ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง หลักเกณฑก์ ารเปดิ โรงเรยี นหรือสถาบันการศึกษา ตามขอ้ กำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราขกำหนด การบรหิ ารราซการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๗) ตามท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการได้ออกประกาศ เรือ่ ง หลกั เกณฑก์ ารเปดิ โรงเรียนหรอื สถาบนั การศกึ ษา ตามขอ้ กำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราขกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ. ๒๔๔๘ (ฉบับท่ี ๓๔) ลงวนั ที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๔๖๔ นัน้ เนืองดว้ ยสถานการณก์ ารระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ในประเทศไทยมแี นวโนม้ ของ สถานการณ์คลี่คลายไปในทางทีด่ ีขน้ึ โดยมติของศูนย์บรหิ ารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) เมือวนั ที่ ๒๒ เมษายน ๒๔๖๔ กำหนดใหต้ ้ังแตว่ ันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๔๖๔ให้ปรับสถานการณ์ พนื้ ที่ทั่วราชอาณาจกั รเป็นพื้นทเ่ี ฝ็าระวังสูง (สีเหลอื ง) ๖๔ จังหวัด และพ้นื ทีน่ ำรอ่ งการท่องเท่ียว (สีฟา้ ) ๑๒ จงั หวัด เป็นผลให้สถานศึกษาทกุ ระดับสามารถใข้อาคารสถานทีเ่ พ่ือจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ และเพอ่ื เป็นการเตรียม ความพรอ้ มในการเปิดเรยี นของภาคการเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๔๖๔ ในวันท่ี ๑๗ พฤษภาคม ๒๔๖๔ อาศัยอำนาจตามความในขอ้ ๖ (๑) ของขอ้ กำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราฃกำหนด การบริหารราชการในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ พ.ศ. ๒๔๔๘ (ฉบับที่ ๓๗) และข้อ ๔ ของข้อกำหนดออกตามความใน มาตรา ๙ แห่งพระราฃกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. ๒๔๔๘ (ฉบับที ๔๔) จึงยกเลกิ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง หลกั เกณฑก์ ารเปดิ โรงเรียนหรือสถาบันการศกึ ษาตามข้อกำหนดออกตามความ ในมาตรา ๙ แห่งพระราฃกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ. ๒๔๔๘ (ฉบบั ท,ี ๓๔) ลงวันที่ ๒๘ ตลุ าคม ๒๔๖๔ และออกหลักเกณฑไ์ วด้ งั น้ี ส่วนที ๑ ะ ม าต รก ารรอ งรับ ก ารเป ดิ ภ าค ก ารศ ึก ษ าท ี ๑/๒ ๔ ๖๔ ข องส ถาน ศ ึกษ า (โรงเรียนหรือ สถาบนั การศกึ ษา) เพอ่ื จัดการเรียนการสอนแบบ ๐ก site จำแนกตามพ้ืนทีก่ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ -๑๙ ตารางท่ี ๑ มาตรการเตรยี มความพรอ้ มและแนวปฏบิ ัติจำแนกตามเขตพ้นื ทแี่ พร่ระบาดปจี จบุ ัน เขตพื้นที่ มาตรการ ตรวจคัดกรอง การเขา้ ถงึ การประเมิน การแพร่ระบาด ๑. ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ ความพรอ้ มเปิดเรียน TSC+ หาเช้อื วคั ซนี ความเลีย่ ง พ้ืนทนี่ ำร่อง ๒. เครง่ ครัดตามมาตรการ ๖-๖-๗ - - การทอ่ งเทยี่ ว (TST) ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) อย่างนอ้ ย (สีฟ้า) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) ๑ วนั ตอ่ พ้นื ที่เฝา็ ระวัง ๗ มาตรการเขม้ สำหรบั สถานศึกษา สปั ดาห์ (สเี ขียว)
