั โรงพิมพอ ักษรไทย (นสพ. ฟา เมอื งไทย).2550. ศูนยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคกลาง.สํานักบริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน. สํานกั งาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร.กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.หลักสตู รเศรษฐกจิ พอเพียง สาํ หรบั เกษตรกร. ศนู ยการศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง. 2549. (เอกสารอัดสําเนา) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ. คณะอนกุ รรมการขบั เคล่ือน เศรษฐกิจพอเพียง. นานาคําถามเกย่ี วกับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง. 2548. สาํ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ. เศรษฐกจิ พอเพียง.2547. จตุพร สขุ อนิ ทร และมงั กโรทัย. “สรา งชวี ิตใหมอ ยา งพอเพยี งดว ยบญั ชีครวั เรือน” เดลนิ ิวส หนา 30 ฉบบั วนั จนั ทรท ่ี 20 เมษายน พ.ศ. 2522 จินตนา กิจม.ี “เกษตรพอเพยี ง แหงบานปาไผ” .มตชิ น หนา 10 ฉบับวันเสารท ่ี 28 มนี าคม พ.ศ. 2552. ผกาพันธ วัฒนปาณี. “การจัดกระบวนการเรยี นรู การจดั สภาพแวดลอ มเพ่ือสงเสรมิ การดาํ เนินชีวิตตาม หลักเศรษฐกิจในครัวเรอื น”. เอกสารอดั สาํ เนา,๒๕๕๓ เอกรนิ ทร สีม่ หาศาล และคณะ คุณธรรมนําความรสู ู...... เศรษฐกิจพอเพยี ง ป.6. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อักษรเจรญิ ทศั น อาท จาํ กัด. มปพ.
60 | ห น้ า หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รายช่อื ผูเขารวมประชมุ ปฏิบัติการพฒั นาหนงั สอื เรียนวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครง้ั ที่ 1 ระหวา งวันท่ี 10 – 13 กุมภาพนั ธ 2552 ณ บา นทะเลสีครีม รสี อรท จังหวัดสมทุ รสงคราม 1. นายศรายทุ ธ บูรณเจรญิ ผอ. กศน. อําเภอจอมพระ จงั หวดั สรุ ินทร 2. นายจาํ นง หนูนลิ สาํ นักงาน กศน. อําเภอเมือง จังหวดั นครศรธี รรมราช ครัง้ ท่ี 2 ระหวา งวนั ที่ 29 มถิ ุนายน 2552 – วันที่ 3 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมแกรนด เดอวิลล กทม. นางพัฒนสุดา สอนซ่อื กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน รายช่ือผูเ ขา รว มประชุมบรรณาธิการหนังสือเรียนวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ครั้งท่ี 1 ระหวางวันที่ 7 – 10 กนั ยายน 2552 ณ โรงแรมอูทองอินน จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา นางพฒั นส ดุ า สอนซื่อ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน ครัง้ ที่ 2 ระหวา งวันท่ี 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอทู องอนิ น จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา 1. นางพัฒนสดุ า สอนซื่อ ขาราชการบาํ นาญ 2. นายอชุ ุ เชื้อบอคา สํานกั งาน กศน. อําเภอหลงั สวน จงั หวดั ชุมพร 3. นางสาวพชั รา ศิรพิ งษาโรจน สํานักงาน กศน. จังหวัดกระบ่ี 4. นายวิทยา บูรณะหิรญั สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดพังงา รายช่ือผเู ขา รว มประชุมปฏบิ ตั ิการปรับปรุงเอกสารประกอบการใชห ลักสตู รและสอื่ ประกอบการเรียนหลกั สูตร การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระหวางวันท่ี 4 – 10 พฤศจิกายน 2554 ณ โรงแรมมริ ามา กรุงเทพฯ 1. นางผกาพันธ วัฒนปราณี ขาราชการบาํ นาญ 2. ส.อ.อวยพร ศริ วิ รรณ ผอ. กศน. อําเภอบางสะพานนอย จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ 3. นางฤดี ศิริภาพ ผอ. กศน. อําเภอบางบัวทอง จงั หวัดนนทบรุ ี 4. นางสาวสุรตั นา บรู ณะวิทย สถาบันกศน.