๒ เขตพน้ื ที่ มาตรการ ตรวจคดั กรอง การเข้าถึง การประเมนิ การแพรร่ ะบาด หาเชื้อ วัคซนี ความเสีย่ ง พื้นท่ีเฝ็าระวงั สงู ๑. ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ ความพรอ้ มเปดี เรียน TSC+ (TST) (สีเหลอื ง) ๒. เครง่ ครัดตามมาตรการ ๖-๖-๗ อย่างนอ้ ย ๑ วนั ต่อ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) สปั ดาห์ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) ๗ มาตรการเข้มสำหรับสถานศกึ ษา ส่วนท่ี ๒ ะข้อกำหนดของ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC), ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) และแนวทาง ๗ มาตรการเข้มสำหรับสถานศึกษา (โรงเรียนหรอื สถาบนั การศกึ ษา) สถานศกึ ษา (โรงเรยี นหรอื สถาบันการศึกษา) ต้องจัดการเรยี นการสอนในอาคารสถานทโ่ี ดยปฏบิ ตั ิตาม มาตรการ ๖-๖-๗ อยา่ งเคร่งครัด ๒.๑ ขอ้ กำหนด ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) (๑) Distancing เวน้ ระยะหา่ ง (๒) Mask wearing สวมหนา้ กาก (๓) Hand washing ลา้ งมือ (๔) Testing คดั กรองวดั ไข้ (๔) Reducing ลดการแออดั (๖) Cleaning ทำความสะอาด ๒.๒ ขอ้ กำหนด ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) (๑) Self-care ดแู ลตนเอง (๒) Spoon ใข้ซอ้ นกลางสว่ นตวั (๓) Eating กนิ อาหารปรุงสกุ ใหม่ (๔) Track ลงทะเบยี นเขา้ ออกโรงเรยี น (๔) Check สำรวจตรวจสอบ (๖) Quarantine กักกนั ตวั เอง ๒.๓ ขอ้ กำหนดแนวทาง ๗ มาตรการเข้มสำหรบั สถานศกึ ษา (๑) สถานศึกษาประเมนิ ความพรอ้ มเปีดเรียนผา่ น TSC+ และรายงานการติดตามการประเมนิ ผล ผ่าน MOECOVID (๒) ทำกจิ กรรมรว่ มกันในรูปแบบ Small Bubble จดั นกั เรียนเวน้ ระยะหา่ งในหอ้ งเรยี น หลกี เลี่ยงการทำกิจกรรมข้ามกล่มุ กนั (๓) จัดระบบการใหบ้ รกิ ารอาหารตามหลกั สุขาภิบาลอาหารและหลกั โภซนาการ (๔) จัดการดา้ นอนามัยสง่ิ แวดลอ้ มใหไ้ ด้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้แก่ การระบายอากาคภายใน อาคาร การทำความสะอาด คุณภาพนํา้ อุปโภคบริโภค และการจัดการขยะ
๓ (๕) จดั ให้มี School Isolation แผนเผชญิ เหตุ และมกี ารซักซอ้ มอย่างเคร่งครัด (๖) ควบคุมดแู ลการเดินทางเขา้ และออกจากลถานศกึ ษา (Seal Route) ทัง้ กรณีรถรบั -สง่ นักเรียน รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ (๗) จัดให้มี School Pass สำหรบั นักเรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา ส่วนที ๓ ะ หลักเกณฑ์พิจารณาเตรยี มการใข้อาคารหรอื สถานทีเพอ่ื จัดการเรยี นการสอนของสถานศกึ ษา (โรงเรยี นหรือสถาบนั การศกึ ษา) ประเภทที่ ๑ โรงเรยี นหรือสถาบนั การศึกษา ประเภทพักนอน ประเภทที่ ๒ โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ประเภทโป-กลบั ๓.๑ ประเภทที่ ๑ โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ประเภทพกั นอน ๓.๑.๑ ดา้ นกายภาพ : ลกั ษณะอาคารและพน้ื ท่โี ดยรอบอาคารของสถาบนั การศึกษาประเภทพกั นอน หรือ โรงเรียนประจำ ประกอบด้วย (๑) หอพักนกั เรียนขาย และ/หรือ หอพักนักเรียนหญิง (๒) พืน้ ที่/อาคารสนบั สนุนการบริการ (๓) พน้ื ท/่ี อาคารเพอื่ จดั การเรยี นการสอน (๔) สถานทพ่ี กั ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา โดยจัดอาคารและพน้ื ทโี่ ดยรอบใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรการ ๓.๑.๒ ดา้ นการประเมนิ ความพร้อมสกู่ ารปฏิบัติ : โรงเรยี นหรอื สถาบนั การศึกษา ตอ้ งเตรียมการ ประเมินความพรอ้ มดังน้ี ๓.๑.๒.๑ โรงเรียน หรอื สถาบนั การศกึ ษา (๑) ต้องผ่านการประเมินความพร้อมผา่ น Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการ ตดิ ตามการประเมนิ ผลผ่าน MOECOVID (๒) ตอ้ งจัดให้มีสถานทแ่ี ยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) สำหรบั รองรบั การดูแลรักษา เบื้องตน้ กรณีนักเรียน ครู หรอื บคุ ลากรในสถานศึกษามกี ารตดิ เขอ้ื โควิด-๑๙ หรอื ผลตรวจดัดกรองหาเช้อื เปน็ บวก รวมถีงมแี ผนเผชิญเหตแุ ละมคี วามร่วมมอื กบั สถานพยาบาลเครือข่ายในพน้ื ท่ีท่ีดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ (๓) ตอ้ งจดั อาคารและพื้นทีโ่ ดยรอบให้เป็นอาณาเขตบริเวณในรูปแบบดงั น้ี ๑) Screening Zone จดั พ ืน ท หี รอื บ รเิ วณ ให ้เป ็น จ ุด ด ดั ก รอ ง (Screening Zone) ทีเ่ หมาะสม จดั จุดรบั ส่งสิง่ ของ จดุ รบั ส่งอาหาร หรือจุดเส่ียงอืน่ เป็นการจำแนกนักเรยี น ครู บุคลากร ผูป้ กครอง และ ผูม้ าติดต่อทีเ่ ข้ามาในโรงเรียนไม'ให้ใกลช้ ิดกับบุคคลในโซนอืน่ รวมถงึ จัดให้มีพื้นทป่ี ฏบิ ัตงิ านเฉพาะบุคลากรทไี่ ม่ สามารถเขา้ ปฏิบัติงานในโซนอืน่ ได้ ๒) Quarantine Zone จดั พน้ื ทห่ี รือบรเิ วณให้เปน็ จดุ กักกนั และสงั เกตอาการ สำหรับ นักเรยี น ครู และบคุ ลากรท่ยี งั ต้องสงั เกตอาการ ๓) Safety Zone จัดเป็นพ้ืนท่ีปลอดเซ้อื ปลอดภัย สำหรับนกั เรียน ครู และบคุ ลากร ที่ปฏบิ ตั ิภารกจิ กิจกรรมแบบปลอดภยั
๓.๑.๒.๒ นักเรียน ครู และบคุ ลากร (๑) นกั เรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา ต้องมีการสังเกตอาการใน Quarantine Zone ให้ ครบกำหนด ๔ วันกอ่ นเขา้ สู่ Safety Zone (๒) ดำเนนิ กจิ กรรมในรูปแบบ Small Bubble และหลีกเล่ียงการทำกิจกรรมข้ามกลุ่มกนั (๓) หากมนี ักเรยี น ครู และบคุ ลากรมีอาการเขา้ ได้ (Inclusion Criteria) กบั การติดเช้อื โควดิ หรอื สมั ผัสกลุ่มเลียงสูงให้ดำเนนิ การตรวจคดั กรองหาเชอ้ื ดว้ ยวธิ ที เี่ หมาะสมโดยเฉพาะกลุ่มทไี่ มใตร้ บั วัคซนี ตาม เกณฑ์ พรอ้ มท้งั รายงานผลการตรวจกับหน่วยงานสาธารณสุขในพ้ืนทที่ ันทีและปฏบิ ัติตามแผนเผชญิ เหตุกรณีมผี ล ตรวจเปน็ บวก ๓.๑.๓ การดำเนินการของโรงเรยี น หรือ สถาบนั การศกึ ษา : ระหวา่ งภาคการศึกษาต้องดำเนนิ การดังน้ี (๑) สามารถจดั การเรียนการสอน ไดท้ งั้ รูปแบบ On Site หรอื Online หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) หากมีความจำเป็น (๒) นกั เรียน ครู และบุคลากร ทกุ คนตอ้ งประเมิน Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จำแนกตาม เขตพนื้ ทีก่ ารแพร่ระบาด (ดงั ตารางที่ ๑) (๓) อาจมีการสมุ่ ตรวจคดั กรองหาเชอื้ ดว้ ยวธิ กี ารทเ่ี หมาะสม ทง้ั นักเรยี น ครู และบุคลากรที่ เก่ียวข้องกบั สถานศกึ ษา ตามแนวทางคณะกรรมการโรคติดต่อระดบั จงั หวัดกำหนด ๓.๑.๔ ปฏบิ ัตติ ามมาตรการสุขอนามยั ส่วนบุคคลอยา่ งเขม้ ขน้ ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) ๓.๑.๕ ปฏบิ ัตติ ามแนวทางมาตรการเขม้ สำหรับสถานศกึ ษาอยา่ งเครง่ ครัด (๑) สถานศกึ ษาประเมนิ ความพร้อมเปดี เรยี น ผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผล ผา่ น MOECOVID โดยถอื ปฏิบัติอย่างตอ่ เนือ่ ง (๒) ทำกจิ กรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลกี เลยี งการทำกจิ กรรมข้ามกล่มุ กัน และจดั นักเรยี นในหอ้ งเรยี นขนาดปกติ ( ๘x ๘ เมตร) ไม่เกนิ ๔๒ คน หรอื จดั ให้เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งนกั เรียนใน หอ้ งเรียนไมน่ ้อยกว่า ๑.