ภาคตะวันออก 5. นางสาวธนสรวง ชัยชาญทิพยุทธ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 6. นางสาวเยาวรตั น คาํ ตรง กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ห น้ า | 61 ท่ีปรึกษา บญุ เรอื ง คณะผูจัดทาํ 1. นายประเสรฐิ อิม่ สวุ รรณ 2. ดร.ชัยยศ จําป เลขาธกิ าร กศน. 3. นายวชั รนิ ทร แกว ไทรฮะ รองเลขาธกิ าร กศน. 4. ดร.ทองอยู ตัณฑวฑุ โฒ รองเลขาธิการ กศน. 5. นางรกั ขณา ทปี่ รกึ ษาดานการพฒั นาหลักสตู ร กศน. ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผูเขียนและเรยี บเรยี ง บรู ณเ จรญิ 1. นายศรายทุ ธ หนูนิล ผอ.กศน.อําเภอจอมพระ จงั หวัดสุรนิ ทร 2. นายจํานง สอนซอ่ื กศน. อาํ เภอเมอื ง จงั หวัดนครศรีธรรมราช 3. นางพฒั นส ุดา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผูบรรณาธิการ และพัฒนาปรบั ปรุง ขาราชการบํานาญ 1. นางพัฒนส ดุ า สอนซือ่ สํานักงาน กศน. อําเภอหลังสวน จงั หวัดชมุ พร 2. นายอชุ ุ เชอ้ื บอ คา สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดกระบ่ี 3. นางสาวพัชรา ศริ พิ งษาโรจน สํานกั งาน กศน. จังหวัดพังงา 4. นายวิทยา บูรณะหริ ญั ผูพิมพตน ฉบับ คะเนสม กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน เหลืองจติ วฒั นา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นางสาวปย วดี กวีวงษพ ิพัฒน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นางสาวเพชรินทร ธรรมธษิ า กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวกรวรรณ บานชี กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวชาลีนี 5. นางสาวอลิศรา
62 | ห น้ า คณะทาํ งาน 1. นายสุรพงษ มัน่ มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศริญญา กุลประดษิ ฐ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวฒั นา ผูอ อกแบบปก นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป
ห น้ า | 63 คณะผูพัฒนาและปรบั ปรุง ครั้งที่ 2 ทปี่ รกึ ษา บญุ เรือง เลขาธิการ กศน. 1. นายประเสรฐิ อม่ิ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชัยยศ จําป รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รินทร จันทรโ อกลุ ผเู ชี่ยวชาญเฉพาะดานการพฒั นาสือ่ การเรยี นการสอน 4. นางวทั นี ผาตินินนาท ผเู ช่ียวชาญเฉพาะดานเผยแพรทางการศกึ ษา 5. นางชลุ พี ร ธรรมวธิ ีกลุ หัวหนาหนว ยศกึ ษานิเทศก 6. นางอญั ชลี งามเขตต ผอู ํานวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 7. นางศทุ ธนิ ี ผูพฒั นาและปรับปรุง ครั้งที่ 2 1. นางผกาพันธ วฒั นปาณี ขาราชการบาํ นาญ ผอ. กศน. อําเภอบางสะพานนอย จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ 2. ส.อ.อวยพร ศิรวิ รรณ ผอ. กศน. อําเภอบางบัวทอง จงั หวดั นนทบรุ ี สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก 3. นางฤดี ศิริภาพ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวสุรัตนา บรู ณะวทิ ย 5. นางสาวธนสรวง ชัยชาญทิพยทุ ธ 6. นางสาวเยาวรตั น คาํ ตรง
64 | ห น้ า คณะผปู รบั ปรุงขอมลู เก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ป พ.ศ. 2560 ทปี่ รึกษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 1. นายสรุ พงษ ปฏบิ ตั ิหนาทรี่ องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสรฐิ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 3. นางตรีนชุ สุขสุเดช กศน.บางกอกใหญ ผปู รบั ปรงุ ขอมลู ตันตถิ าวร นางสาวจริ าภรณ คณะทํางาน 1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4. นางเยาวรัตน ปนมณวี งศ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน 8. นางสาวชมพูนท สังขพิชยั
Search