๐ เมตร (๓) จดั ระบบการใหบ้ รกิ ารอาหารสำหรับนักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ตามหลกั มาตรฐานสขุ าภบิ าลอาหารและหลกั โภฃนาการ อาทเี ขน่ การจัดช้อื จัดหาวัตถดุ บิ จากแหล่งอาหาร การปรงุ ประกอบอาหาร หรอื การส่งั ชือ้ อาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ท,ี ถกู สขุ ลักษณะและตอ้ งมรี ะบบ ตรวจสอบทางโภฃนาการก่อนนำมาบริโภค (๔) จัดการต้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มใหไ้ ด้ตามแนวปฏบิ ัติตา้ นอนามยั สิงแวดลอ้ มในการปอ็ งกนั โรคโควดิ -๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพนาํ้ อปุ โภคบริโภค และ การจัดการขยะ (๔) จัดใหม้ สี ถานทีแ่ ยกกักตัวในโรงเรยี น (School Isolation) หรอื พนื้ ท่ีแยกกกั ข่ัวคราว รวมไป ถงึ แผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบ้ืองตน้ กรณนี กั เรยี น ครู หรอื บคุ ลากรในสถานศึกษากรณีมกี ารติด เชือ้ โควิด-๑๙ หรอื ผลตรวจคดั กรองหาเช้ือเป็นบวก โดยมกี ารซกั ซ้อมอยา่ งเครง่ ครัด (๖) ควบคุมดูแลการเดนิ ทางกรณมี ีการเขา้ และออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น (หมายเหตุ : มาตรการและแนวทางปรบั ตามสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค ชน้ื กบั คณะกรรมการ โรคตดิ ต่อจงั หวดั หรือคณะกรรมการโรคตดิ ต่อกรุงเทพมหานครกำหนด)
๓.๒ ประเภทที่ ๒ โรงเรยี นหรอื สถาบันการศึกษา ประเภทไป-กลับ ๓.๒.๑ ดา้ นกายภาพ : ลักษณะอาคารและพื้นทีโ่ ดยรอบอาคารของโรงเรียนหรอื สถาบันการศกึ ษา ประกอบด้วย (๑) พื้นที่/อาคารสนับสนุนการบรกิ าร (๒) พืน้ ท/่ี อาคารเพือ่ จดั การเรียนการสอน โดยจัดอาคารและพืน้ ท่ีโดยรอบให้เป็นพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านทปี่ ลอดภัย และมีพืน้ ที่ที่เป็น COVID free zone ๓.๒.๒ ดา้ นการประเมนิ ความพรอ้ มส,ู การปฏิบตั ิ : โรงเรียนหรือสถาบันการศกึ ษา ต้องเตรียมการ ประเมนิ ความพรอ้ มด้งนี้ ๓.๒.๒.๑ โรงเรียน หรอื สถาบันการศกึ ษา (๑) ตอ้ งผ่านการประเมินความพร้อมผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมนิ ผลผ่าน MOECOVID (๒) ควรมีพื้นที่แยกกกั ซัว่ คราว (School Isolation หรือ Community Isolation)โดยความ ร่วมมอื กบั สถานพยาบาลเครือข่ายในพ้ืนทีก่ รณนี ักเรยี น ครู หรอื บุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชือ้ โควิด-๑๙ หรอื ผลตรวจคัดกรองหาเช้อื เปน็ บวก โดยมีการซักซ้อมอย่างเครง่ คร้ด (๓) ต้องควบคมุ ดูแลการเดนิ ทางระหว่างบา้ นกบั โรงเรยี นอย่างเข้มขน้ (๔) ต้องจัดพน้ื ท่ีหรอื บรเิ วณให้เปน็ จุดคดั กรอง (Screening Zone) ทเ่ี หมาะสม จดั จุดรบั สง่ สงิ่ ของ จุดรับสง่ อาหาร หรือจดุ เสีย่ งอ่ืน เปน็ การจำแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผ้ปู กครอง และผูม้ าติดตอ่ ทเ่ี ขา้ มาใน โรงเรยี น ๓.๒.๒.๒ นักเรียน ครู และบคุ ลากร (๑) ดำเนินกจิ กรรมในรูปแบบ Small Bubble และหลีกเลยี่ งการทำกจิ กรรมข้ามกลุ่มกนั (๒) ถา้ นักเรียน ครู และบคุ ลากร มีอาการเขา้ ได้ (Inclusion Criteria ) กบั การตดิ เชอ้ื โควดิ หรอื สัมผัสกลุ่มเสี่ยงสงู ให้ดำเนนิ การตรวจคัดกรองหาเช้อื ด้วยวธิ ที ่เี หมาะสมโดยเฉพาะกลมุ่ ที,ไม,ได้รบั วคั ซีนตามเกณฑ์ พรอ้ มทัง้ รายงานผลการตรวจกบั หนว่ ยงานสาธารณสุขในพน้ื ท่ที ันที และปฏิบตั ติ ามแผนเผชิญเหตกุ รณมี ผี ลตรวจ เปน็ บวก ๓.๒.๓ การดำเนินการของโรงเรยี น หรอื สถาบนั การศึกษา : ระหว่างภาคการศึกษาต้องดำเนินการดง้ นี้ (๑) สามารถจัดการเรียนการสอน ไดท้ ัง้ รูปแบบ On Site หรอื Online หรอื แบบผสมผสาน (Hybrid) หากมีความจำเปน็ (๒) นกั เรียน ครู และบคุ ลากรท่ีอยู่ในพน้ื ที่ตอ้ งประเมิน Thai Save Thai (TST) อยา่ งต่อเนอ่ื งตาม เกณฑ์จำแนกตามเขตพน้ื ทก่ี ารแพร่ระบาด (ดง้ ตารางที่ ๑) (๓) อาจมีการสุ่มตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยวธิ กี ารท่ีเหมาะสม ตามแนวทางคณะกรรมการ โรคตดิ ต่อระดับจังหวดั กำหนด (๔) ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการสขุ อนามยั ส่วนบคุ คลอย่างเข้มข้น ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) (๔) ปฏบิ ตั ิตามแนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สำหรับสถานศึกษา (ไป-กลบั ) อยา่ งเคร่งครัด ๑) สถานศึกษาประเมินความพรอ้ มเปิดเรยี น ผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการ ประเมนิ ผล ผา่ น MOECOVID โดยถอื ปฏบิ ตั อิ ย่างต่อเน่อื ง
๖ ๒) ทำกิจกรรมร่วมกันในรปู แบบ Small Bubble หลีกเลย่ี งการทำกจิ กรรมข้ามกลุม่ กนั และ จดั นักเรียนในหอ้ งเรียนขนาดปกติ (๘ X ๘ เมตร) ใม่เกิน ๔๒ คน หรอื จดั ให้เวน้ ระยะห่างระหว่างนักเรียนใน ห้องเรียนไม่น้อยกวา่ ๑.๐ เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวัด ๓) จดั ระบบการให้บรกิ ารอาหารสำหรบั นักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา ตามหลัก มาตรฐานสขุ าภิบาลอาหารและหลกั โภขนาการ อาทเิ ข,น การจดั ซ้ือจัดห าวัตถดุ ิบจากแห ล,งอาหาร การปรุงประกอบอาหาร หรอื การสง่ั ซ้อื อาหารตามระบบนำสง่ อาหาร (Delivery) ทถี่ กู สขุ ลกั ษณะและต้องมีระบบ ตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบริโภค ๔) จดั การดา้ นอนามัยสิง่ แวดล้อมให้โดต้ ามแนวปฏิบตั ิดา้ นอนามยั สิง่ แวดล้อมในการป้องกนั โรคโควิด-๑๙ ในสถานศกึ ษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คณุ ภาพนาํ้ อปุ โภคบรโิ ภค และ การจัดการขยะ ๔) จดั ให้มสี ถานท่แี ยกกกั ตวั ในโรงเรียน (School Isolation) หรอื พืน้ ทีแ่ ยกกักชั่วคราว ร ว ม ไป ถ งึ แ ผ น เผ ช ญิ เห ต ุส าห วับ รอ งวบั ก ารด แู ล วัก ษ าเบ ือ งต น้ ก รณ นี ัก เรยี น ครู ห รือบ ุคลากร ใน สถาน ศึกษ ากรณ ีมกี ารตดิ เชิอโควดิ -๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเชือ้ เป็นบวก โดยมกี ารซักซ้อม อย่างเคร่งครดั โดยมีความรว่ มมอื กบั สถานพยาบาลเครอื ขา่ ยในพ้ืนทที่ ่ีดูแลอย่างใกล้ชดิ ๖) ควบคมุ ดแู ลการเดนิ ทางเขา้ และออกจากสถานศกึ ษา (Seal Route) อย'างเขม้ ขน้ โดยห ลีกเถึยงการเข้าไป ลัมน ัสใน พ ื นที ตา่ งๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทางจากบา้ นไปกลับโรงเรืยน ทง้ั กรณีรถรบั -ส่งนักเรยี น รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ ๗) จัดใหม้ ี School Pass สำหรบั นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ขอ้ มลู ผลการประเมิน TST ผลตรวจคดั กรองหาเชอ้ื ตามแนวทางคณะกรรมการโรคติดต่อระดับพ้นื ที่ และ ประวัตกิ ารรับวคั ซนี ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข (๖) ขอความรว่ มมอื สถานประกอบกิจการ/กิจกรรมที่อยู่รอบร้ัวสถานศึกษาให้ผ่านการประเมิน COVID free setting โดยมกี ารกำกบั จากคณะกรรมการโรคตดิ ต่อระดับพื้นที่ (หมายเหตุ : มาตรการและแนวทางปรับตามสถานการณ์การแพร,ระบาดของโรค ชน้ื กบั คณะกรรมการ โรคติดตอ่ จงั หวดั หรือคณะกรรมการโรคติดตอ่ กรงุ เทพมหานครกำหนด) ๓.๓ แนวปฏิบัตดิ า้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มในการป้องกนั โรคโควิด-๑๙ ในสถานศกึ ษา ๓.๓.๑ การระบายอากาศภายในอาคาร (๑) เปิดประตูหนา้ ต่างระบายอากาศก่อนและหลังการใชง้ าน อย่างนอ้ ย ๑๔ นาที ควรมีหน้าตา่ ง หรือซ่องลม อย่างนอ้ ย ๒ ดา้ นของห้อง ให้อากาศภายนอกถา่ ยเทเข้าสภู่ ายในอาคาร (๒) กรณีใชเ้ ครื่องปรับอากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลังการใชง้ าน อย่างน้อย ๑๐ นาทใี นทกุ ๆ ๒ ชั่วโมง หรือเปิดประตหู น้าต่างระบายอากาศชว่ งพักเท่ียงหรอื ช่วงท่ไี ม่มกี ารเรยี น การสอน กำหนดเวลาเปดิ -ปิดเคร่อื งปรบั อากาศ และ'ทำความสะอาดสมา่ํ เสมอ (๓) จัดให้เว้นระยะห่างระหวา่ งนกั เรยี นในหอ้ งเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ ๑.๐ เมตร ๓.๓.๒ การทำความสะอาด (๑) ทำความสะอาดวสั ดุสง่ิ ของดว้ ยผงซักฟอกหรอื นา้ํ ยาทำความสะอาด และล้างมือดว้ ยสบู่และนา้ํ (๒) ทำความสะอาดและฆ่าเชือ้ โรคบนพื้นผิวท่ัวไป อุปกรณีสัมผัสรว่ ม เชน่ ห้องนา้ํ ห้องสว้ ม ลกู บิดประตู รีโมทคอนโทรล ราวบันได สวติ ซไ์ ฟ บู่มกดลฟิ ทํ จดุ นํา้ ดืม่ เป็นตน้ ด้วยแอลกอฮอล์
๗๐% นาน ๑๐ นาที และฆ่าเขอ้ื โรคบนพื้นผิววสั ดแุ ข็ง เซ่น กระเบ้ือง เซรามิก สแตนเลส ดว้ ย นํ้ายาฟอกขาวหรือโซเดยี มใฮโปคลอไรท์ ๐.๑% นาน ๕-๑๐ นาที อย่างน้อยวันละ ๒ ครงั้ และ อาจเพิม่ ความถต่ี ามความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาทมี่ ีผูใ้ ซ้งานจำนวนมาก ๓.๓.๓ คุณภาพนํ้าอุปโภคบรโิ ภค (๑) ตรวจดูคุณลกั ษณะทางกายภาพ สี กลน่ิ และไม่มสี ิ่งเจอื ปน (๒) ดูแลความสะอาดจดุ บรกิ ารน้าํ ดมื่ และภาซนะบรรจนุ า้ํ ดมื่ ทุกวัน (ไมใซแ้ กว้ น้าํ ดื่มรว่ มกันเดด็ ขาด) (๓) ตรวจคณุ ภาพนํา้ เพ่อื หาเซ้ือแบคทเี รียดว้ ยขดุ ตรวจภาคสนาม (อ ๑๑) ทกุ ๖ เดือน ๓.๓.๔ การจดั การขยะ (๑) มีถงั ขยะแบบมีฝาปีด สำหรับรองรับสงิ่ ของท่ไี มใขแ้ ลว้ ประจำหอ้ งเรียน อาคารเรียน หรือบริเวณ โรงเรยี นตามความเหมาะสม และมกี ารคดั แยก-ลดปรมิ าณขยะ ตามหลัก ๓R (Reduce Reuse Recycle) (๒) กรณีขยะเกิดจากผสู้ ัมผสั เส่ยี งสูง/กักกนั ตวั หรอื หน้ากากอนามยั ทใ่ี ซ้แลว้ นา่ ใสในถงุ กอ่ นท้งิ ให้ ราดด้วยแอลกอฮอล์ หรือ ๗๐% น้าํ ยาฟอกขาว ๒ ฝา ลงในถุง มัดปากถงุ ใหแ้ นน่ ซอ้ นดว้ ยถุงอีก ๑ ข้นั ปดปากถุงใหส้ นิท และฉดี พ่นบริเวณปากถงุ ด้วยสารฆา่ เซอ้ื แลว้ ท้งิ ในขยะท่วั ไป สว่ นท่ี ๔ ะแนวปฏบิ ัตติ ามแผนเผชญิ เหตุตามมาตรการฟอ้ งกันการแพร1ระบาดของโรคโควดิ -๑๙ ของ สถานศึกษา ตารางที่ ๒ มาตรการแนวปฏิบตั ิของครู นกั เรยี น และบุคลากรในสถานศกึ ษา ประเภทสถานศึกษา แนวปฏิบตั ขิ องครู นกั เรียน และบุคลากร ประเภทพกั นอน ๑. กรณคี รู นักเรียน หรอื บคุ ลากร เนินผู้สัมผัสเส่ยี งตาํ่ (๑) ให้เปดี เรียน (วก Site ตามปกติ (๒) ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ ๖-๖-๗ และ Universal Prevention (๓) ประเมนิ Thai Save Thai (TST) (๔) เวน้ ระยะหา่ งของนกั เรียนในหอ้ งเรยี น ไมน่ ้อยกว่า ๑.๐ เมตร ๒. กรณคี รู นักเรยี น หรือบุคลากร เนินผู้สัมผัสเส่ยี งสงู (๑) กรณีเนินผไู้ ม่ได้รับวคั ซนี ให้จัดการเรียนการสอน ปฏบิ ตั งิ าน หรือดำเนินกจิ กรรม ในพืน้ ที่ Quarantine Zone เนินเวลา ๕ วัน และตดิ ตามสังเกตอาการอีก ๕ วนั (๒) กรณีเนนิ ผู้ได้รับวคั ซีนโควิด-๑๙ ครบโดส - หากไม่มอี าการ ไมแ่ นะนำให้กกั กนั - การตรวจคัดกรองหาเซื้อด้วย ATK ถา้ หากมีอาการใหต้ รวจทันที หากไม่มีอาการให้ ตรวจคร้ังที่ ๑ วนั ท่ี ๕ หลังสัมผสั ผ้ตู ิดเซอื้ และตรวจครั้งสดุ ทา้ ยวนั ท่ี ๑๐ หลังสมั ผัส ผตู้ ดิ เ1ซ้อื - สถานศึกษาจดั การเรียนการสอนอย่างเหมาะสม ใน ๕ วันแรกควรเวน้ ระยะหา่ ง ไมน่ ้อยกวา่ ๒.๐ เมตร ๓. กรณีนักเรียน ครู หรือบคุ ลากร เนนิ ผตู้ ิดเชื้อ (๑) พิจารณาร่วมกบั หน่วยบรกิ ารสาธารณสุขให้บุคคลแยกกกั ตวั ที่โรงเรียน (School Isolation) และปฏบิ ัติตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสขุ โดยพิจารณาร่วมกับ
๘ ประเภทสถานศกึ ษา แนวปฏบิ ตั ขิ องครุ นักเรียน และบุคลากร ประเภทไป-กลบั หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุขในพนื้ ท่ี หรอื คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวัด (๒) ติดตอ่ หน่วยบริการสาธารณสขุ ในพนื้ ที่ ตามระบบงานอนามยั โรงเรยี น (๓) ทำความสะอาดห้องเรียน ขั้นเรียน ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ และเป็ดเรยี นตามปกติ (๔) กรณไี มม่ ีอาการหรือมอี าการเลก็ นอ้ ย ใหจ้ ัดการเรยี นการสอนได้ตามความ เหมาะสมในพน้ื ทีแ่ ยกกักตัวของโรงเรยี น (School Isolation) โดยเวน้ ระยะห่าง ไม่นอ้ ยกว่า ๒.๐ เมตร งดกิจกรรมรวมกล่มุ โดยปฏิบตั ติ ามมาตรการ UP-DMHTA อยา่ งเคร่งครดั ๑. กรณีครู นกั เรยี น หรอื บคุ ลากร เป็นผสู้ มั ผัสเส่ยี งตํา่ (๑) ให้เรยี นในพ้นื ท่ีสถานศกึ ษา (On Site) ตามปกติ และปฏิบตั ติ ามมาตรการ Universal Prevention (๒) ใหป้ ระเมนิ Thai Save Thai (TST) และจดั ระยะห่างระหวา่ งนักเรยี นในหอ้ งเรียน ไม่นอ้ ยกว่า ๑.๐ เมตร ๒. กรณีครู นกั เรยี น หรอื บคุ ลากร เป็นผู้สมั ผัสเสยี่ งสูง (๑) กรณีเป็นผู้ไมใด้รับวคั ซีนโควิด-๑๙ ตามแนวทางปัจจุบันท้งั ผ้ทู ่มี ีอาการและ ไม่มีลาการ แนะนำให้กักกนั ตัว (Self Quarantine) เปน็ เวลา ๕ วนั และตดิ ตาม เฝา็ ระวงั อกี ๕ วนั (๒) กรณเี ป็นผูไ้ ด้รบั วัคซนี โควิด-๑๙ ครบโดส - หากไมม่ ีอาการ ไม่แนะนำให้กักกนั และควรพิจารณาให้ไปเรียนได้ - การตรวจคัดกรองหาเช้ือดว้ ย ATK ถา้ หากมอี าการใหต้ รวจทนั ที หากไม่มอี าการ ใหต้ รวจครงั้ ท่ี ๑ วนั ท่ี ๔ หลังสมั ผัสผตู้ ิดเชอ้ื และตรวจคร้ังสดุ ทา้ ย วันที่ ๑๐ หลังสมั ผสั ผ้ตู ิดเชือ้ - สถานศึกษาจดั การเรียนการสอนอยา่ งเหมาะสม ใน ๕ วันแรกควรเว้นระยะห่าง ไมน่ ้อยกวา่ ๒.๐ เมตร ๓. กรณคี รู นักเรยี น หรือบคุ ลากร เป็นผูต้ ิดเชื้อ (๑) ให้แยกกักตัวทบ่ี ้าน (Home Isolation) หรือปฏบิ ตั ติ ามแนะนำของสถานบริการ สาธารณสขุ (๒) ตดิ ตอ่ หนว่ ยบริการสาธารณสขุ ในพืน้ ที่ ตามระบบงานอนามัยโรงเรยี น และ พจิ ารณาจัดทำ School Isolation (หากจำเปน็ ) โดยคณะกรรมการสถานศกึ ษา หน่วยงานสาธารณสขุ และคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวัด (๓) ทำความสะอาดห้องเรียน ขน้ั เรียน ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ และเปด็ เรยี นตามปกติ จัดรูปแบบการเรยี นการสอนอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะ กลุ่มท่ีไมม่ ีอาการ
ตารางที่ ๓ แผนเผชญิ เหตุตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -๑๙ ของสถานศึกษา ระดับการแพรร่ ะบาด ครู/นกั เรียน/บคุ ลากร มาตรการป้องกัน สถานศึกษา ในสถานศึกษา - ปฏบิ ตั ิเข้มตามมาตรการ ๖-๖-๗ - เปด็ เรียน On Site โดยปฏบิ ัติตาม ไม่พบผ้ตู ดิ เชื้อยนี ยนั - ประเมิน TST เปน้ 'ประจำ มาตรการ TSC Plus (๔๔ ข้อ) และ พบผูต้ ิดเขอ้ี ยนี ยนั - กรณีเป้นผูม้ คิ วามเสยี่ ง เข่น อาศยั ในพ้นื ทท่ี มี่ ี มาตรการ ๖-๖-๗ ไม่เกิน ๒หอ้ งเรียน ผูต้ ิดเขือ้ ควรสุ่มตรวจหาเช้อื เปน็ ระยะ ตาม - ตดิ ตามรายงานผลประเมิน TST และไมเ่ กิน ๕ ราย สถานการณี - เน้นเฝา็ ระวงั ตรวจคดั กรอง กลุม่ เปราะบาง กรณีโรงเรียนประจำ เด็กพเิ ศษ กลมุ่ เสย่ี ง พบผตู้ ิดเชอ้ื ยนี ยัน - ปฏิบตั ิเข้มตามมาตรการ ๖-๖-๗ - หอ้ งเรยี นทพี่ บผตู้ ิดเช้ือ ใหป้ ดี หอ้ งเรยี น ตั้งแต่ ๓ หอ้ งเรียนช้นื ไป - ประเมนิ TST ทุกคนทกุ ห้องเรียนท่มี ผี ูต้ ิดเชอื้ ไม่น้อยกวา่ ๒ขว่ั โมงเพือ่ ทำความสะอาด หรือต้ังแต่ ๖ รายชน้ื ไป และผ้สู ัมผสั ใกล้ซิด ทุกวัน และรายงานผล ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข - กรณเี ป็นผสู้ มั ผัสเส่ียงต่ํา (Low Risk แล้วให้เป็ดใขห้ อ้ งเรยี นได้ Contact) ให้มาเรยี น (วก Site ตามปกติ และ - ห้องเรยี นอืน่ เปด็ เรียน On Site ตามปกติ สงั เกตอาการตนเอง งดกจิ กรรมทีม่ ิการรวมกลมุ่ กนั โดยเฉพาะ - กรณีเปน็ ผู้เส่ยี งสงู (High Risk Contact) ให้ ระหวา่ งหอ้ งเรยี น มาเรียนได้ โดยระยะ ๕ วนั แรกใหเ้ วน้ - ปฏิบัติเขม้ ตามมาตรการ TSC Plus ระยะห่าง ๒.๐ เมตร และตรวจหาเช้อื ตาม - เป็ดประตหู น้าตา่ งห้องเรยี น ให้อากาศ แนวทางทกี่ ำหนด ถา่ ยเทสะดวก ตลอดเวลาการใข้งาน กรณใี ขเ้ คร่ืองปรับอากาศ เป็ดประตหู น้าตา่ ง ระบายอากาศทุก ๒ขัว่ โมงอย่างนอ้ ย ๑๐ นาที รวมท้ังขว่ งเวลาพกั เที่ยงหรอื ขว่ งเวลาท่ี ไม่มกี ารเรียนการสอน - ปฏิบตั เิ ขม้ ตามมาตรการ ๖-๖-๗ - หอ้ งเรยี นหลายหอ้ งท่พี บผู้ติดเช้ือ - ประเมนิ TST ทุกคนทุกหอ้ งเรยี นที่มผี ู้ติดเชอ้ื ให้ปดี เรยี น เฉพาะหอ้ งนน้ั ๆไมน่ ้อยกวา่ และผสู้ มั ผัสใกลข้ ิด ทุกวนั และรายงานผล ๒ข่ัวโมงเพือ่ ทำความสะอาดตามมาตรการ - กรณีเปน็ ผสู้ มั ผัสเสีย่ งต่าํ (Low Risk ของกระทรวงสาธารณสุข แล้วให้เปด็ ใข้ Contact) ให้มาเรียน On Site ตามปกติ และ หอ้ งเรียนได้ สงั เกตอาการตนเอง - หอ้ งเรยี นอน่ื เปด็ เรยี น On Site ตามปกติ - กรณีเปน็ ผู้เสย่ี งสงู (High Risk Contact) ให้ งดกจิ กรรมทีม่ ีการรวมกลมุ่ กัน โดยเฉพาะ มาเรยี นได้ โดยระยะ ๕วนั แรก1ใหเ้ ว้น ระหวา่ งหอ้ งเรียน ระยะห่าง ๒.๐ เมตร และตรวจหาเช้อื ตาม - การปดี เรียนทงั้ ชนื้ เรยี นหรือสถานศกึ ษา แนวทางท่กี ำหนด เปน็ อำนาจพิจารณาของคณะกรรมการ โรคตดิ ตอ่ จงั หวัด/กทม. - ควรมหี ้องแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) รองรบั ผ้ตู ิดเชอ้ื ในโรงเรยี น (กรณี โรงเรียนประจำ) - ปฏิบตั ติ ามมาตรการตัดความเสี่ยง สร้าง ภูมิคมุ้ กนั ดว้ ย ๓!๑V(TSC Plus 1TST , TK , Vaccine)
๑๐ สว่ นท่ี ๕ : หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาสำหรับการใชอ้ าคารหรอื สถานท่ขี องโรงเรยี นหรอื สถาบันการศกึ ษา เพ่อื การสอบ การ'ปีกอบรม หรือ การทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผเู้ ชา้ ร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมาก กรณกี ารพจิ ารณาอนุญาตให้ใช้อาคารสถานทเ่ี พอ่ื การสอบ การป็กอบรม หรือ การทำกจิ กรรมโรงเรยี น หรอื สถาบนั การศึกษา โดยหากมีผูเ้ ชา้ รว่ มกิจกรรมเกินกว่า ๑,๐๐๐ คนในพี่นท่ีเฝา็ ระวงั สูง (สีเหลือง) ผ้ขู ออนุญาต ต้องจดั ทำมาตรการเพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั หรือคณะกรรมการโรคตดิ ต่อกรงุ เทพมหานคร ซึง่ จะพจิ ารณาตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ ท้ังนี้ ต้ังแต่บัดนี้เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕ (นายลุภัทร จำปาทอง) ปลัดกระทรวงสกื ษ'าธกิ าร
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: